สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ด้านความมั่นคงทางอาหารที่ยั่งยืน ในจังหวัดนครศรีธรรมราช

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อประเมินสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารของจังหวัดนครศรีธรรมราช
ตัวชี้วัด : 1. เกิดการจัดการข้อมูลด้านแผนงาน ยุทธศาสตร์ โครงการ กิจกรรมของหน่วยงานที่ดำเนินงานด้านความมั่นคงทางอาหาร 2. เกิดการจัดการข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทั้ง 4 พื้นที่ 3. เกิดเครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพต่อความมั่นคงทางอาหาร ใน 3 ระดับ คือ ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น และชุมชน

 

 

 

2 เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. เกิดตัวชี้วัดที่ระบุถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหารใน 4 ด้าน คือ การมีอาหารพอเพียง การเข้าถืงอาหาร การมีเสถียรภาพ และการนำไปใช้ประโยชน์

 

 

 

3 เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพด้านความมั่นคงทางอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. เกิดการแลกเปลี่ยนเชิงวิชาการประเด็นความมั่นคงทางอาหาร 2. เกิดการทำงานเชิงประเด็นความมั่นคงทางอาหาร ใน 3 ระดับ คือ ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น และชุมชน 3. เกิดรูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบอาหารประเด็นความมั่นคงทางอาหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช