สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 12

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมทางกาย จ.ยะลา 11 ต.ค. 2564

 

 

 

 

 

กิจกรรมทางกาย จ.สงขลา 17 พ.ย. 2564

 

 

 

 

 

กิจกรรมทางกาย จ.สตูล 17 พ.ย. 2564

 

 

 

 

 

กิจกรรมทางกาย จ.ปัตตานี 17 พ.ย. 2564

 

 

 

 

 

กิจกรรมทางกาย จ.พัทลุง 25 ม.ค. 2565

 

 

 

 

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลชัยบุรี พัทลุง (ธมล) 7 มี.ค. 2565 7 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 3 คน ระบุ
  1.เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน   2. ผู้เขียนโครงการ   3. คณะทำงาน

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 1 โครงการ (ระบุ...)
      2.1 การส่งเสริมสุขภาพทางกายผู้สูงอายุตำบลชัยบุรี ประจำปีงบประมาณ 2565
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่ ปลายเดือนมีนาคม

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุน ตำบลแพรกหา จ.พัทลุง (สมนึก) 8 มี.ค. 2565 8 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม  กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 6 คน (  ปลัดเทศบาล /หัวหน้าสำนัก/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ผู้ดูแลเด็ก ศพด./ นักพัฒนาชุมชนผู้เขียนโครงการ/เจ้าหน้าที่ รพสต.ผู้เขียนโครงการ )

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมุลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 2 โครงการ
      2.1 สร้างกลไกส่งเสริมการออกกำลังกายของชุมชน ตำบลแพรกหา
      2.2 ผู้สูงอายุปั่นเพื่อสุขภาพ ตำบลแพรกหา
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่ 25 มีนาคม

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลชะรัด จ.พัทลุง( ประเทือง) 9 มี.ค. 2565 9 มี.ค. 2565

 

พี่เลี้ยงลงติดตามเพื่อทบทวนแผนงาน/โครงการ ของกองทุนเทศบาลตำบลชะรัด โดยจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม  กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม  6 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/นักสันทนาการผู้เขียนโครงการ/อสม.ผู้เขียนโครงการ และพี่เลี้ยงกองทุน

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 4 โครงการ คือ
      2.1 โครงการเเอโรบิกเพื่อสุขภาพ ตำบลชะรัด ปี 2565
      2.2 โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในเด็กและเยาวชนด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอลเพื่อสุขภาพ ตำบลชะรัด ปี 2565
      2.3 โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะบุคลากรเทศบาลตำบลชะรัด ปี 2565
      2.4 โครงการส่งเสริมการขยับกายในชุมชน ตำบลชะรัด ปี 2565
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่ 15 มีนาคม 2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลโตนดด้วน จ.พัทลุง(สมนึก) 9 มี.ค. 2565 9 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 7 คน ระบุ ..( ประธานกองทุน/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ลูกจ้างทั่วไป ผู้ดูแลเด็ก ศพด./ ประธานศุนย์ฝึกกีฬาฯ ผู้เขียนโครงการ/นักวิชาการเกษตร /รอง ผอ.รร อนุบาล โครงการอนุมัติแล้ว /คณะทำงาน )

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 1 โครงการ (ระบุ...)
      2.1 ส่งเสริมการออกกำลังการด้วยกีฬาฟุตบอล ตำบลโตนดด้วน

  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่ 26 มีนาคม

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลลำปำ จ.พัทลุง(ธมล) 10 มี.ค. 2565 10 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ
  - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม .2.. คน ดังนี้
1.เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน จำนวน 1 คน
2.เจ้าหนาที่ อบต.ผู้เขียนโครงการ ( หัวหน้า สป. ) จำนวน 1 คน3 3. พี่เลี้ยง

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน …1… โครงการ (ระบุชื้อโครงการ)
      2.1 โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายของบุคลากรใน อบต.
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ ประมาณต้นเดือนเมษายน พ.ศ.2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลสมหวัง จ.พัทลุง(ประเทือง) 11 มี.ค. 2565 11 มี.ค. 2565

 

พี่เลี้ยงลงติดตามเพื่อทบทวนแผนงาน/โครงการ ของกองทุนเทศบาลตำบลสมหวัง โดยจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ
  - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 6 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ผู้ช่วยเจ้าพนักงานธุระการ ผู้เขียนโครงการ/พนักงานลูกจ้าง เทศบาลสมหวัง/อสม.ผู้เขียนโครงการ /เจ้าหน้าที่ รพ.สต.และพี่เลี้ยงกองทุน

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 2 โครงการ คือ
      2.1 โครงการเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในพนักงานเทศบาลตำบลสมหวัง ปี 2565
      2.2 โครงการเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดพังกิ่ง ปี 2565
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่ 25 มีนาคม 2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลนาโหนด จ.พัทลุง(ธมล) 11 มี.ค. 2565 14 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม  กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม .1.. คน  ดังนี้
1.เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน จำนวน  1 คน

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน …-… โครงการ (เนื่องจากโครงการที่พัฒนาแล้วได้รับอนุมัติหมดแล้ว)
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ ประมาณต้นเดือนเมษายน พ.ศ.2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลเขาหัวช้าง จ.พัทลุง(อ่ารีด) 12 มี.ค. 2565 1 เม.ย. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ
  - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 5 คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุน/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/เจ้าหน้าที่รพ.สต ผู้เขียนโครงการ /เจ้าหน้าที่สำนักปลัด /อสม.ผู้เขียนโครงการ

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์

  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 3 โครงการ คือ   2.1 โครงการเทศบาลเขาหัวช้างร่วมขยับกายสบายชีวี ประจำปี 2565
    2.2 โครงการนักเรียนวัยใสใส่ใจออกกำลังกาย ประจำปี 2565 2.3 โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด บ้านหัวช้าง ประจำปี 2565

  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่ 12 เมษายน 2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลชุมพล จ.พัทลุง(ประเทือง) 14 มี.ค. 2565 14 มี.ค. 2565

 

พี่เลี้ยงลงติดตามเพื่อทบทวนแผนงาน/โครงการ ของกองทุนเทศบาลตำบลชุมพล โดยจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ
  - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 5 คน ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน
ตัวแทนจาก รร. ผู้เขียนโครงการ
ตัวแทนจากชมรมผู้สูงอายุ ผู้เขียนโครงการ
อสม.ผู้เขียนโครงการ
และพี่เลี้ยงกองทุน

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 3 โครงการ คือ
      2.1 โครงการส่งเสริมการเคลื่อนไหวร่างกายให้เด็กและเยาวชน
      2.2 โครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวทางกายด้วยจังหวะเพลง(บาสโลบ)
      2.3 โครงการออกกำลังกายของทุกกลุ่มวัยด้วยกิจกรรมกลองยาว
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่ 21 มีนาคม 2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลคลองทรายขาว จ.พัทลุง(อ่ารีด) 14 มี.ค. 2565 14 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 5 คน ระบุ ..( เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ผู้เขียนโครงการ 3 คน/โครงการ / คณะทำงาน )

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 3 โครงการ (ระบุ...)   2.1 โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพในประชาชนทั่วไป หมู่ที่ 8 บ้านหน้าวัง   2.2 โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาฟุตบอลพื่อสุขภาพในเด็กตำบลคลองทรายขาว   2.3 โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการเดิน-วิ่ง ในเด็กและวัยรุ่น 5-17 ปี
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่ 24 มีนาคม 2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลอ่างทอง จ.พัทลุง(กชกานต์) 14 มี.ค. 2565 14 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับแผนงานกิจกรรมทางกาย ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 4 คน (เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ปลัดเทศบาล/พี่เลี้ยง2)

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับแผน
  2. (โครงการอนุมัติไปหมดแล้ว)

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุน ทม.เมือง จ.พัทลุง(ธมล) 15 มี.ค. 2565 15 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ
  - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม .2.. คน ดังนี้ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน และพี่เลี้ยง

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน …-… โครงการ (ระบุชื้อโครงการ)
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ  ไม่กำหนดเนื่องจากโครงการได้ผ่านการอนุมัติแล้ว

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลคลองเฉลิม จ.พัทลุง(อ่ารีด) 15 มี.ค. 2565 15 มี.ค. 2565

 

พี่เลี้ยงลงติดตามเพื่อทบทวนแผนงาน/โครงการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลคลองเฉลิม โดยจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ
  - กำหนดวันอนุมัติโครงการ

ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 5 คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุน /เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ ผู้ช่วยธุรการ /นิติกร / และพนักงานจ้าง

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์

  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 3 โครงการ คือ
    2.1 โครงการการออกกำลังกาย สบายชีวี วิถีคนทำงาน ประจำปี 2565
    2.2 โครงการกิจกรรมทางกายในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองเฉลิม ประจำปี 2565
    2.3 โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็ก 5-12 ปี ศุนย์อบรมศาสนาและจริยธรรมมัสยิดยามินอุ้ลอิสลาม

  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่ 29 มีนาคม 2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลบ้านนา จ.พัทลุง(กชกานต์) 15 มี.ค. 2565 15 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ
  - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 5 คน
(เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/สวัสดิการชุมชนผู้เขียนโครงการ / จนท.ตัวแทนฯผู้เขียนโครงการ พี่เลี้ยง 2)

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 2 โครงการ
    2.1 โครงการเพิ่มการมีกิจกรรมที่เพียงพอในผู้ใหญ่(วัยทำงาน)
    2.2 โครงการวิทยาลัยผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะแบบองค์รวม
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ วันที 25 มีนาคม 2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลเขาย่า จ.พัทลุง(อมรรัตน์) 15 มี.ค. 2565 15 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ
  - กำหนดวันอนุมัติโครงการ

ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 6 คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุน /ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ ผู้นวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะเร็ด / นักวิชาการสาธารณสุขอำเภอ /นักศึกษาฝึกงาน

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud ของ  สสจ.พัทลุง  กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 4 โครงการ คือ
      2.1 โครงการผักงาม  สวนสวย  สุขภาพดี  ชีวีสดใส
    2.2 โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายนักเรียนโรงเรียนบ้านโพรงงู
    2.3  แค่ขยับก็สร้างสุขทุกครอบครัว
    2.4  ขยับกายสบายชีวี  เพื่อสุขภาพที่ดีทั้งกายใจ  โรงเรียนอนุบาลศรีบรรพต
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่  29  มีนาคม  2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลลำสินธุ์ จ.พัทลุง(กชกานต์) 16 มี.ค. 2565 16 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ
  - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 4 คน (เจ้าหน้าที่กองทุน/จนท.ตัวแทนฯผู้เขียนโครงการ /พี่เลี้ยง2)

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 1โครงการ
      2.1โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและผสมผสานวัฒกรรมชุมชนตำบลลำสินธุ์เพื่อสุขภาพที่ดี
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที 26 มีนาคม 2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลกงหรา จ.พัทลุง(อ่ารีด) 18 มี.ค. 2565 18 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 5 คน ระบุ ..(  เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ผู้ดูแลเด็ก ศพด./ ผู้เขียนโครงการ/พนักงานจ้าง /คณะทำงาน )

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 1 โครงการ (ระบุ...)
      2.1 ส่งเสริมกิจกรรมททางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ ตำบลกงหรา
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ เมษายน 2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลเขาชัยสน จ.พัทลุง(วลัยพร) 19 มี.ค. 2565 19 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ
  - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 5 คน ดังนี้
    1.เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 1 คน
    2.ผู้ขอรับสนับสนุนโครงการ  3 คน
    3 พี่เลี้ยง 1 คน

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน …3… โครงการ

  2.1โครงการขยับกาย สบายชีวี โรงเรียนวัดหัวเขาชัยสน  ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงเรียนวัดหัวเขาชัยสน
  2.2 โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ  ผู้รับผิดชอบโครงการ สภาเด็กและเยาวชน
  2.3โครงการเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน  ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3

  1. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ ประมาณต้นเดือนเมษายน พ.ศ.2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลโคกม่วง จ.พัทลุง(วลัยพร) 20 มี.ค. 2565 20 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย

ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 3 คน ดังนี้ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน /พี่เลี้ยง2

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการอนุมัติไปแล้วทั้งหมด จึงไม่มีโครงการที่ปรับแก้

  3. กำหนดการอนุมัติโครงการ   ได้ผ่านการพิจารณาอนุมัติงบประมาณไปเรียบร้อยแล้ว เข้าระยะกำลังดำเนินโครงการอยู่

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลท่ามะเดื่อ จ.พัทลุง(วลัยพร) 21 มี.ค. 2565 21 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย

ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม .3.. คน ดังนี้
1.เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน
2. พี่เลี้ยง

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการอนุมัติแล้ว จำนวน …8 โครงการ จึงไม่มีการปรับแก้
    2.1โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย
    2.2 โครงการส่งเสิมสุขภาพผู้สูงอายุ
    2.3โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย ไม้พลอง มโนราห์
    2.4โครงการปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ
    2.5โครงการพัฒนาทักษะการเล่นกีฬาตะกร้อ
    2.6 โครงการพัฒนากีฬ ยกน้ำหนัก เพื่อความเป็นเลิศ
    2.7โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการเล่นกีฬามวยไทย
    2.8โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพด้วยแอโรบิค
  3. โครงการทั้ง 8โครงการ ผ่านที่ประชุมคณะกรรมการอนุมัติโครงการให้กับหน่วยขอรับสนับสนุนงบประมาณทั้ง 8 โครงการแล้ว

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลจองถนน จ.พัทลุง(วลัยพร) 22 มี.ค. 2565 22 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ

ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 6 คน คือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน แกนนำในชุมชน 3 คน และพี่เลี้ยง 2 คน

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์

  2. โครงการยังไม่มีการเสนอโครงการเนื่องจากเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการได้ย้ายไปอยู่ที่ทำงานแห่งใหม่  ขาดคนขับเคลื่อนกองทุน  ได้ประสานทางคณะผู้บริหารกองทุนได้ส่งเจ้าหน้าที่มารับผิดชอบและได้ดำเนินการทำความเข้าใจกับน้องที่ได้รับผิดชอบงาน  โดยให้เร่งดำเนินการสร้างความเข้าใจกับหน่วยขอรับงบประมาณ ทั้งแผนกิจกรรมทางกาย  และแผนงานอื่น  ให้รวดเร็วที่สุด

  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ ประมาณต้นเดือนเมษายน พ.ศ.2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลนาท่อม จ.พัทลุง(กชกานต์) 24 มี.ค. 2565 24 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม  กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 3 คน  (เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ ครูผู้เขียนโครงการ /พี่เลี้ยง)

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 1 โครงการ
              2.1 โครงการอาทิตย์ละวัน ถีบๆปั่นๆ เรียนรู้บ้านฉัน ตำบลนาท่อม
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที  4 เมษายน 2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลดอนทราย จ.พัทลุง(เสงี่ยม) 24 มี.ค. 2565 25 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ
  - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม ๗ คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุน/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ ผู้เขียนโครงการ 2/เจ้าหน้าที่สำนักปลัด/ชมรมผู้สูงอายุ/ครูศูนย์เด็กเล็ก

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 2 โครงการ คือ
    2.1 โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลดอนทราย
    2.2 โครงการออกกำลังกาย สบายชีวี เพื่อสุขภาพดี ตำบลฝาละมี
    ซึ่งชุดอนุกรรมการได้พิจารณา เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2565 ได้อนุมัติในหลักการ และให้ผู้เขียนโครงการมาปรับรายละเอียดบางส่วน รวมกิจกรรมการดำเนินงาน

  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ วันที่ 8 เมษายน 2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลหารเทา จ.พัทลุง(เสงี่ยม) 26 มี.ค. 2565 8 เม.ย. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม   กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม  ๗ คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุน/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ ผู้เขียนโครงการ/เจ้าหน้าที่สำนักปลัด/ชมรมผู้สูงอายุ/ครูศูนย์เด็กเล็ก

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัญหาของพื้นที่ และความต้องการของพื้นที่
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 2 โครงการ คือ
    2.1  โครงการกิจกรรมทางกายเพียงพอ ในผู้ใหญ่  เทศบาลตำบลหารเทา
    2.2 โครงการออกกำลังกาย ในชุมชน ตำบลหารเทา
    ซึ่งชุดอนุกรรมการได้พิจารณา  เมื่อวันที่ 30  มกราคม 2565  ได้อนุมัติในหลักการ  และให้ผู้เขียนโครงการมาปรับรายละเอียดบางส่วน  รวมกิจกรรมการดำเนินงาน

  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ วันที่  8  เมษายน  2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลฝาละมี จ.พัทลุง(เสงี่ยม) 26 มี.ค. 2565 26 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ

ผู้เข้าร่วมประชุม
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม  ๗ คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุน/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ ผู้เขียนโครงการ/เจ้าหน้าที่สำนักปลัด/ชมรมผู้สูงอายุ/ครูศูนย์เด็กเล็ก

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัญหาของพื้นที่ และความต้องการของพื้นที่

  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน ๗ โครงการ คือ
    2.1  โครงการเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น โรงเรียนวัดบางขวน
    2.2 โครงการพัฒนากิจกิจกรรมทางกายเด็กปฐมวัย ตำบลฝาละมี
    ๒.๓ โครงการเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในกลุ่มประชาชนทั่วไป หมู่ที่ ๑ ต.ฝาละมี
    ๒.๔ โครงการเต้น เล่น กีฬา นำพาสุขภาพดี บ้านแหลมไก่ผู้
    ๒.๕ โครงการออกกำลังกาย ในชุมชนบ้านบางขวน
    ๒.๖ โครงการขยับกาย เต้น เล่นกีฬา เพื่อสุขภาพ หมู่ที่ ๒ ต.ฝาละมี
    ๒.๗ โครงการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพดี ของประชาชนชุมชน หมู่ที่ ๕  ต.ฝาละมี

ซึ่งชุดอนุกรรมการได้พิจารณา  เมื่อวันที่ 30  มกราคม 2565  ได้อนุมัติในหลักการ  และให้ผู้เขียนโครงการมาปรับรายละเอียดบางส่วน  รวมกิจกรรมการดำเนินงาน

  1. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ วันที่  ๒๒  เมษายน  2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลทุ่งนารี จ.พัทลุง(เสงี่ยม) 28 มี.ค. 2565 28 มี.ค. 2565

 

พี่เลี้ยงลงติดตามเพื่อทบทวนแผนงาน/โครงการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. ทุ่งนารี  โดยจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ

ผู้เข้าร่วมประชุม  กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม  ๑๓ คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุน/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ ผู้เขียนโครงการ/เจ้าหน้าที่สำนักปลัด/ชมรมผู้สูงอายุ/ครูศูนย์เด็กเล็ก

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัญหาของพื้นที่ และความต้องการของพื้นที่

  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 1 โครงการ คือ
    2.1 โครงการเดิน ปัดวาด แกว่ง เพื่อสุขภาพดีในผู้สูงอายุบ้านต้นส้าน ม.8 ต.ทุ่งนารี

โครงการอื่นๆ ตามแผนงาน/โครงการแนวทางการติดตามและประเมินผลโครงการ ปี 2565 ซึ่งชุดอนุกรรมการได้พิจารณา เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม 2565 ได้อนุมัติในหลักการ และให้ผู้เขียนโครงการมาปรับรายละเอียดบางส่วน รวมกิจกรรมการดำเนินงาน
3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ วันที่ 29 มีนาคม 2565

 

ก.5/1 ยกร่างบูรณาการแผนกิจกรรมทางกายร่วมกับ พชอ. ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง 28 มี.ค. 2565 28 มี.ค. 2565

 

08.30 ผู้เข้าประชุมลงทะเบียน ที่ประชุมเตรียมความพร้อม
09.00 นางสาวธมล มงคลศิลป์ คณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ จังหวัดพัทลุงตามคำสั่งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 12 สงขลา กล่าวรายงานต่อประธานในที่ประชุม     นายชลิต เกตุแสง สาธารณสุขอำเภอศรีนครินทร์ ผู้แทนประธานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตอำเภอศรีนครินทร์ เป็นประธานการประชุมกล่าวเปิดการการประชุมยกร่างแผนบูรณาการงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับ พชอ. และนำเสนอแนวทางการขับเคลื่อนงานของพชอ.ศรีนครินทร์
09.30 นายสมนึก นุ่นด้วง ประธานคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดพัทลุง แนวทายกร่างแผนบูรณงการขับเคลื่อนแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับตำบล และข้อมูลกิจกรรม
ทางกายระดับประเทศในภาวะการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส 19
10.00 พักรับประทานอาหารว่าง
10.20 นายไพทูรย์ ทองสม(ผู้รับผิดชอบโครงการ Node Flag Ship จ.พัทลุง) และนายสมนึก นุ่นด้วง เป็น Facilitator อำนวยการให้ที่ประชุมร่วมกันยกร่างแผนบูรณาการงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับ พชอ.
12.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 นายไพทูรย์ ทองสม และนายสมนึก นุ่นด้วง เป็น Facilitator อำนวยการให้ที่ประชุมร่วมกันาการงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับ พชอ.
14.30 พักรับประทานอาหารว่าง
14.50 อภิปราย/ซักถาม ตอบคำถามโดยคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ จังหวัดพัทลุง/ปิดการประชุมโดย ประธานที่ประชุม

 

  1. ผู้เข้าร่วมประชุม 23 คน
  2. ผู้เข้าร่วมประชุมได้รู้และเข้าใจกระบวนการ และร่วมจัดทำแผน
  3. ได้ ยกร่างแผนบูรณาการงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับ พชอ. ศรีนครินทร์ (อ้างอิงแผนอำเภอศรีครีนทร์ในเว็บกองทุน)https://localfund.happynetwork.org/project/planning/129795

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลชะมวง จ.พัทลุง(สมนึก) 29 มี.ค. 2565 29 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ

ผู้เข้าร่วมประชุม
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 7 คน ระบุ ..(  เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน1/ผู้เขียนโครงการ 5/คณะทำงาน1)

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ (จำนวน 5 โครงการ ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 1500 บาท) 2.1 โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ตำบลชะมวง
    2.2 ขยับกาย สบายชีวี ลูกหยีมีสุข ตำบลชะมวง
    2.3 โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ ศพด.หยีใน ตำบลชะมวง
    2.4 โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ ศพด.ชายคลอง ตำบลชะมวง
    2.5 โครงการอสม. ชวนขยับ กระชับหุ่น ตำบลชะมวง
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่ 1 เมษายน 2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลหานโพธิ์ จ.พัทลุง(ประเทือง) 30 มี.ค. 2565 30 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเพื่อทบทวนแผนงาน/โครงการ ของกองทุน อบต.หานโพธิ์
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม  กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม  5  คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ผู้ช่วยเจ้าพนักงานธุระการ ผู้เขียนโครงการ/ผอ.โรงเรียน พนักงานลูกจ้างและพี่เลี้ยงกองทุน

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์

  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 1 โครงการ คือ
      2.1 โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 23 (วัดโคกโหนด)

  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่  5 เมษายน  2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลพนมวังก์ จ.พัทลุง(สมนึก) 30 มี.ค. 2565 30 มี.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 6 คน ระบุ ..(  หัวหน้าสำนัก/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ผู้ดูแลเด็ก ศพด./ ประธามชมรมผู้สูงอายุผู้เขียนโครงการ/เจ้าหน้าที่ รพสต.ผู้เขียนโครงการ /คณะทำงาน )

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานะการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 1 โครงการ (ระบุ...)
      2.1 ส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน ตำบลพนมวังก์
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่ 11 เมษายน 2565

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลแหลมโตนด จ.พัทลุง(อมรรัตน์) 31 มี.ค. 2565 31 มี.ค. 2565

 

พี่เลี้ยงลงติดตามเพื่อทบทวนแผนงาน/โครงการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลแหลมโตนด โดยจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
      - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
      - ปรับ/พัฒนาโครงการ
      - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม  กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม  7  คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุน /หัวหน้าสำนักปลัดเทศบาลตำบลแหลมโตนดซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน/ ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแหลมโตนด / ผู้ช่วยนักพัฒนาชุมชน  ซึ่งดูแลโครงการของชมรมผู้สูงอายุ / ผอ.กองการศึกษา

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud ของ  สสจ.พัทลุง  กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 2 โครงการ คือ   2.1 โครงการสร้างเสริมสุขภาวะด้วยการออกกำลังกาย  และบริโภคอาหารปลอดภัยผู้สูงอายุตำบลแหลมโตนด  งบประมาณ 28,585 บาท 2.2 โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองเกวียน (ปิดทางเมนูพัฒนาโครงการ) งบประมาณ 13,900 บาท
  3. กำหนดวันประชุมคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการวันที่  5  เมษายน  2565

 

กส.3 ประชุมคณะทำงาน จังหวัดพัทลุง 2 เม.ย. 2565 2 เม.ย. 2565

 

การประชุมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟูทักษะคณะทำงาน

08.30-09.00 ผู้เข้าประชุมลงทะเบียน
09.00-11.00 ทบทวนผลการดำเนินงานตามแผน และแนวพิจารณาโครงการ /กองทุนเด่น
  นายสมนึก นุ่นด้วง ประธานคณะทำงาน/วิทยากร ชวนที่ประชุมติดตามแผนงาน/โครงการ PA ทุกกองทุน ชี้แนะส่วนที่ต้องปรับปรุง และให้ปรับปรุงแก้วไขให้แล้วเสร็จ (เสิร์ฟอาหารว่าง ในห้องประชุม)
11.00-12.00 ฟื้นฟูทักษะการบันทึกติดตามโครงการ และประเมินผล (ฝึกทำตามที่สอน)
  นางสาวไพลิน ทิพย์สังข์ (พี่เลี้ยงโครงการชุมชนน่าอยู่/Node Flag Ship สสส. หน่วยจัดการ จ.พัทลุง) วิทยากร สอนหลักการบันทึกกิจกรรมรายงานผลโครงการ แนะนำเมนูรายละเอียด/ เมนูกิจกรรม > กิจกรรมที่ปฏิบัติให้บันทึกรายละเอียด ในประเด็นใคร ทำอะไรที่ไหน อย่างไร โดยเขียนบรรยายให้ละเอียด/ > ผลที่เกิดขึ้น : ผลผลิต คือสิ่งที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมที่ทำ ซึ่งอาจเขียนแยกเป็นข้อๆ (ให้ดูรายละเอียดในกิจกรรมโครงการว่า ทำอะไร ได้อะไร) ผลลัพธ์: คือความเปลี่ยนแปลงที่คาดหวังให้เกิด /การลงรายละเอียดการเงิน การแยกหมวดการเงิน / และการแนบภาพถ่าย การบันทึกรายละเอียดใต้ภาพ

12.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00-14.30 ฟื้นฟูทักษะการบันทึกติดตามโครงการ และประเมินผล (ฝึกทำตามที่สอน)
  นายสมนึก นุ่นด้วง แนะนำสร้างความเข้าใจการใช้เมนูสรุปโครงการ เฉพาะการประเมินคุณค่าตามแบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้ -ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน -การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ -การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ -ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน กระบวนการชุมชน -มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
(เสิร์ฟอาหารว่าง ในห้องประชุม)
14.30-15.30 นายสมนึก นุ่นด้วง ดำเนินการให้มีการแลกเปลี่ยน ซักถาม
  และตามด้วยการกำหนดแผนการทำกิจกรรมที่ 6 ติดตามและประเมินผลโครงการ 8 เครือข่าย ตามพี่เลี้ยงและกองทุนแม่ข่าย โดยให้พี่เลี้ยงประสานงานกับเจ้าหน้าที่กองทุนให้คัดเลือกโครงการเด่นของปี 2563/2564/2565 แผนงานใดก็ได้ ให้เลือก 1-3 โครงการ และแจ้งรายชื่อโครงการพร้อมชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ ให้ผู้ประสานงาน เพื่อจะได้ทำทะเบียนและนัดหมายการจัดกิจกรรม ติดตาม ประเมินผลดดยเร็วต่อไป / ปิดการประชุมเวลา 15.30 น

 

ผลผลิต
1. คณะทำงานเข้าร่วมประชุมทุกคน
2. การประชุมดำเนินการตามแผน/ตามวาระ ผลลัพธ์
1. แผนงาน/โครงการได้รับการปรับปรุงทั้ง 32 กองทุน
2. คณะทำงานเข้าใจ และสามารถ ลงบันทึกรายงานการติดตามและประเมินผลได้จากการปฏิบัติไปพร้อมกัน 3. ได้ข้อตกลงที่จะไปประสานงานกองทุนให้ได้โครงการเด่น มาเรียนรู้การติดตามประเมินผลในกิจกรรมที่ 6

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลบ้านสวน จ.พัทลุง(อมรรัตน์) 7 เม.ย. 2565 8 เม.ย. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ
  - กำหนดวันอนุมัติโครงการ

ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 12 คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุน /หัวหน้าสำนักปลัดบริหารส่วนเทศบาล/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ รพ.สต.บ้านดอนศาลา /ชมรม อสม./ ชมรมผู้สูงอายุ/รพ.สต.บ้านปากคลอง/ ครูศูนย์เด็กเล็ก

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud ของ สสจ.พัทลุง กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และได้ปรับวัตถุประสงค์ของโครงการ ผลลัพธ์ ผลผลิตของโครงการ และผลที่คาดว่าจะได้จากโครงการ
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ (ไม่มี)
  3. โครงการได้รับการอนุมัติแล้ว และดำเนินการแล้ว

 

ก.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแผนงานโครงการ PA กองทุนตำบลปันแต จ.พัทลุง(อมรรัตน์) 8 เม.ย. 2565 8 เม.ย. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ
  - ทบทวนแผนงานกิจกรรมทางกาย
  - ปรับ/พัฒนาโครงการ
  - กำหนดวันอนุมัติโครงการ
ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 6 คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุน /หัวหน้าสำนักปลัดบริหารส่วนตำบล/เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน/ รพ.สต.ปันแต /ชมรม อสม./ ชมรมผู้สูงอายุ

 

  1. แผนกิจกรรมทางกาย ได้รับการทบทวนและปรับข้อข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ อ้างอิงที่มาของข้อมูลสำคัญจาก HDC on Cloud ของ สสจ.พัทลุง กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และได้ปรับวัตถุประสงค์ของโครงการ
  2. โครงการได้รับการปรับแก้ และพัฒนาให้มีกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ จำนวน 2 โครงการ คือ
      2.1 โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
    2.2 โครงการผู้สูงอายุ สดใส สมวัยด้วยสุข 5 มิติ

  3. กำหนดวันอนุมัติโครงการ 11เมษายน 2565

 

ก.5/2 ยกร่างบูรณาการแผนกิจกรรมทางกายร่วมกับ พชอ.กงหรา จ.พัทลุง 11 เม.ย. 2565 11 เม.ย. 2565

 

08.30  ผู้เข้าประชุมลงทะเบียน ที่ประชุมเตรียมความพร้อม
09.00 นางสาวธมล มงคลศิลป์ คณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ จังหวัดพัทลุง กล่าวรายงานต่อประธานในที่ประชุม สมควร ปล้องอ่อน ประธานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอกงหรา เป็นประธานการประชุมกล่าวเปิดการการประชุมยกร่างแผนบูรณาการงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับ พชอ. และนำเสนอแนวทางการขับเคลื่อนงานของ พชอ.กงหรา
09.30  นายสมนึก นุ่นด้วง ประธานคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ จังหวัดพัทลุง แนวทางการขับเคลื่อนแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับตำบล และข้อมูลกิจกรรมทางกายระดับประเทศในภาวะการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส
10.00 พักรับประทานอาหารว่าง (ร้านอาหารบังบีดีน)
10.20 นายไพทูรย์ ทองสม นางสาวธมล มงคลศิลป์ และนายสมนึก นุ่นด้วง เป็น Facilitator อำนวยการให้ที่ประชุมร่วมกันยกร่างแผนบูรณาการงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับ พชอ.
12.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน (ร้านอาหารบังบีดีน)
13.00 นายไพทูรย์ ทองสม นางสาวธมล มงคลศิลป์ และนายสมนึก นุ่นด้วง เป็น Facilitator อำนวยการให้ที่ประชุมร่วมกันยกร่างแผนบูรณาการงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับ พชอ. 14.30 พักรับประทานอาหารว่าง (ร้านอาหารบังบีดีน)
14.50 อภิปราย/ซักถาม /ปิดการประชุม ตอบคำถามโดยคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ จังหวัดพัทลุง

 

ผลผลิต 1. ผู้เข้าร่วมประชุม 38 คน 2. ผู้เข้าร่วมประชุมได้รู้และเข้าใจกระบวนการ และร่วมจัดทำแผน 3. ได้ ยกร่างแผนบูรณาการงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับ พชอ. โครงการที่ควรดำเนิน 28 โครงการ โครงการที่พัฒนาระดับตำบล 14 โครงการ (รายละเอียด) https://localfund.happynetwork.org/project/planning/130649
ผลลัพธ์
ทุกฝ่ายที่เข้าร่วมประชุมมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนกำหนด แนวทางขับเคลื่อน/โครงการ/กิจกรรมเพื่อการส่งเสริมกิจกรรมที่จะนำไปสู่การขับเคลื่อนให้ประชาชน Active ขับเคลื่อนสังคม Active

 

ก.6 ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามประเมินคุณค่าโครงการ ระดับแม่ข่าย รุ่นที่ 1 จ.พัทลุง 18 เม.ย. 2565 18 เม.ย. 2565

 

09.00-09.30 ประธานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ จังหวัดพัทลุง ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม กลุ่มเป้าหมาย และกระบวนการเรียนรู้
09.30-10.30 คณะวิทยากร สอนหลักการบันทึกกิจกรรมรายงานผลโครงการ แนะนำเมนู รายละเอียด/เมนูกิจกรรม >กิจกรรมที่ปฏิบัติให้บันทึกรายละเอียด ในประเด็น(ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) โดยเขียนบรรยายให้ละเอียด/ > ผลที่เกิดขึ้น :ผลผลิต คือสิ่งที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม ที่ทำ ซึ่งอาจเขียนแยกเป็นข้อๆ (ให้ดูรายละเอียดในกิจกรรมโครงการว่า ทำอะไร ได้อะไร) ผลลัพธ์: คือความเปลี่ยนแปลงที่คาดหวังให้เกิด /การลงรายละเอียดการเงิน การแยกหมวดการเงิน / และการแนบภาพถ่าย การบันทึกรายละเอียดใต้ภาพ
10.45-12.00 นำเสนอผลการบันทึกกิจกรรมเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน /ซักถามและอธิบายเพิ่มเติม โดยวิทยากร Commentator
13.00-14.30 คณะวิทยากรแนะนำสร้างความเข้าใจการใช้เมนูสรุปโครงการ เฉพาะการประเมินคุณค่าตามแบบประเมินคุณค่าโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพซึ่งเป็นคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
-ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
-การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
-การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
-ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน กระบวนการชุมชน
-มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
14.45-16.00 อภิปราย/ตอบข้อซักถาม

 

  1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมเรียนรู้ 14/16 คน
  2. ได้นำเสนอร่วมเรียนรู้ 4 โครงการ
  3. กลุ่มเป้าหมายเรียนรู้เข้าใจและสามารถบันทึกติดตามประเมินได้

 

ก.6 ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามประเมินคุณค่าโครงการ ระดับแม่ข่าย รุ่นที่ 2 จ.พัทลุง 19 เม.ย. 2565 19 เม.ย. 2565

 

09.00-09.30 ประธานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ จังหวัดพัทลุง ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม กลุ่มเป้าหมาย และกระบวนการเรียนรู้
09.30-10.30 คณะวิทยากร สอนหลักการบันทึกกิจกรรมรายงานผลโครงการ แนะนำเมนู รายละเอียด/เมนูกิจกรรม >กิจกรรมที่ปฏิบัติให้บันทึกรายละเอียด ในประเด็น(ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) โดยเขียนบรรยายให้ละเอียด/ > ผลที่เกิดขึ้น :ผลผลิต คือสิ่งที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม ที่ทำ ซึ่งอาจเขียนแยกเป็นข้อๆ (ให้ดูรายละเอียดในกิจกรรมโครงการว่า ทำอะไร ได้อะไร) ผลลัพธ์: คือความเปลี่ยนแปลงที่คาดหวังให้เกิด  /การลงรายละเอียดการเงิน การแยกหมวดการเงิน / และการแนบภาพถ่าย การบันทึกรายละเอียดใต้ภาพ
10.45-12.00 นำเสนอผลการบันทึกกิจกรรมเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน /ซักถามและอธิบายเพิ่มเติม โดยวิทยากร Commentator
13.00-14.30. คณะวิทยากรแนะนำสร้างความเข้าใจการใช้เมนูสรุปโครงการ เฉพาะการประเมินคุณค่าตามแบบประเมินคุณค่าโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพซึ่งเป็นคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
-ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
-การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
-การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
-ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน กระบวนการชุมชน
-มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
14.45-16.00 อภิปราย/ตอบข้อซักถาม

 

  1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมเรียนรู้ 15/16 คน
  2. ได้นำเสนอร่วมเรียนรู้ 4 โครงการ
  3. กลุ่มเป้าหมายเรียนรู้เข้าใจและสามารถบันทึกติดตามประเมินได้

 

ก.6 ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามประเมินคุณค่าโครงการ ระดับแม่ข่าย รุ่นที่ 3 จ.พัทลุง 5 พ.ค. 2565 5 พ.ค. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามประเมินคุณค่าโครงการผ่านเว็บไซต์
09.00-09.30 ประธานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ จังหวัดพัทลุง ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม กลุ่มเป้าหมาย และกระบวนการเรียนรู้
09.30-10.30 คณะวิทยากร นายสมนึก นุ่นด้วง สอนหลักการบันทึกกิจกรรมรายงานผลโครงการ แนะนำเมนูรายละเอียด/เมนูกิจกรรม >กิจกรรมที่ปฏิบัติให้บันทึกรายละเอียด ในประเด็น(ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) โดยเขียนบรรยายให้ละเอียด/ > ผลที่เกิดขึ้น :ผลผลิต คือสิ่งที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม ที่ทำ ซึ่งอาจเขียนแยกเป็นข้อๆ (ให้ดูรายละเอียดในกิจกรรมโครงการว่า ทำอะไร ได้อะไร) ผลลัพธ์: คือความเปลี่ยนแปลงที่คาดหวังให้เกิด /การลงรายละเอียดการเงิน การแยกหมวดการเงิน / และการแนบภาพถ่าย การบันทึกรายละเอียดใต้ภาพ
10.45-12.00 นำเสนอผลการบันทึกกิจกรรมเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน /ซักถามและอธิบายเพิ่มเติม โดยวิทยากร Commentator
13.00-14.30 คณะวิทยากร นางกชกานต์ คงชู แนะนำสร้างความเข้าใจการใช้เมนูสรุปโครงการ เฉพาะการประเมิน คุณค่าตามแบบประเมินคุณค่าโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพซึ่ง เป็นคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
-ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
-การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
-การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
-ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน กระบวนการชุมชน
-มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
14.45-15.30 อภิปราย/ตอบข้อซักถาม โดยวิทยากร พี่เลี้ยงเครือข่าย

 

ผลผลิต กลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมกิจกรรม ครบ 5 กองทุน
1. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 5 คน
2. ผู้รับทุนโครงการ 10 คน
3. คณะทำงาน 3 คน
โครงการที่ได้รับการติดตาม ประเมินคุณค่าในช่วงเวลาการประชุมมีดังนี้
1. กองทุนตำบลนาท่อม โครงการขยับกายใส่ใจสุขภาพ ที่นี่นาท่อม
2. กองทุนตำบลอ่างทอง โครงการขยับกายสบายชีวีด้วยวิธีเต้นแอดรบิกและเล่นกีฬา
3. กองทุนตำบลชุมพล โครงการเพิ่มพื้นที่การออกกำลังการให้บุคลากรในสำนักงาน
4. กองทุนตำบลบ้านนา โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในตำบลบ้านนา ป 2564
5. กองทุนตำบลลำสินธุ์ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำส่งเสริมสุขภาพจิตในชุมชน ปี2565
ผลลัพธ์ ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถบันทึกการติดตาม และประเมินคุณค่าโครงการได้

 

ก.6 ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามประเมินคุณค่าโครงการ ระดับแม่ข่าย รุ่นที่ 4 จ.พัทลุง 11 พ.ค. 2565 12 พ.ค. 2565

 

09.00-09.30 ประธานคณะทำงานสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ จังหวัดพัทลุง ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม กลุ่มเป้าหมาย และกระบวนการเรียนรู้
09.30-10.30 คณะวิทยากรกระบวนการ โดยเสงี่ยม ศรีทวี สอนหลักการบันทึกกิจกรรมรายงานผลโครงการ แนะนำเมนูรายละเอียด/เมนูกิจกรรม >กิจกรรมที่ปฏิบัติให้บันทึกรายละเอียด ในประเด็น(ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) โดยเขียนบรรยายให้ละเอียด/ > ผลที่เกิดขึ้น :ผลผลิต คือสิ่งที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม ที่ทำ ซึ่งอาจเขียนแยกเป็นข้อๆ
(ให้ดูรายละเอียดในกิจกรรมโครงการว่า ทำอะไร ได้อะไร) ผลลัพธ์: คือความเปลี่ยนแปลงที่คาดหวังให้เกิด /การลงรายละเอียดการเงิน การแยกหมวดการเงิน / และการแนบภาพถ่าย การบันทึกรายละเอียดใต้ภาพ 10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่างในเวลาปฏิบัติงานการสอน 10.45-12.00 นำเสนอผลการบันทึกกิจกรรมเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน /ซักถามและอธิบายเพิ่มเติม โดยวิทยากร ธมล มงคลศิลป์ Commentator 12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 คณะวิทยากร นำโดยวลัยพร ด้วงคง แนะนำสร้างความเข้าใจการใช้เมนูสรุปโครงการ เฉพาะการประเมินคุณค่าตามแบบประเมินคุณค่าโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพซึ่งเป็นคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
-ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
-การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
-การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
-ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
กระบวนการชุมชน
-มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่างในเวลาปฏิบัติงานการสอน 14.45-16.00 อภิปราย/ตอบข้อซักถาม โดยคณะวิทยากร

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม เจ้าหน้าที่กองทุน 14 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ 12 คน คณะทำงาน 6 คน

โครงการที่ได้รับการติดตาม ประเมินคุณค่า ดังนี้
1.กองทุนตำบลโคกม่วง อ.เขาชัยสน  - โครงการส่งเสริมสุขภาพกายจิตบุคลากรสำนักงาน ทต.โคกม่วง ปี 2564
2.กองทุนตำบลเขาชัยสน อบต.เขาชัยสน - โครงการเผชิญการระบาดของ โควิด 19
3.กองทุนตำบลท่ามะเดื่อ อ.บางแก้ว  -โครงการดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย
4.กองทุนตำบลชะรัด อ.กงหรา  - โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายของบุคลากรในสำนักงาน ทต.ชะรัด
            - โครงการส่งเสริมการขยับกายในชุมชน ปี2565
            - โครงการแอโรบิกเพื่อสุขภาพ
            - โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในวัยเด็กและเยาวชนด้วยการเล่นฟุตบอล
5.กองทุนตำบลหานโพธิ์ อ.เขาชัยสน -โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา23
6.กองทุนตำบลคลองทรายขาว อ.กงหรา -โครงการนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพในผู้สูงอายุ ปี 2564
7.กองทุนตำบลกงหรา อ.กงหรา  -โครงการ TO BE NUMBER ONE 2565
8.กองทุนตำบลเขาหัวช้าง อ.ตะโหมด  -โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ชยับกายสบายชีวี
9.กองทุนตำบลดอนทราย อ.ปากพะยูน -โครงการสุขภาพดีด้านคีตะมวยไทย แอโรบิก ปี2564
10.กองทุนตำบลหารเทา อ.ปากพะยูน - โครงการจัดตั้งศุนย์พักคอยเตียงสำหรับคนในชุมชน
11.กองทุนเทศบาลเมืองพัทลุง - โครงการขยับเพื่อปรับเปลี่ยน 2565
12.กองทุนตำบลลำปำ อ.เมืองพัทลุง -โครงการส่งเสริมการเล่นกิฬาเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายของนักเรียนวัดโพเด็ด
13.กองทุนตำบลนาโหนด อ.เมืองพัทลุง - โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายของบุคลากรในสำนักงาน ทต.นาโหนด
14.กองทุนตำบลชัยบุรี อ.เมืองพัทลุง (เจ้าหน้าที่ย้ายมาใหม่ ยังไม่เเข้าใจการใช้เว็บ)

กองทุนที่ไม่เข้าร่วมประชุมติดตาม 5 กองทุนดังนี้
1.กองทุนตำบลจองถนน อ.เขาชัยสน (ไม่มา)/ (เจ้าหน้าที่ย้ายมาใหม่ ยังไม่เเข้าใจการใช้เว็บ และยังไม่มีโครงการในปีนี้)
2.กองทุนตำบลคลองเฉลิม อ.กงหรา (ไม่มา)
3.กองทุนตำบลสมหวัง อ.กงหรา (ไม่มา)
4.กองทุนตำบลฝาละมี อ.ปากพะยูน (ไม่มา)
5.กองทุนตำบลทุ่งนารี อ.ป่าบอน (ไม่มา)

ผลลัพธ์
ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถบันทึกการติดตาม และประเมินคุณค่าโครงการได้

 

ก.7 สรุปผล และถอดบทเรียนโครงการ จ.พัทลุง 27 พ.ค. 2565 27 พ.ค. 2565

 

  1. ลงทะเบียนผู้เข้าประชุม
  2. 9.00-9.30 แจ้งวัตถุประสงค์/รูปแบบ/และกระบวนการจัดประชุม
  3. 9.30-10.00 แบ่งกลุ่มคละกันระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนและผู้รับทุน สร้างปฏิมากรรมด้วยของใช้ส่วนตั่วของสมาชิกกลุ่ม ในหัวข้อ  "กองทุนหลักประกันในมุมมองของฉัน"
  4. 10.00-11.30 แบ่งกลุ่ม โดบมีคณะทำงานร่วมเป็นวิทยากรกระบวนการ facilitator ประจำกลุ่ม  (เสิร์ฟอาหารว่างในเวลาประชุม)
  5. 11.30-12.30 ทุกกลุ่มนำเสนอผลการถอดบทเรียน 12.30-13.30  พักกลางวัน
  6. 13.30-15.00 กระบวนการยกร่างนโยบายสาธารณะ
    (เสิร์ฟอาหารว่างในเวลาประชุม)
  7. 15.00-15.30 ซักถาม อภิปรายผล

 

ผลผลิต
1. ผู้เข้ร่วมประชุม เจ้าหน้าที่กองทุน/เลขากองทุน/ผู้รับทุน และคณะทำงานรวม 27 คน (ขาด 5 คน)
2. ได้บทเรียนจากโครงการนำร่อง
3. ได้นโยบายสาธารณะ 1 ประเด็น

ผลลัพธ์
(รอรายงานการถอดบทเรียน.................)

 

ประชุมพี่เลี้ยงจังหวัดงาน PA ( พี่เลี้ยงอำเภอหนองจิก , อำเภอเมือง, อำเภอยะหริ่ง) 12 ต.ค. 2564 12 ต.ค. 2564

 

ประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมและวางแผนการดำเนินงานกิจกรรมทางกาย ( PA )ภาพรวมของจังหวัดปัตตานี พร้อมแบ่งความรับผิดในการดูแลกองทุนให้พี่เลี้ยงแต่ละคน..

 

มีการวางแผนการอบรมกิจกรรมทางกาย ( PA ) ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 64 ถึงเดือนสิงหาคม 2565 รวมทั้งหมด 6 ครั้ง และแบ่งมอบหมายความรับผิดชอบให้กับพี่เลี้ยงดังนี้ 1.นายมะรอกี  เวาะเลง รับผิดชอบกองทุนทต.หนองจิก ,กองทุนคอลอตันหยง ,กองทุนปุโละปุโย 2.นายแวอูเซ็ง  แวสาและ รับผิดชอบกองทุนตำบลตุยง ,กองทุนยาบี ,กองทุนบางตาวา 3.นายอับดุลราซัค กุลตามา  รับผิดชอบกองทุนตำบลยะหริ่ง ,กองทุนตาลีอายร์ ,กองทุนตะโละกาโปร์ 4.นายอาริส  กาซอ รับผิดชอบกองทุนปูยุด ,กองทุนตะลุโบะ ,กองทุนตันหยงลุโละ

 

ประชุมชี้แจงวางแผนการทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกายจังหวัดสงขลาครั้งที่ 1 22 ต.ค. 2564 22 ต.ค. 2564

 

ประชุมชี้แจงวางแผนการทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกายจังหวัดสงขลาครั้งที่ 1

 

พี่เลี้ยงจังหวัดสงขลาจำนวน 8 คน วางแผนการทำงานในแผนกิจกรรมทางกาย วาระที่ 1 กลไกคณะทำงานการขับเคลื่อนโครงการกิจกรรมทางกาย
คณะทำงานพี่เลี้ยงจังหวัดสงขลา จำนวน 8 คน ประกอบด้วย
-นายทนงศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล
-นางเพียงขวัญ กาญจนเพ็ญ -นายศุภชัย เผือกผ่อง -นายธนพนธ์ จรสุวรรณ -นายอะหมัด หลีขาหรี -นางดวงใจ อ่อนแก้ว -นส.ดวงดาว อุปสิทธิ์ -นส.อารีย์ สุวรรณชาตรี

วาระที่ 2 ชี้แจงโครงการกิจกรรมทางกาย เขต 12 สงขลา -ทบทวนพื้นที่กองทุนฯ จำนวน30 กองทุน ในส่วนของนายธนพนธ์ จรสุวรรณ ขอปรับพื้นที่ จาก อบต.คู เป็น อบต.ตลิ่งชัน เนื่องจากสถานการณ์โควิดในพื้นที่

วาระที่ 3 แนะนำการเขียนโครงการกิจกรรมทางกาย PA
การออกแบบกิจกรรมทางกาย สามารถบูรณาการร่วมกับกิจกรรม/โครงการอื่นๆได้ โดยไม่จำเป็นต้องทำเฉพาะเรื่องPA อย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งกลุ่มเป้าหมายในโครงการสามารถใช้กิจกรรมทางกาย เช่น การเดิน การทำงาน/อาชีพ การกีฬา สันทนาการ ฯลฯ ให้เป็นส่วนของชีวิตประจำวัน เพื่อนำไปสู่การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ


วาระที่ 4 วางแผนการลงพื้นที่และการบริหารจัดการโครงการ -วางแผนการลงพื้นที่ของพี่เลี้ยง ในการจัดทำแผนร่วมกับกองทุนในความดูแล โดยมีการกำหนดวันเวลา ดังนี้ พี่เลี้ยงลงพื้นที่ทำแผนให้เสร็จภายในวันที่ 10 พย.64 เคลียร์เอกสารการเงิน วันที่ 15 พย.64 และประชุมพี่เลี้ยงผ่านZoom ในวันที่ 17 พย.64 เพื่อติดตามความก้าวหน้าจากการลงพื้นที่ทำแผน
- การลงพื้นที่ทำแผนในส่วนของพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จะขยับจากเดิม พย. มาทำในช่วงวันที่ 30-31 ตค.64
- กิจกรรมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง จะมีการจัดกิจกรรม 2ครั้ง - การบริหารงบประมาณ สปสช.เขตมีการโอนเงินงวดแรก ประมาณ 70,000 บ. เพื่อดำเนินงานในกองทุนที่มีการจัดทำแผน ช่วงตุลาคม และจะมีการโอนงวด2 ในช่วงเดือนพฤศจิกายน

 

กิจกรรมทำแผนสุขภาพกิจกรรมทางกายกองทุนตำบลท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 25 ต.ค. 2564 25 ต.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
1 วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล 2. ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
3. ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
4. ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น
5. ร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
- กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล
- วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
- งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
- โครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565
ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

กิจกรรมทำแผนสุขภาพกิจกรรมทางกายกองทุนตำบลป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 25 ต.ค. 2564 25 ต.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
1 วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล 2. ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
3. ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
4. ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น
5. ร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
- กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล
- วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
- งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
- โครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565
ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

ประชุมคณะทำงานจังหวัดยะลา ครั้งที่ 1 25 ต.ค. 2564

 

 

 

 

 

กิจกรรมทำแผนสุขภาพกิจกรรมทางกายกองทุนตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 26 ต.ค. 2564 26 ต.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
1 วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล 2. ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
3. ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
4. ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น
5. ร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
- กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล
- วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
- งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
- โครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565
ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

กิจกรรมทำแผนสุขภาพกิจกรรมทางกายกองทุนตำบลขุนตัดหวาย อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 26 ต.ค. 2564 26 ต.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
1 วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล 2. ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
3. ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
4. ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น
5. ร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
- กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล
- วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
- งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
- โครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565
ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

ทำแผนโครงการทางกายในระดับพื้นที่ อบต.แค อำเภอจะนะ ปี 2564 เขต 12 โดย นายอะหมัด หลีขาหรี 27 ต.ค. 2564 27 ต.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลแค ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลแค โดยได้ร่วมกัน
(1) วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบลแค (2) ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
(3) ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
(4) ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น
(5) ร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลแค กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบลแค วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย และโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

กิจกรรมทำแผนสุขภาพกิจกรรมทางกายกองทุนตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 27 ต.ค. 2564 26 ต.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
1 วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล 2. ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
3. ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
4. ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น
5. ร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
- กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล
- วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
- งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
- โครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565
ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

กิจกรรมทำแผนสุขภาพกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.จะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 27 ต.ค. 2564 26 ต.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
1 วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล 2. ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
3. ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
4. ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น
5. ร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
- กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล
- วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
- งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
- โครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565
ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

ก.1 สร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ จ.พัทลุง 27 ต.ค. 2564 27 ต.ค. 2564

 

ลงทะเบียน การประชุมผ่านระบบ https://zoom.us/j/9019029104#success เวลา 09.00-16.00 น.
มีผู้ลงทะเบียนเข้าประชุมจำนวน 48 คน ประกอบด้วย คณะทำงาน 11 คน ผู้รับผิดชอบงานกองทุน 33 คน/ 29 กองทุน (ที่ไม่เข้า 1.คลองทรายขาว 2.แม่ขรี 3 หารเทา) ผู้แทน พชอ. 4 คน จาก 3 พชอ. (ที่ไม่เข้า เขาชัยสน และกงหรา)

การประชุม สร้างความเข้ารายละเอียดโครงการโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะ เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ สร้างความเข้าใจความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากร นายสมนึก นุ่นด้วง และนางธมล มงคลศิลป์ เวลา 09.00-12.00 น
สรา้งความเข้าใจการพัฒนาแผนงาน(แผนเงิน และแผนสุขภาพ) และการพัฒนาโครงการผ่านเว็บ โดยวิทยากร กชกานต์ คงชู และวลัยพร ด้วงคง เวลา 13.00-16.00 น.

กลุ่มเป้าหมาย 52 คน ดังนี้ พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน
เลขา/ผู้แทน พชอ 10 คน
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน
เจ้าหน้าที่ผู้ช่วยเหลืองานธุรการ 3 คน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุม 48 คน ดังนี้ พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน
เลขา/ผู้แทน พชอ  4 คน/ 3 พชอ.
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 33 คน/29 กองทุน
เจ้าหน้าที่ผู้ช่วยเหลืองานธุรการ 3 คน

ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจกระบวนงานการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย การใช้เว็บไซต์กองทุน การทำแผน การทำโครงการผ่านเว้บ

 

กิจกรรมทำแผนโครงการทางกายในระดับพื้นที่ อบต. ปลักหนู อำเภอนาทวี ปี 2564 เขต 12 โดย นายอะหมัด หลีขาหรี 28 ต.ค. 2564 28 ต.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปลักหนู ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปลักหนู โดยได้ร่วมกัน
1 วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบลปลักหนู 2. ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
3. ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
4. ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น
5. ร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปลักหนู กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบลปลักหนู วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย และโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

กิจกรรมทำแผนสุขภาพกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.สะกอม อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 28 ต.ค. 2564 27 ต.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
1 วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล 2. ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
3. ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
4. ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น
5. ร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
- กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล
- วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
- งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
- โครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565
ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

กิจกรรมทำแผนสุขภาพกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ทต.บ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 28 ต.ค. 2564 28 ต.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
1 วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล 2. ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
3. ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
4. ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น
5. ร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
- กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล
- วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
- งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
- โครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565
ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

ลงพื้นที่พัฒนาโครงการ อบต.ท่าบอล อำเภอ ระโนด ปี 2564 เขต 12 โดย นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล 29 ต.ค. 2564 17 พ.ย. 2564

 

.

 

.

 

กิจกรรมทำแผนสุขภาพกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.สะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 29 ต.ค. 2564 29 ต.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
1 วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล 2. ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
3. ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
4. ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น
5. ร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
- กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล
- วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
- งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
- โครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565
ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

กิจกรรมทำแผนสุขภาพกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่อบต.ฉาง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 29 ต.ค. 2564 29 ต.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
1 วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล 2. ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
3. ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
4. ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น
5. ร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
- กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล
- วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
- งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
- โครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565
ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

กิจกรรมทำแผนสุขภาพกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.เกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา 1 พ.ย. 2564 1 พ.ย. 2564

 

เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
(1) วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล (2) ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
(3) ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
(4) ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น และร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
- กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล
- วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
- งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
- โครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565
ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

กิจกรรมทำแผนสุขภาพกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.น้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 1 พ.ย. 2564 1 พ.ย. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
1 วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล 2. ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
3. ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
4. ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น
5. ร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

ผู้เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
- กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล
- วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
- งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
- โครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565
ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

กิจกรรมทำแผนโครงการทางกายในระดับพื้นที่ อบต.ทับช้าง อำเภอนาทวี ปี 2564 เขต 12 โดย นายอะหมัด หลีขาหรี 2 พ.ย. 2564 4 พ.ย. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทับช้าง ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทับช้าง โดยได้ร่วมกัน
(1) วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบลทับช้าง
(2) ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
(3) ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
(4) ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น และร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทับช้าง กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบลทับช้าง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย และโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

ประชุมวางแผน สร้างทีมพี่เลี้ยงเพื่อการหนุนเสริมกองทุนตำบล 12 กองทุน ปี65 3 พ.ย. 2564 3 พ.ย. 2564

 

แนะนำพื้นที่ตำบล/ชี้แจงวัตถุประสงค์ในการอบรมแผนงานกิจกรรมทางกาย  ( PA ) สร้างความเข้าใจประเด็น     - ความสำคัญของแผนงาน PA กับความสำเร็จในการดำเนินโครงการ     - กลไกการทำงานแผนงาน PA โดยใช้พี่เลี้ยงกองทุน

 

เวลา 9.00 น. นายมะรอกี เวาะเลง พี่เลี้ยงจังหวัดปัตตานี ได้กล่าวต้อนรับและชี้แจงรายละเอียดที่มาของแผนงานกิจกรรมทางกาย ของจังหวัดปัตตานี นายอับดุลรอซัค กุลตามา พี่เลี้ยงระดับจังหวัด ได้แนะนำพี่เลี้ยงจังหวัดปัตตานีทั้ง 4 ท่าน และแนะนำกองทุนต้นแบบ กองทุนเกลอ ในการดำเนินงานแผนงานกิจกรรมทางกายครบทั้ง 12 แห่งของจังหวัดปัตตานี นายแวอูเซ็ง แวสาและ  พี่เลี้ยงระดับจังหวัด เน้นความสำคัญของแผนงาน PA โดยแจ้งถึงสาเหตุสาเหตุของการเกิดโรคต่างๆจากประเด็นปัญหาการขาดการออกกำลังกาย สาเหตุจากการรับประทานอาหารจานด่วนในสถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหาการพักผ่อนไม่เพียงพอ ปัญหาสุขภาพจิต และการเตรียมข้อมูลต่างๆเพื่อลงในเวปไซด์ในการประชุมครั้งต่อไป นายฮาริส กาซอ พี่เลี้ยงระดับจังหวัด กลไกการทำงานแผนงาน PA โดยใช้พี่เลี้ยงกองทุน โดยให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนนำร่องที่มีศักยภาพ เป็นพี่เลี้ยงของกองทุนตัวเอง เช่น ผอ. กองสาสุขและสิ่งแวดล้อม หรือหัวหน้าสำนักปลัด เป็นต้น การสร้างชุมชนเข้มแข็งโดยใช้หลัก ottawa charter คือ 1. สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง 2. สร้างทักษะให้เจ้าหน้าที่ 3. การสร้างนโยบายในชุมชน
4. การสร้างสถานที่เที่ยวที่อื่นต่อการออกกำลังกาย 5.การปรับระบบบริการ 15.30 น. ตัวแทน จนท.กองทุนตำบลตะลุโบะ สอบถามประเด็นการของบประมาณในการทำโครงการกิจกรรมทางกาย ของหน่วยงานใน อบต. สามารถทำได้หรือไม่ อย่างไร 16.00 น. นายมะรอกี เวาะเลง พี่เลี้ยงจังหวัดปัตตานี กล่าวขอบคุณและปิดการประชุม

 

กิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อำเภอหาดใหญ่ และอำเภอควนเนียง ปี 2564 เขต 12 โดยนางดวงใจ อ่อนแก้ว นางสาวอารี สุวรรณชาตรี และนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ 6 พ.ย. 2564 6 พ.ย. 2564

 

กำหนดการ

08.00 -08.30 น.  ลงทะเบียนและรับเอกสาร

08.30-09.30 น.  ชี้แจงวัตถุประสงค์ที่มาและความสำคัญ แนะนำตัวผู้เข้าร่วม โดย นางดวงใจ อ่อนแก้ว พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล สปสช. เขต 12

09.30-11.00 น.  ระเบียบกองทุนและแนวทางการจัดทำแผนและเขียนโครงการในสถานการณ์โควิด-19 โดย ทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล สปสช. เขต 12

11.00-12.00 น.  แนวทางการจัดทำแผนสุขภาพตำบล โดย ทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล สปสช. เขต 12

12.00-13.00 น.  พักรับประทานอาหารเที่ยง

13.00-16.00 น.  การจัดทำแผนกิจกรรมทางกาย เขียนได้มากกว่าการออกกำลังกาย ของบผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ โดย ทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล สปสช. เขต 12

16.00-16.30 น.  แลกเปลี่ยน-ข้อสักถาม

16.00-16.30 น.  สรุปปิดการประชุม

 

ชี้แจงวัตถุประสงค์ที่มาและความสำคัญ แนะนำตัวผู้เข้าร่วม โดย นางดวงใจ อ่อนแก้ว พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล สปสช. เขต 12

ผลผลิตจากการทำกิจกรรม

  • เกิดการชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรม

  • มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 39 คน

  • เกิดแผนงานกิจกรรมทางกาย 9 แผน

สรุปการจัดกิจกรรมในครั้งนี้

ด้วยที่ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๒ สงขลา (สปสช.) ร่วมกับสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส.ม.อ.) ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ดำเนินโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่(PA) ปี ๒๕๖๕ เขต ๑๒ สงขลาขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการนำร่องพื้นที่ดำเนินงานกิจกรรมทางกายผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เนื่องด้วยพบว่า ภาวการณ์ระบาดของโควิด-๑๙ ทำให้คนไทยมีภาวะเฉื่อยนิ่งนานขึ้น อันส่งผลต่อการเกิดโรคอ้วนและโรคหลอดเลือดหัวใจตามมา โดยสำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) การมุ่งเน้นยุทธศาสตร์กิจกรรมทางกาย

กลุ่มเป้าหมาย คือ การเพิ่มคณะกรรมการกองทุน การเพิ่มศักยภาพพี่เลี้ยง การเพิ่มความรู้เท่าทันประเด็นกิจกรรมทางกาย และให้มีการทำแผนสุขภาพ พัฒนาโครงการเพื่อรับเงินผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ โดยมีการคัดเลือกกองทุน ในอำเภอหาดใหญ่ และอำเภอควนเนียง ดังนี้

อำเภอหาดใหญ่

 เทศบาลเมืองคลองแห

 เทศบาลเมืองควนลัง

 เทศบาลตำบลบ้านพรุ

 เทศบาลตำบลบ้านไร่

 เทศบาลตำบลพะตง

 เทศบาลตำบลน้ำน้อย

อำเภอควนเนียง

 เทศบาลตำบลควนเนียง

 เทศบาลตำบลบางเหรียง

 องค์การบริหารส่วนตำบลรัตภูมิ


กิจกรรมในครั้งนี้จัดเป็นกิจกรรมครั้งที่ 1 ทางทีมพี่เลี้ยงเชิญกองทุนฯและกลุ่มเครือข่ายเพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและทบทวนแผนกิจกรรมทางกาย พัฒนาโครงการ ผ่าน website กองทุนสุขภาพตำบล ในวันที่เสาร์ที่ 6 พฤศจิกายน 2564 เวลา 08.30-16.30 น. ณ ห้องประชุมโรงแรมหาดใหญ่ ซิกเนเจอร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ในการจัดกิจกรรมตลอดปีงบประมาณ จะมีการจัดกิจกรรมทั้งหมด 5 ครั้ง ดังนี้

6 พฤศจิกายน 2564  ลงพื้นที่ ทำแผน 1 ครั้ง

.......ธันวาคม 2564  ลงพื้นที่พัฒนากองทุนละ โครงการ 1 ครั้ง

.......พฤษภาคม 2565  ลงพื้นที่ แนะนำการบันทึกกิจกรรม

.......กรกฎาคม 2565  ลงพื้นที่ แนะนำการประเมินคุณค่าโครงการ

.......สิงหาคม 2565  ติดตามประเมินผลโครงการระดับจังหวัด ผ่าน ZOOM (นำเสนอโครงการเด่นระดับพื้นที่/คลิปสั้นนำเสนอกิจกรรม)

การแนะนำระเบียบกองทุนและแนวทางการจัดทำแผนและเขียนโครงการในสถานการณ์โควิด-19 โดย ทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ สปสช. เขต 12

ประกาศข้อ 10 หลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯ พ.ศ.2561

กำหนดดังนี้ เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่าย ตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ คณะกรรมการมีอำนาจทางปกครอง/ออกคำสั่งทางปกครอง(อนุมัติ/ไม่อนุมัติ)

  • ประชุมต้องชอบด้วยกฎหมาย(มากกว่าครึ่งของจำนวนกรรมการ เช่น มี ก.ก. 15คน ต้องประชุมอย่างน้อย 8 คน อนุมัติโครงการเสียงเกินกึ่งหนึ่ง)

  • โครงการที่ทำก่อน คณะกรรมการอนุมัติ

    (ไม่ผ่านกรรมการ โครงการมิชอบ เป็นโมฆะ)

หลักเกณฑ์พิจารณาโครงการ

1.วัตถุประสงค์เกี่ยวกับสุขภาพ (ไม่สร้างรายได้ นันทนาการ ศาสนา ประเพณี)

2.ไม่ซ้ำซ้อนงบปกติหน่วยงาน

3.ค่าใช้จ่ายต้องเหมาะสมคุ้มค่า(ไม่ฟุ่มเฟือย) กรณีศึกษา ห้ามแจกของรางวัลถ้วนหน้า

  แจกรางวัลผ้าขาวม้าในกิจกรรมขลิบอวัยวะ /ผ้าถุงคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ซื้อเสื้อคณะกรรมการกองทุน - ห้ามให้เงินเป็นรางวัล (มอบโล่รางวัล ประกาศนียบัตรได้) - ดูงานอย่างเดียว ไม่เห็นกระบวนการทำงานต่อ - อบรมพัฒนาศักยภาพอย่างเดียว( อบรม อสม.) แต่หากมีอบรม ให้มีการปฏิบัติการชุมชนด้วย - จัดงานสร้างกระแสครั้งเดียวจบ เช่น จัดแรลลี่จักรยาน วิ่งมาลาทอน เป็นต้น - แข่งขันกีฬานักเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก คนสูงอายุ - ซื้อของหรือครุภัณฑ์อย่างเดียวไม่มีกิจกรรมด้านสร้างเสริมสุขภาพ

การจัดทำแผนกิจกรรมทางกาย เขียนได้มากกว่าการออกกำลังกาย ของบผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ โดย ทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล สปสช. เขต 12 การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ จัดทำแผนสุขภาพตำบลของกองทุน ประจำปี ก.ย.-ต.ค. ขั้นตอนการจัดทำแผนสุขภาพ
1.คณะทำงานจัดทำแผน รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพจาก รพ.สต. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน จปฐ. 2.จัดลำดับความสำคัญปัญหาสุขภาพ 3.เลือกแผนสุขภาพตามประเด็น เพิ่มข้อมูล 3.1 สถานการณ์ปัญหา 3.2 เป้าหมาย 3.3 วิธีการ กิจกรรม 3.4 งบประมาณ 3.5 โครงการที่ควรดำเนินการ หน่วยงาน จำนวนเงิน โดยสามารถทำแผนสุขภาพผ่านระบบกองทุนฯ (https://localfund.happynetwork.org/) และค้าหาตัวอย่างโครงการได้

ตัวอย่างการทำแผนกิจกรรมทางกาย

เช่น แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2565 กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุประจำปีงบประมาณ 2565
สถานการณ์ปัญหา •
สถานการณ์ปัญหา ขนาด

1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน) 75.20
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) 56.42
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) 72.45

4 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน 68.40


5 ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน 15.60

6 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน 65.80

7 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning) 58.60
8 ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายเช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน 25.40

รายละเอียดเพิ่มเติมระบุรายละเอียดภาพรวมของสถานการณ์ปัญหา

วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ขนาด เป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) 75.20 78.00

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) 56.42 60.00

3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) 72.45 75.00

4 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน 68.40 70.00
5 เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน 15.60 20.00

6 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน 65.80 70.00

7 เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูฯย์เด็กเล็ก ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning) 58.60 60.00

8 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน 25.40 30.00

โครงการที่ควรพัฒนา
ชื่อโครงการย่อย ผู้รับผิดชอบ งบประมาณที่ตั้งไว้ (บาท)
1 โครงการชีวิตวิถีใหม่ กินอาหารดี มีขยับกาย ร่างกายแข็งแรง ประธาน อสม.ชุมชนเขต 6 9,000.00 พัฒนาโครงการ


รายชื่อพัฒนาโครงการ ปีงบประมาณ ชื่อพัฒนาโครงการ งบประมาณ (บาท)

1 2565 โครงการชีวิตวิถีใหม่ กินอาหารดี มีขยับกาย ร่างกายแข็งแรง 9,000.00 รวม 9,000.00

ตัวอย่างโครงการ พัฒนา ในพื้นที่ เทศบาลตำบลบ้านพรุ

ชื่อโครงการโครงการชีวิตวิถีใหม่ กินอาหารดี มีขยับกาย ร่างกายแข็งแรง

ชื่อกองทุน กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ

ชื่อองค์กร/หน่วยงานเสนอโครงการประธาน อสม. เขต6

ชื่อกลุ่มคน (5 คน)

1.นางนิตยา ชุมละออ

2.นางสายชล หนูอุไร

3.นางอรทัย เชยกาญจน์

4.นางหวล บุญกาพันธ์

5.นางอัญญา อาษาพันธ์

พื้นที่ดำเนินการ

พื้นที่ชุมชนเขต 6

  1. ความสอดคล้องกับแผนงาน

    แผนงานกิจกรรมทางกาย

  2. สถานการณ์

    สถานการณ์ปัญหา ขนาด

1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน) (25.80)

2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) (30.45)

3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) (10.26)

4 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (15.46)

5 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน (20.25)

6 ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน (18.48)

วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จ ขนาด เป้าหมาย 1 ปี

1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ตัวชี้วัดความสำเร็จ :ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน) 25.80 30.00

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ตัวชี้วัดความสำเร็จ :ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) 30.45 35.00

3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ตัวชี้วัดความสำเร็จ :ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) 10.26 20.00

4 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ตัวชี้วัดความสำเร็จ :ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน 15.46 20.00

5 เพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

ตัวชี้วัดความสำเร็จ :ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน 18.48 20.00

6 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ตัวชี้วัดความสำเร็จ :ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน 20.25 25.00
ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนและทบทวนแผนกิจกรรมทางกายระดับพื้นที่ ผ่าน website กองทุนสุขภาพตำบล วันเสาร์ ที่ 6 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖4 เวลา 08.00-16.30 น. ณ ห้องประชุมโรงแรมหาดใหญ่ ซิกเนเจอร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีผู้เข้าร่วมโครงการจากตัวแทน 9 กองทุนฯ กิจกรรมในครั้งนี้ทำให้เกิดแผนด้านกิจกรรมทางกานจำนวน 9 แผน จากพื้นที่นำร่องและเกิดโครงร่างโครงการ อยู่ในการพัฒนา ตามความสนใจในพื้นที่ โดยทำการสมัครสมาชิกให้เพื่อเขียนโครงการขอรับทุนโดยกลุ่มเครือข่าย มีพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่เป็นผู้ดูแลให้คำแนะนำ มีภาพกิจกรรมดังนี้

 

ทำแผนโครงการทางกายในระดับพื้นที่ อบต.ท่าประดู่ อำเภอนาทวี ปี 2564 เขต 12 โดย นายอะหมัด หลีขาหรี 9 พ.ย. 2564 9 พ.ย. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่าประดู่ ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบท่าประดู่ โดยได้ร่วมกัน (1) วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบลท่าประดู่ (2) ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
(3) ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
(4) ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น และร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลท่าประดู่ กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบลท่าประดู่ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย และโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

ทำแผนโครงการทางกายในระดับพื้นที่ ทต.นาทวีนอก อำเภอนาทวี ปี 2564 เขต 12 โดย นายอะหมัด หลีขาหรี 10 พ.ย. 2564 22 ก.พ. 2565

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาทวีนอก ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาทวีนอก
โดยได้ร่วมกัน
(1) วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในเทศบาลตำบลนาทวีนอก
(2) ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
(3) ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
(4) ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น และร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาทวีนอก กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในเทศบาลตำบลนาทวีนอก วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย และโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

ทำแผนสุขภาพ และพัฒนาโครงการทางกายในระดับพื้นที่ อบต.นาหมอศรี อำเภอนาทวี ปี 2564 เขต 12 โดย นายอะหมัด หลีขาหรี 11 พ.ย. 2564 11 เม.ย. 2565

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาหมอศรี ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาหมอศรี โดยได้ร่วมกัน (1) วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบลนาหมอศรี (2) ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
(3) ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
(4) ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น และร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาหมอศรี กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบลนาหมอศรี  วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย และโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

กส.1 ประชุมทีมคณะทำงาน จังหวัดพัทลุง 12 พ.ย. 2564 12 พ.ย. 2564

 

เวลา 9.00 น. คณะทำงานมาพร้อมกัน 8 คน ดำเนินการประชุมตามวาระดังนี้
1. AAR. กิจกรรมที่ 1 การประชุมออน Zoom เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2564 ใช้สถานที่บ้านพี่เลี้ยงผู้ประสานงาน คณะทำงานธุรการและวิทยากรเดินทางมา ณ ห้องควบคุม 5 คน ช่วงแรกระบบถูกตัดทุก 40 นาที สาเหตุไม่ซื้อเวลา แก้ไขดดยการขอใช้ห้องZoom ของ สนส. ดำเนินการประชุมสำเร็จได้ตามเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายไม่เข้าประชุม 2 คน (แม่ขรี และหารเทา)
2. เตรียมงานกิจกรรมที่ 2 ดังนี้
2.1 สร้างความเข้าใจเนื้อหารที่จะต้องเตรียมตัวเป็นวิทยากร ในแต่ละ section (เวลา 3.00 ชม.)
1). ชี้แจงรายละเอียดโครงการ (ผู้รับผิดชอบกองทุน/กรรมการ/ภาคีรับทุน) 0.5 ชม   ให้รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  ให้ผู้รับผิดชอบโครงการรู้ เข้าใจใช้เว็บได้ และแนะนำผู้เขียนโครงการรับทุนได้
  เข้าใช้การบริหารจัดการแผนงานโครงการ การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
  การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางานได้.

  2). ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 0.5 ชม.
  PA ที่เพียงพอตามเกณฑ์ (เบา/กลาง/หนัก)
  PA ตามกลุ่มอายุ 5 ปีแรก / 5-17 ปี/18-64 ปี/ 65 ปี ขึ้นไป
  PA ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง คน/สภาพแวดล้อม/กลไก
  PA แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

  3).รู้จักเว็บไซต์กองทุน 0.5 ชม. หน้าเว็บ / หน้าแรก/ วิเคราะห์ / คลังข้อมูล
แผนงาน/ แผนกองทุน/ แผนอำเภอ
  4). ปฏิบัติการพัฒนาแผนงาน 1.5 ชม.(ได้แผน PA หรือมากกว่า) แหล่งข้อมูล ชุมชน/ภาคี จากแผนงาน-สถานการณ์ /สติถิระดับต่างๆ การใส่ข้อมูลสถานการณ์ 2 มิติ (จำนวน/ร้อยละ) การกรอกเป้าหมาย ตัวชี้วัด 4 มิติ (จำนวน/ร้อยละ/เชิงบวก /เชิงลบ) การคิดค่าร้อยละในแต่ละประเด็น ดูจากคู่มือ

เวลา 13.00 น
3. จัดทำแผนการดำเนินงานทั้ง 4 เครือข่าย 32 กองทุน มอบหมายคณะทำงานร่วมเป็นวิทยากรตามความถนัด ทั้ง 2 เขต(โซนเหนือ/โซนใต้) กำหนดวันดังนี้
วันที่ 16-30 พฤศจิกายน 2564 จำนวน 17 กองทุน
วันที่ 1-17 ธันวาคม 2564 จำนวน 15 กองทุน
รวมค่าใช้จ่าย 3700 บาท

 

ผลผลิต
1. คณะทำงานเข้าร่วมประชุมร้อยละ 80 และดำเนินการประชุมครบทุกวาระตามแผน

ผลลัพธ์
1. คณะทำงานได้ทบทวนประเด็นปัญหาจากการจัดกิขกรรมที่ 1 และร่วมกันให้แนวทางการปรับปรุง
2. คณะทำงานมีความเข้าใจตรงกันในเป้าหมาย และผลลัพธ์ของโครงการ และมีความพร้อมในการเตรียมเป็นวิทยากร
3. ได้แผนกำหนดการวันเวลา ในการสร้างความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมายในแต่ละกองทุน ทั้ง 32 กองทุน

 

ประชุมคณะทำงานพี่เลี้ยงครั้งที่ 1 13 พ.ย. 2564 5 ก.พ. 2565

 

  • ชี้แจงแผนงานกิจกรรมโครงการ
  • วิเคราะห์กองทุนที่จะเข้าร่วมโครงการกิจกรรมทางกายจำนวน 16 กองทุน

 

เกิดแผนการการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนกิจกรรมทางกาย  เพื่อการหนุนเสริมกองทุนตำบล 1๖ กองทุน ในปี 65

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (ชะรัด) จ.พัทลุง 16 พ.ย. 2564 16 พ.ย. 2564

 

เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุมตามกำหนดการดังนี้
1. ประธานกองทุน (นายสุวรรณี ยาชะรัด) กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม
2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง 2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนาอ่ารีด พลนุ้ย
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย
4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยนางกชกานต์ คงชู  ด้วยกระบวนการดังนี้ 4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย 4.5 การกำหนดวงเงิน 4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ 4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม..24........คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (ลำสินธุ์) จ.พัทลุง 17 พ.ย. 2564 17 พ.ย. 2564

 

เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุมตามกำหนดการดังนี้
1. ประธานกองทุน (นายสุขุม ทับทวี) กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม
2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง 2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
2.2 กิจกรรมโครงการ
กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
    2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนายอ่ารีด พลนุ้ย
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย
4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยนางกชกานต์ คงชู  ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 31 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (โตนดด้วน ) จ.พัทลุง 17 พ.ย. 2564 17 พ.ย. 2564

 

เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุมตามกำหนดการดังนี้
1. ประธานกองทุน นายวรจิต สายแก้ว กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม
2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง 2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
    2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยนางกชกานต์ คงชู ด้วยกระบวนการดังนี้ 4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย 4.5 การกำหนดวงเงิน 4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ 4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 21 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและทบทวนแผนกิจกรรมทางกายระดับพื้นที่ อำเภอสทิงพระ ผ่าน website เขต 12 โดยเพียงขวัญ กาญจนเพ็ญ และนายศุภชัย เผือกผ่อง 18 พ.ย. 2564 5 ก.พ. 2565

 

ปฏิบัติการจัดทำแผนและทบทวนแผนกิจกรรมทางกายระดับพื้นที่ อำเภอสทิงพระ ผ่าน website

 

เกิดแผนและทบทวนแผนกิจกรรมทางกายระดับพื้นที่ อำเภอสทิงพระ ผ่าน website

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (พนมวังก์) จ.พัทลุง 18 พ.ย. 2564 19 พ.ย. 2564

 

เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุมตามกำหนดการดังนี้
1. นายสนิท คงแก้ว เลขากองทุน กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม
2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง 2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
    2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางกชกานต์ คงชู
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยนางธมล มงคลศิลป์ ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 24 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (นาท่อม ) จ.พัทลุง 18 พ.ย. 2564 18 พ.ย. 2564

 

เวลา 14.30 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุมตามกำหนดการดังนี้
1. นายสมเพียร มุสิกะสังข์ ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกองทุน กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม
2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง 2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางธมล มงคลศิลป์
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยนางกชกานตื คงชู ด้วยกระบวนการดังนี้ 4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย 4.5 การกำหนดวงเงิน 4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ 4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 23 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)23

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (กงหรา ) จ.พัทลุง 19 พ.ย. 2564 19 พ.ย. 2564

 

เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุมตามกำหนดการดังนี้
1. นายสมคิด อักษรเนียม ประธานกองทุน กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม
2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง 2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนายประเทือง อมรวิริยะชัย
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยนายอ่ารีด พลนุ้ย ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม  24 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย  /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (แหลมโตนด) จ.พัทลุง 19 พ.ย. 2564 19 พ.ย. 2564

 

เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุมตามกำหนดการดังนี้
1. นายองอาจ รักใหม่ นายกเทศมนตรี ประธานกองทุน กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม
2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย นางธมล มงคลศิลป์
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยนางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่มด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 23 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ประชุมพี่เลี้ยงวางแผนการดำเนินงานและรายงานความก้าวหน้าการทำกิจกรรม ระดับจังหวัดสงขลา ครั้งที่ 2 21 พ.ย. 2564 22 เม.ย. 2565

 

.ประชุมพี่เลี้ยงวางแผนการดำเนินงานและรายงานความก้าวหน้าการทำกิจกรรม ระดับจังหวัดสงขลา ครั้งที่ 2

 

รายงานสรุป ประชุมพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา ครั้งที่ 1 วันอาทิตย์ ที่ 21 พฤศจิกายน 2564 เวลา 12.30 -16.00 น. ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom)

วาระที่ 1 ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุมติดตามและการวางแผนการดำเนินงาน คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย เขต 12 จังหวัดสงขลา คณะทำงานพี่เลี้ยงจังหวัดสงขลา จำนวน 8 คน ประกอบด้วย
-นายทนงศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล
-นางเพียงขวัญ กาญจนเพ็ญ -นายศุภชัย เผือกผ่อง -นายธนพนธ์ จรสุวรรณ -นายอะหมัด หลีขาหรี -นางดวงใจ อ่อนแก้ว -นส.ดวงดาว อุปสิทธิ์     -นส.อารีย์ สุวรรณชาตรี การจัดกิจกรรมประชุมในครั้งนี้เป็นการสรุปการทำงานลงพื้นที่ทำแผนงานกิจกรรมทางกาย ครั้งที่ 1 วางแผนการดำเนินการในกิจกรรมพัฒนาโครงการและชี้แจงการเข้าร่วมประชุม เชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย

วาระที่ 2 ชี้แจงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย การจัดประชุม ชี้แจงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย มีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผลโครงการ พี่เลี้ยงกองทุนฯ กิจกรรมทางกายสามารถเข้าร่วมได้ทุกคน โดยมีกำหนดการดังนี้
09.00 – 09.30 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 09.30 – 10.30 น. - พี่เลี้ยงฝึกปฏิบัตินำเสนอแนวคิดการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยสื่อต่างๆ
เช่น PowerPoint
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวคิดการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย พี่เลี้ยง
10.30 – 12.00 น. - พี่เลี้ยงฝึกปฏิบัตินำเสนอการทำแผนกิจกรรมทางกายผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org และสื่ออื่นๆ (เช่น PowerPoint) - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำแผนกิจกรรมทางกาย
โดย พี่เลี้ยง
12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหาร
13.00 – 14.30 น. - พี่เลี้ยงฝึกปฏิบัตินำเสนอการเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org และสื่ออื่นๆ (เช่น PowerPoint) - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย พี่เลี้ยง 14.30 – 16.00 น. - พี่เลี้ยงฝึกปฏิบัตินำเสนอการติดตามประเมินผลผ่านเว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org และสื่ออื่นๆ (เช่น PowerPoint) - แลกเปลี่ยนเรียนรู้การติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย พี่เลี้ยง
16.00 – 16.30 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปผล และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วาระที่ 3 สรุปการลงพื้นที่จัดทำแผนครั้งที่ 1
การจัดทำแผนกิจกรรมทางกายจังหวัดสงขลา มีทีมพี่เลี้ยงทั้งหมด 5 ทีมด้วยกัน ลำดับที่ 1 อำเภอระโนด อำเภอระโนดรายงานว่าจากการทำกิจกรรม แผนกิจกรรมทางกายมีผู้ให้ความสนใจและทำการพัฒนาแผนกิจกรรมทางกาย อบต ท่าบอน ไม่มีปัญหาอุปสรรในการทำกิจกรรม ลำดับที่ 2 อำเภอหาดใหญ่ อำเภอควนเนียง รูปแบบกิจกรรมเป็นการจัดกิจกรรมรวม 9 กองทุนฯ มี กองทุนฯ อำเภอควนเนียงไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมครบตามแบบตอบรับ แต่ทางทีมพี่เลี้ยงได้เชิญกลุ่มเป้าหมาย กองทุนฯ อื่นที่มีความสนใจเพิ่มเติม
ลำดับที่ 3 กองทุนสทิงพระ ไม่มีปัญหาอุปสรรในการทำกิจกรรม ลำดับที่ 4 อำเภอนาทวี มีการเลือกกองทุนฯ ทำแผนกิจกรรมทางกายจำนวน 6 กองทุนฯ แต่ไม่สามารถเข้าลงพื้นที่ได้ 2 กองทุนฯ เนื่องจากเจ้าหน้าที่ติดวิด-19 จึงจัดทำแผน ของ 2 ที่นี้ ในเดือนธันวาคม 64
ลำดับที่ 5 อำเภอจะนะ เทพา ในการลงพื้นที่จัดทำแผนไม่มีปัญหาอุปรรค เจ้าหน้าที่ให้ความร่วมมือประสานงานผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี

วาระที่ 4 วางแผนการลงพื้นที่พัฒนาโครงการครั้งที่ 2 การวางแผนการลงพื้นที่ งวดที่ กิจกรรมที่ 2 และกิจกรรมที่ 3 ทางพี่เลี้ยงจะดำเนินการประสานงานกับน้องปริม และเคลียการเงินกับน้องปริมโดยตรง

 

ลงพื้นที่ทำแผนกองทุนฯ อบต. ท่าบอน อำเภอ ระโนด ปี 2564 เขต 12 โดย นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล 22 พ.ย. 2564 17 พ.ย. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน ตัวแทนคณะกรรมการกองทุน ผู้นำชุมชน และผู้ที่คาดว่าจะเสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบท่าบอน โดยได้ร่วมกัน (1) วิเคราะห์และบันทึกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบลท่าประดู่ (2) ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
(3) ร่วมกันกำหนดงบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
(4) ร่วมกันเสนอโครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 รวมถึงเสนอแนะหน่วยงานที่ควรเป็นผู้รับผิดชอบโครงการนั้น และร่วมกันกำหนดจำนวนงบประมาณที่เหมาะสม

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
- กรอกข้อมูลสถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประชาชนในตำบล
- วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในระยะเวลา 1 ปี
- งบประมาณภาพรวมของแผนส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย
- โครงการที่ควรดำเนินการในปีงบประมาณ 2565
ได้ครบถ้วน สมบูรณ์

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (ชุมพล) จ.พัทลุง 24 พ.ย. 2564 24 พ.ย. 2564

 

เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุมตามกำหนดการดังนี้
1. นายสัมภาส มากคงรองนายกเทศมนตรี กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม 2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง 2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย นางกชกานต์ คงชู
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยนายประเทือง อมรวิริยะชัย ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 27 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (สมหวัง) จ.พัทลุง 24 พ.ย. 2564 25 พ.ย. 2564

 

เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุมตามกำหนดการดังนี้
1. นายนิติธร ทองชิต นายกเทศมนตรี ประธานกองทุน กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม
2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนายอ่ารีด พลนุ้ย
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยนายประเทือง อมรวิริยะชัยด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม  23 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย  /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (จองถนน) จ.พัทลุง 25 พ.ย. 2564 25 พ.ย. 2564

 

เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุมตามกำหนดการดังนี้
1. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
1.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
1.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางธมล มงคลศิลป์
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยานางสาววลัยพร ด้วงคง ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 23 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (ท่ามะเดื่อ) จ.พัทลุง 26 พ.ย. 2564 26 พ.ย. 2564

 

เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม นายเปรม หนูมาก ประธานกองทุน ได้เปิดการประชุมและดำเนินการประชุมตามวาระดังนี้
1. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
1.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
1.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนายเสงี่ย ศรีทวี
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยานางสาววลัยพร ด้วงคง ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 23 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (บ้านสวน) จ.พัทลุง 29 พ.ย. 2564 29 พ.ย. 2564

 

เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม นายสมเกียรติ ทองพันธ์ ประธานกองทุน ได้เปิดการประชุมและดำเนินการประชุมตามวาระดังนี้
1. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
1.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
1.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางกชกานต์ คงชู
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยานางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 19 คน (ฝนตกหนัก น้ำท่วมพื้นที่ส่วนใหญ่ของตำบล)
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (โคกม่วง) จ.พัทลุง 29 พ.ย. 2564 29 พ.ย. 2564

 

เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม นายเจนวาที เพชรรักษ์ เลขากองทุน เปิดประชุมตามวาระดังนี้
1. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
1.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
1.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางธมล มงคลศิลป์
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยานางสาววลัยพร ด้วงคง ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 22 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (ปันแต) จ.พัทลุง 30 พ.ย. 2564 30 พ.ย. 2564

 

เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม นายประเสริฐ หนูมาก เลขาฯกองทุน ได้เปิดการประชุมและดำเนินการประชุมตามวาระดังนี้
1. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
1.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
1.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางกชกานต์ คงชู
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยานางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 24 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (อ่างทอง) จ.พัทลุง 30 พ.ย. 2564 30 พ.ย. 2564

 

เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม นายวีระพงษ์ ทับทวี ประธานกองทุน ได้เปิดการประชุมและดำเนินการประชุมตามวาระดังนี้
1. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
1.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
1.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางกชกานต์ คงชู
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยนายประเทือง อมรวิริยะชัย ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน13

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 23 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (คลองทรายขาว) จ.พัทลุง 1 ธ.ค. 2564 1 ธ.ค. 2564

 

เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม นายนฤมิต เส็นบัตร ประธานกองทุน ได้เปิดการประชุมและดำเนินการประชุมตามวาระดังนี้
1. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
1.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
1.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางกชกานต์ คงชู 3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยานางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 21 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (เขาหัวช้าง) จ.พัทลุง 1 ธ.ค. 2564 1 ธ.ค. 2564

 

เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม นายจุติพล ช่วยราชการ ประธานกองทุน ได้เปิดการประชุมและดำเนินการประชุมตามวาระดังนี้
1. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
1.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
1.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.3 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางกชกานต์ คงชู 3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยานางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานการณ์และเป้าหมายเป็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 28 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

การพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.ฉาง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา 3 ธ.ค. 2564 3 ธ.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนผู้จัดทำโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
1 การเขียนชื่อโครงการ/กิจกรรมกิจกรรมทางกาย 2. ชื่อองค์กร/หน่วยงานเสนอโครงการ 3. ชื่อกลุ่มคน (5 คน)/เบอร์โทรศัพท์ 4. พื้นที่ดำเนินการ 5. ความสอดคล้องกับแผนงาน 6. สถานการณ์ 7. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด 8. กลุ่มเป้าหมาย 9. ระยะเวลาดำเนินงาน 10. วิธีการดำเนินงาน/การออกแบบกิจกรรม 11. งบประมาณโครงการ 12. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา การกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการ ถูกต้องเหมาะสม

 

การพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.ขุนตัดหวาย อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 7 ธ.ค. 2564 7 ธ.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนผู้จัดทำโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน 1 การเขียนชื่อโครงการ/กิจกรรมกิจกรรมทางกาย 2. ชื่อองค์กร/หน่วยงานเสนอโครงการ 3. ชื่อกลุ่มคน (5 คน)/เบอร์โทรศัพท์ 4. พื้นที่ดำเนินการ 5. ความสอดคล้องกับแผนงาน 6. สถานการณ์ 7. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด 8. กลุ่มเป้าหมาย 9. ระยะเวลาดำเนินงาน 10. วิธีการดำเนินงาน/การออกแบบกิจกรรม 11. งบประมาณโครงการ 12. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา การกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการ ถูกต้องเหมาะสม

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (เขาย่า ) จ.พัทลุง 7 ธ.ค. 2564 7 ธ.ค. 2564

 

เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม นายไสว หนูคง เลขาฯกองทุน ได้เปิดการประชุมและดำเนินการประชุมตามวาระดังนี้
1. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
1.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
1.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
2.3 ผลลัพธ์โครงการ
ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน
- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางธมล มงคลศิลป์
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยานางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม  ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 25 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (ลำปำ) จ.พัทลุง 7 ธ.ค. 2564 7 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุมตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางกชกานตื คงชู
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยนางธมล มงคลศิลป์ ด้วยกระบวนการดังนี้ 4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 22 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

การพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ทต.บ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 8 ธ.ค. 2564 8 ธ.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนผู้จัดทำโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน 1 การเขียนชื่อโครงการ/กิจกรรมกิจกรรมทางกาย 2. ชื่อองค์กร/หน่วยงานเสนอโครงการ 3. ชื่อกลุ่มคน (5 คน)/เบอร์โทรศัพท์ 4. พื้นที่ดำเนินการ 5. ความสอดคล้องกับแผนงาน 6. สถานการณ์ 7. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด 8. กลุ่มเป้าหมาย 9. ระยะเวลาดำเนินงาน 10. วิธีการดำเนินงาน/การออกแบบกิจกรรม 11. งบประมาณโครงการ 12. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา การกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการ ถูกต้องเหมาะสม

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (เมืองพัทลุง) จ.พัทลุง 8 ธ.ค. 2564 8 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม ตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
    2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางกชกานต์ คงชู
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดย นางธมล มงคลศิลป์  ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 19 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (ชัยบุรี) จ.พัทลุง 8 ธ.ค. 2564 8 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม ตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
    2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางกชกานต์ คงชู
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดย นางธมล มงคลศิลป์  ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 20 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

การพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.ตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 9 ธ.ค. 2564 9 ธ.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนผู้จัดทำโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน 1 การเขียนชื่อโครงการ/กิจกรรมกิจกรรมทางกาย 2. ชื่อองค์กร/หน่วยงานเสนอโครงการ 3. ชื่อกลุ่มคน (5 คน)/เบอร์โทรศัพท์ 4. พื้นที่ดำเนินการ 5. ความสอดคล้องกับแผนงาน 6. สถานการณ์ 7. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด 8. กลุ่มเป้าหมาย 9. ระยะเวลาดำเนินงาน 10. วิธีการดำเนินงาน/การออกแบบกิจกรรม 11. งบประมาณโครงการ 12. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา การกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการ ถูกต้องเหมาะสม

 

ประชุมพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย พชอ. บางกล่ำ กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา ครั้งที่ 1 9 ธ.ค. 2564 9 ธ.ค. 2564

 

เวลา กิจกรรม 12.40 -13.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุมติดตามและการวางแผนการดำเนินงาน คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย เขต 12 จังหวัดสงขลา
13.00 -14.00 น. ชี้แจงโครงการกิจกรรมทางกาย เขต 12 จังหวัดสงขลา
14.00 -15.00 น วางแผนการลงพื้นที่และการบริหารจัดการโครงการ

 

เกิดกลไกคณะทำงานการขับเคลื่อนโครงการกิจกรรมทางกาย
คณะทำงานพี่เลี้ยงจังหวัดสงขลา จำนวน 3 คน ประกอบด้วย
1. นางดวงใจ อ่อนแก้ว 2. นางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ 3. นางสกุลศิริ ศิริสงคราม เกิดคณะทำงานพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ กิจกรรมทางกาย พชอ.บางกล่ำ จำนวน 4 คน ประกอบด้วย
1. น.ส.กฤษณพร ไพบูลย์เกษมสุทธิ อบต. บางกล่ำ 2. นางธัญชนก สุขยะฤกษ์  อบต. แม่ทอม
3. นางสาวสุลียพร ศรีประไพ เทศบาลตำบลบ้านหาร 4. นางสาวสุพรรษา อุไรพันธ์ เทศบาลตำบลท่าช้าง - จากการติดตามและการเผ้าระวังสถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย โดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดลร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และกระทรวงสาธารณสุข ในช่วงปลายปี2562 สถานการณ์มลภาวะทางอากาศจากฝุ่นละออง PM 2.5 และการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต ทำให้สถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของคนไทยลดลง ร้อยละ 11.6 ผลจากการสำรวจพบว่าคนไทยมีพฤติกรรมเนือยนิ่งเพิ่มมากในชีวิตประจำวัน เช่น การนั่งหรือนอนดูโทรทัศน์ (ร้อยละ50 ) คุยคุยหรือประชุม (ร้อยละ 28.4) นั่งทำงานหรือนั่งเรียน (ร้อยละ 27.0) และนั่งเล่นเกม/นั่งเล่นโทรศัพท์มือถือ (ร้อยละ20.1) องค์การอนามัยโลกประมาณการว่าในแต่ละปีมีการเสียชีวิตของประชากรโลก 1.9ล้านคน มาจากการมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ ซึ่งการมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอสัมพันธ์กับการอ้วนภาวะลงพุง และการเจ็บป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อ(NCDS)

  • สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา (สปสช.) ร่วมกับสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส.ม.อ.) ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ดำเนินโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่(PA) ปี 2565 เขต 12 สงขลาขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการนำร่องพื้นที่ดำเนินงานกิจกรรมทางกายผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ มุ่งเน้นยุทธศาสตร์กิจกรรมทางกาย เกณฑ์ในการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ

  • กิจกรรมทางกายเป็นการเคลื่อนไหว หรือการออกแรงของร่างกายในการทำกิจกรรมรูปแบบต่างๆในชีวิตประจำวัน เช่น การทำงานบ้าน การเดินทาง การสันทนาการ และกีฬา การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ มีเกณฑ์ในการพิจารณา 2ประการ ได้แก่ (1) ระดับความหนักเบา (2) ระยะเวลาของการมีกิจกรรมทางกาย

  • กิจกรรมทางกายแบ่งระดับความหนักเบา หรือความแรง ได้ 3 ระดับ

  1. ระดับเบา เป็นการเคลื่อนไหวของร่างกายที่ไม่ทำให้รู้สึกเหนื่อย เช่น การยืน การเดินระยะสั้นๆ การทำงานบ้าน
  2. ระดับปานกลาง เป็นการเคลื่อนไหวหรือการออกแรงที่ทำให้รู้สึกเหนื่อย หัวใจเต้นเร็ว จับชีพจรได้ 120-150 ครั้ง/นาที เช่น การปั่นจักรยาน เดินเร็ว การเดินขึ้นลงบันได
  3. ระดับหนัก เป็นการเคลื่อนไหวหรือการออกแรงที่ทำให้รู้สึกเหนื่อยมาก จนไม่สามารถพูดเป็นประโยคได้ หัวใจเต้นเร็ว จับชีพจรได้มากกว่า 150ครั้งต่อนาที เช่น การยกของหนัก การขุดดินปลูกพืช การแบกหาม การเต้นแอโรบิค การวิ่งเร็ว เป็นต้น
  • การวางแผนการทำงานขับเคลื่อนกิจกรรมทางกายในพื้นที่ โดย นางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ พี่เลี้ยงกิจกรรมทางกายระดับจังหวัดสงขลา

  • กลุ่มเป้าหมาย กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ในอำเภอบางกล่ำ โดยกลไกกองทุนตำบล เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบงานกองทุน และผู้ขอโครงการ ไปดำเนินการเพิ่มกิจกรรมทางกายPA ให้กับประชาชนในพื้นที่โดยครอบคลุมทุกกลุ่มวัย ส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนมี PAเพิ่มขึ้น มีความรอบรู้ มีการจัดสภาพแวดล้อม พื้นที่สุขภาวะPA.ในชุมชนและมีกลไกขับเคลื่อนPA ประกอบด้วย กองทุนตำบล เครือข่ายกลุ่มต่างๆ
    การดำเนินโครงการ/กิจกรรมกองทุนนำร่อง พื้นที่อำเภอบางกล่ำ

    การดำเนินกิจกรรมตลอดปีงบประมาณ จะมีการจัดกิจกรรมทั้งหมด 6 ครั้ง
     ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินกิจกรรม
     ลงพื้นที่ ทำแผน 1 ครั้ง
     ลงพื้นที่พัฒนากองทุนละ โครงการ 1 ครั้ง  ลงพื้นที่ แนะนำการบันทึกกิจกรรม
     ลงพื้นที่ แนะนำการประเมินคุณค่าโครงการ
     ติดตามประเมินผลโครงการระดับจังหวัด ผ่าน ZOOM (นำเสนอโครงการเด่นระดับพื้นที่/คลิปสั้นนำเสนอ

เรื่องอื่นๆ นัดประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ขับเคลื่อนกิจกรรมทางกาย PA พชอ.บางกล่ำ วันที่ 23 ธันวาคม 2564

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (ดอนทราย) จ.พัทลุง 9 ธ.ค. 2564 9 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม นายมานพ ช่วยมณี ประธานคณะกรรมการ เปิดประชุมตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน
1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางธมล มงคลศิลป์
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 23 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (บ้านนา) จ.พัทลุง 9 ธ.ค. 2564 9 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม นายมนพพร เขมะวนิช เลขากองทุนเปิดประชุมตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน
1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางกชกานตื คงชู
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดยนางธมล มงคลศิลป์ ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 23 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

การพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.ท่าหมอไทร อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 13 ธ.ค. 2564 11 ธ.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนผู้จัดทำโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน

  1 การเขียนชื่อโครงการ/กิจกรรมกิจกรรมทางกาย

  2. ชื่อองค์กร/หน่วยงานเสนอโครงการ

  3. ชื่อกลุ่มคน (5 คน)/เบอร์โทรศัพท์

  4. พื้นที่ดำเนินการ

  5. ความสอดคล้องกับแผนงาน

  6. สถานการณ์

  7. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  8. กลุ่มเป้าหมาย

  9. ระยะเวลาดำเนินงาน

  10. วิธีการดำเนินงาน/การออกแบบกิจกรรม

  11. งบประมาณโครงการ

  12. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

 

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา การกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการ ถูกต้องเหมาะสม

 

การพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.จะโหนง อำเภอจะนะ 13 ธ.ค. 2564 13 ธ.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนผู้จัดทำโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
  1 การเขียนชื่อโครงการ/กิจกรรมกิจกรรมทางกาย
  2. ชื่อองค์กร/หน่วยงานเสนอโครงการ
  3. ชื่อกลุ่มคน (5 คน)/เบอร์โทรศัพท์
  4. พื้นที่ดำเนินการ
  5. ความสอดคล้องกับแผนงาน
  6. สถานการณ์
  7. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
  8. กลุ่มเป้าหมาย
  9. ระยะเวลาดำเนินงาน
  10. วิธีการดำเนินงาน/การออกแบบกิจกรรม
  11. งบประมาณโครงการ
  12. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย
ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา
การกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการ ถูกต้องเหมาะสม

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (เขาชัยสน) จ.พัทลุง 13 ธ.ค. 2564 13 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม นายนิยม นวลเกลี้ยง เลขาคณะกรรมการ เปิดประชุมตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน
1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
  2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางวลัยพร ด้วงคง
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดย นายประเทือง อมรวิริยะชัย ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 21 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (หานโพธิ์) จ.พัทลุง 13 ธ.ค. 2564 13 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม ตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางวลัยพร ด้วงคง
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดย นายประเทือง อมรวิริยะชัย ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน13

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 26 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

การพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.สะกอม อำเภอจะนะ 14 ธ.ค. 2564 14 ธ.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนผู้จัดทำโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน 1 การเขียนชื่อโครงการ/กิจกรรมกิจกรรมทางกาย 2. ชื่อองค์กร/หน่วยงานเสนอโครงการ 3. ชื่อกลุ่มคน (5 คน)/เบอร์โทรศัพท์ 4. พื้นที่ดำเนินการ 5. ความสอดคล้องกับแผนงาน 6. สถานการณ์ 7. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด 8. กลุ่มเป้าหมาย 9. ระยะเวลาดำเนินงาน 10. วิธีการดำเนินงาน/การออกแบบกิจกรรม 11. งบประมาณโครงการ 12. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา การกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการ ถูกต้องเหมาะสม

 

การพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.สะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ 14 ธ.ค. 2564 14 ธ.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนผู้จัดทำโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน 1 การเขียนชื่อโครงการ/กิจกรรมกิจกรรมทางกาย 2. ชื่อองค์กร/หน่วยงานเสนอโครงการ 3. ชื่อกลุ่มคน (5 คน)/เบอร์โทรศัพท์ 4. พื้นที่ดำเนินการ 5. ความสอดคล้องกับแผนงาน 6. สถานการณ์ 7. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด 8. กลุ่มเป้าหมาย 9. ระยะเวลาดำเนินงาน 10. วิธีการดำเนินงาน/การออกแบบกิจกรรม 11. งบประมาณโครงการ 12. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา การกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการ ถูกต้องเหมาะสม

 

อบรมจัดทำแผนกิจกรรมทางกาย จังหวัดสตูล 14 ธ.ค. 2564 5 ก.พ. 2565

 

  • แนวทางวิธีการปฏิบัติการจัดทำแผนสุขภาพกองทุน ประเด็น ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย(PA)
  • วางแผนการการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนกิจกรรมทางกาย  เพื่อการหนุนเสริมกองทุนตำบล 16 กองทุน ปี 65

 

แผนการการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนกิจกรรมทางกาย  เพื่อการหนุนเสริมกองทุนตำบล 16 กองทุน ปี 65 และกำหนดวันจัดกิจกรรมในการอบรมเชิงปฏิบัติการระบบการพัฒนาโครงการ Online ผ่านทาง Website กองทุน จังหวัดสตูลต่อไป

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (แพรกหา) จ.พัทลุง 14 ธ.ค. 2564 14 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุมนายชาติชาย ศรีหนูสุด ประธานกองทุน เปิดประชุมตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดย นายประเทือง อมรวิริยะชัย ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน13

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 20 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (ชะมวง) จ.พัทลุง 14 ธ.ค. 2564 14 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม ตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดย นายประเทือง อมรวิริยะชัย ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน13

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 18 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)1

 

การพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.น้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 15 ธ.ค. 2564 15 ธ.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนผู้จัดทำโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน

1 การเขียนชื่อโครงการ/กิจกรรมกิจกรรมทางกาย

  1. ชื่อองค์กร/หน่วยงานเสนอโครงการ

  2. ชื่อกลุ่มคน (5 คน)/เบอร์โทรศัพท์

  3. พื้นที่ดำเนินการ

  4. ความสอดคล้องกับแผนงาน

  5. สถานการณ์

  6. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  7. กลุ่มเป้าหมาย 9. ระยะเวลาดำเนินงาน

  8. วิธีการดำเนินงาน/การออกแบบกิจกรรม

  9. งบประมาณโครงการ

  10. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

 

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา การกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการ ถูกต้องเหมาะสม

 

ประชุมวางแผน และชี้แจงวัตถุประสงค์ แนวทางการทำงานในพื้นที่ เพื่อการหนุนเสริมกองทุนตำบล 18 กองทุน ปี 65 จ.ยะลา 15 ธ.ค. 2564 15 ธ.ค. 2564

 

การประชุมได้มีการเรียนเชิญตัวแทนเจ้าหน้าทีผู้รับผิดชอบกองทุนสุขภาพตำบล กองทุนละ 3 ท่าน โดยมีเจ้าหน้าทีรับผิดชอบกองทุน เจ้าหน้าที คีย์ข้อมูล และกรรมการกองทุน และเข้าร่วม ทั้งหมด 18 กองทุน ในพื้นทีจังหวัดยะลา ซึ่งกกระบวนการอบรม โดยจัด 1 วัน ซึ่งมีกระบวนการ ดังนี้ 1. เริ่มด้วยการกล่าวต้อนรับและชี้แจ้งวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงาน
2.วิทยากรให้ความรู้ ประเด็นการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย PA
3.อธิบายแนวทางการจัดทำแผนสุขภาพตำบล แผนกิจกรรมทางกาย
4.ฝึกปฎิบัติการจัดแผนและทบทวนแผนกิจกรรมทางกายผ่านเว็บไซต์ 4.นำเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /สรุปผล
5.ชี้แจ้งแนวทางการดำเนินงานต่อไป

 

1.ผู้รับชอบกองทุนสุขภาพตำบลมีความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2.ผู้รับผิดชอบกองทุนสุขภาพตำบล มีทักษะ สามารถจัดทำแผนกิจกรรมทางกาย

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (หารเทา) จ.พัทลุง 15 ธ.ค. 2564 14 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม ตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนายเสงี่ยม ศรีทวี
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดย นายประเทือง อมรวิริยะชัย ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 17 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

การพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.ป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 16 ธ.ค. 2564 16 ธ.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนผู้จัดทำโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน
  1 การเขียนชื่อโครงการ/กิจกรรมกิจกรรมทางกาย
  2. ชื่อองค์กร/หน่วยงานเสนอโครงการ
  3. ชื่อกลุ่มคน (5 คน)/เบอร์โทรศัพท์
  4. พื้นที่ดำเนินการ
  5. ความสอดคล้องกับแผนงาน
  6. สถานการณ์
  7. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
  8. กลุ่มเป้าหมาย
  9. ระยะเวลาดำเนินงาน
  10. วิธีการดำเนินงาน/การออกแบบกิจกรรม
  11. งบประมาณโครงการ
  12. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

 

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย

ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา

การกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการ ถูกต้องเหมาะสม

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (นาโหนด) จ.พัทลุง 16 ธ.ค. 2564 17 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม ตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนางกชกานต์ คงชู
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดย นางธมล มงคลศิลป์ ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหนกช

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 21 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (คลองเฉลิม) จ.พัทลุง 16 ธ.ค. 2564 17 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม ตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย นายอารีด พลนุ้ย
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดย นายประเทือง อมรวิริยะชัย ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 23 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

การพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.เกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา 17 ธ.ค. 2564 17 ธ.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนผู้จัดทำโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน 1 การเขียนชื่อโครงการ/กิจกรรมกิจกรรมทางกาย 2. ชื่อองค์กร/หน่วยงานเสนอโครงการ 3. ชื่อกลุ่มคน (5 คน)/เบอร์โทรศัพท์ 4. พื้นที่ดำเนินการ 5. ความสอดคล้องกับแผนงาน 6. สถานการณ์ 7. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด 8. กลุ่มเป้าหมาย 9. ระยะเวลาดำเนินงาน 10. วิธีการดำเนินงาน/การออกแบบกิจกรรม 11. งบประมาณโครงการ 12. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา การกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการ ถูกต้องเหมาะสม

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (ทุ่งนารี) จ.พัทลุง 17 ธ.ค. 2564 17 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 09.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม ตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยนายประเทือง อมรวิริยะชัย
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี  ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 2ึ7 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

ก.2 สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกองทุน ภาคีผู้รับทุน และกระบวนการจัดทำแผนงาน PA (ฝาละมี) จ.พัทลุง 17 ธ.ค. 2564 17 ธ.ค. 2564

 

  1. เวลา 13.00 น. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม ตามกำหนดการดังนี้
  2. ชี้แจงสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ โดยนายสมนึก นุ่นด้วง
    2.1 ที่มาของโครงการเพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายแก้ไขปัญหาภาวะเนือยนิ่งในภาวะโรคโควิดระบาด เพื่อยกระดับการทำแผนที่มีคุณภาพที่ส่วนประกอบของ สถานการณ์ เป้าหมาย แนวทาง งบประมาณ โครงการที่ควรดำเนินการ และกลุ่ม องค์กร หน่วยงานที่จะดำเนินการ และพัฒนาโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์
    2.2 กิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่1 ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน 32 คน/กองทุน เลขา/ผู้แทน พชอ 4 อำเภอ
    กิจกรมที่ 2 ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการกองทุน ภาคีผู้ขอรับทุนในพื้นที่ และปฏิบัติการจัดทำแผน กลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการกองทุน เจ้าหน้าผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้ขอรับทุน ทั้ง 32 กองทุน
    กิจกรมที่ 3 อบรมเชิงปฏิบัติการ กระบวนการพัฒนาโครงการ PA ระดับแม่ข่าย 4 กองทุน จำนวน 8 ครั้ง (รวม 32 กองทุน) การปฏิบัติการพัฒนาโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การลงรายงายการติดตามโครงการ 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนรายงานติดตามโครงการ 4 ชั่วโมง เรียนรู้การประเมินผล 2 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับทุนโครงการ PA เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุน เป็น Fa กลุ่ม
    กิจกรมที่ 5 ประชุมพี่เลี้ยงโครงการสรุปผลการดำเนินงานคัดเลือกกองทุนต้นแบบ โครงการต้นแบบ
    กิจกรมที่ 6 ประชุมถอดบทเรียน เขียนข้อเสนอเชิงนโยบาย กลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 8 คน ผู้รับทุนโครงการ PA ต้นแบบจาก 8เครือข่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนต้นแบบ 8เครือข่าย ผู้แทนกรรมการ พชอ. 4 อำเภอ(ควนขนุน/เขาชัยสน/กงหรา/ศรีนครินทร์)
    2.3 ผลลัพธ์โครงการ
    ระดับ กรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบ และผู้ขอรับทุน

- รู้และเข้าใจการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- การจัดทำแผนงาน - การพัฒนาโครงการ
- การติดตาม(การรายงานผลโครงการ)
- การประเมินผลโครงการ วิเคราะห์สรุปผล /สังเคราะห์บทเรียน/ ทบทวนปรับแผน /พัฒนางาน
ระดับกองทุน 1. มีแผนกิจกรรมทางกาย (สถานการณ์-เป้าหมาย-โครงการที่ควรจะทำ)
2. มีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย(เพิ่มความรู้-เพิ่มการเคลื่อนไหว-เพิ่มการทำงาน-เพิ่มนันทนาการ)
3. มีการติดตามประเมินผล (ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระดับตำบล/อำเภอ
ระดับอำเภอนำร่อง
1. มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2. มีแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายมีโครงการเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย( พชอ.มอบนโยบายให้หน่วยงานเขียนโครงการของบกองทุน)
3. มีการติดตามประเมินผล(ในกลุ่มอายุ /โครงการต้นแบบ/นวัตกรรม)
4. มีการติดตามประเมินผล วิเคราะห์แนวโน้มจากสถานการณ์ จากรายงานผลโครงการใน website
2.4 นวัตกรรม มีโครงการต้นแบบ มีกองทุนต้นแบบ
3. ให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดย นายประเทือง อมรวิริยะชัย
3.1 เกณฑ์กิจกรรมทางกายเพียงพอ ใน 4 กลุ่มอายุ
3.2 สถานการณ์กิจกรรมทางกายของคนไทย
3.3 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
3.4 แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลสภานะการกิจกรรมทางกาย

4. ปฏิบัติการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วิทยากรโดยคณะทำงาน 3 คน >ได้แผนกิจกรรมทางกาย ที่ใช้เป็นต้นแบบในการทำแผนงานอื่นๆ โดย นายเสงี่ยม ศรีทวี  ด้วยกระบวนการดังนี้
4.1 แนะนำเว็บไซต์กองทุน แถบเมนูที่ควรรู้
4.2 การกำหนดข้อมูลสถานการณ์ในแผนงานกิจกรรมทางกาย ทั้ง 8 ประเด็นในแผนงาน
4.3 การได้มาซึ่งข้อมูลสถานการณ์ในแต่ละประเด็น (ข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ข้อมูลจาก รพสต. /ข้อมูลจากสถานการณ์ระดับอำเภอหรือจังหวัด )โดยมีพี่เลี้ยงวิทยากรร่วม ช่วยกระตุ้นให้ได้ข้อมูล
4.4 การกำหนดเป้าหมาย ที่ประชุมร่วมกันกำหนดเป้าหมาย
4.5 การกำหนดวงเงิน
4.6 การกำหนดองค์กร หน่วยงาน กลุ่มคน ผู้ทำโครงการ
4.7 การกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ เพื่อการสื่อสารถึงผู้ที่จะเขียนโครงการได้ตรงไปตรงมา ให้สามารถเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงได้ชัดก่อนตัดสินใจเขียนโครงการ จึงให้ใช้วัตถุประสงค์ในแต่ละประเด็นกำหนดเป็นโครงการ และใช้ระยะห่างระหว่างสถานดการณ์และเป้าหมายเก็นเกณฑ์หลักในการเลือกประเด็นไหน

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 23 คน
ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและให้ความร่วมปฏิบัติการจัดทำแผนงานจนเสร็จ(สถานการณ์ /เป้าหมาย /งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ)

 

การพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อบต.นาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 18 ธ.ค. 2564 18 ธ.ค. 2564

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ตัวแทนผู้จัดทำโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล โดยได้ร่วมกัน 1 การเขียนชื่อโครงการ/กิจกรรมกิจกรรมทางกาย 2. ชื่อองค์กร/หน่วยงานเสนอโครงการ 3. ชื่อกลุ่มคน (5 คน)/เบอร์โทรศัพท์ 4. พื้นที่ดำเนินการ 5. ความสอดคล้องกับแผนงาน 6. สถานการณ์ 7. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด 8. กลุ่มเป้าหมาย 9. ระยะเวลาดำเนินงาน 10. วิธีการดำเนินงาน/การออกแบบกิจกรรม 11. งบประมาณโครงการ 12. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา การกำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการ ถูกต้องเหมาะสม

 

ประชุมพัฒนากลไกการทำงานของกองทุนตำบลนำร่อง จังหวัดปัตตานี 21 ธ.ค. 2564 22 ธ.ค. 2564

 

พัฒนากลไกการทำงานของกองทุนตำบลนำร่อง จำนวน 12 กองทุน
1. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานพี่เลี้ยง 2. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง พัฒนาโครงการ และติดตามประเมิน 3. ฝึกปฏิบัติการระบบการพัฒนาโครงการ Online ผ่านทาง Website ประกอบด้วย- เจ้าหน้าที่/ผู้รับผิดชอบกองทุนฯ อำเภอหนองจิก /อำเภอเมือง/อำเภอยะหริ่ง
- ผู้รับงบจากกองทุนตำบล ๆ ละ 3 คน - พี่เลี้ยงกองทุนตำบลจำนวน 12 คน - จนท.คีย์ข้อมูล 12 คน

 

สามารถพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง ผู้รับงบประมาณ ให้ลงข้อมูลผ่านทาง Website เกี่ยวกับแผนงานกิจกรรมทางกาย  การเขียนโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุนในพื้นที่ตัวเองได้ เวลา 9.00  นายมะรอกี  เวาะเลง พี่เลี้ยงจังหวัดปัตตานี ได้กล่าวต้อนรับและชี้แจงรายละเอียดที่มาของแผนงานกิจกรรมทางกาย ของจังหวัดปัตตานี           เวลา 9.15 น.นายอับดุลรอซัค กุลตามาและนายฮาริส  กาซอ พี่เลี้ยงระดับจังหวัด สอนวิธีการลงแผนงาน PA ผ่านเว็บไซต์แต่ช่วงเวลา 9:15  น. จนถึงเวลา 12:00 น

  เวลา 13.30  ช่วงภาคบ่ายวิทยากรให้ผู้รับการอบรมและฝึกการเขียนโครงการแผนงาน PA และให้สามารถลงเว็บไซต์ได้ โดยมีวิทยากรคอยให้คำปรึกษาและแนะนำ สุดท้ายก่อนจะปิดการประชุมได้ให้ทุกกองทุนสามารถลงแผนงาน PA และเขียนโครงการ ของบประมาณในกองทุนตัวเองให้แล้วเสร็จภาย ในวันที่ 31 มกราคม 2565 โดยมีพี่เลี้ยงช่วยตรวจสอบและเช็คความเรียบร้อย

          เวลา 16.00 นายมะรอกี  เวาะเลง พี่เลี้ยงจังหวัดปัตตานี กล่าวขอบคุณและปิดการประชุม

 

ก.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายรุ่นที่ 1 จ.พัทลุง 21 ธ.ค. 2564 21 ธ.ค. 2564

 

08.00-09.00 กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม
            กองทุนตำบลโตนดด้วน อ.ควนขนุน
            กองทุนตำบลชะมวง อ.ควนขนุน
            กองทุนตำบลพนมวังก์ อ.ควนขนุน
            กองทุนตำบลแพรกหา อ.ควนขนุน
            กองทุนตำบลบ้านสวน อ.ควนขนุน
            กองทุนตำบลเขาย่า อ.ศรีบรรพต
            กองทุนตำบลปันแต อ.ควนขนุน
            กองทุนตำบลแหลมโตนด อ. ควนขนุน

09.00-10.00 ทบทวน สร้างความเข้าใจการเขียนโครงการผ่านเว็บ โครงการต้องตอบ 4 คำถามตามหลักการบริหารแผนงาน/โครงการ
      การออกแบบวิธีการดำเนินงานโดยใช้กรอบแนวคิดปัจจัยกำหนดสุขภาพ
      การเลือกสถานการณ์ให้สอดคล้องในระดับตำบล ในระดับหมู่บ้าน
      การกำหนดเป้าหมายที่เป็นส่วนขาด PA ไม่เพียงพอ
      การคิดคำนวณกลุ่มเป้าหมาย PA ไม่เพียงพอเข้าร่วมโครงการ ให้ได้จำนวนตามอัตราที่ตั้งไว้เป็นเป้าหมายของแผน       การเลือกแนวทาง กำหนดกิจกรรมเชิงกระบวนการสู่เป้าหมาย/ผลลัพธ์

10.45-12.00 แบ่งกลุ่มเขียนโครงการ โดยมีเจ้าหน้าที่กองทุนเป็น far กลุ่ม/กองทุน คณะทำงานเป็นพี่เลี้ยงเครือข่าย(4 กองทุน) วิทยากรหลักดำเนินการดังนี้       สร้างการเรียนรู้การเขียนโครงการผ่่นเว้บ การตั้งผู้เขียนโครงการให้เป็น Owner และเข้าสู่การพัฒนาโครงการ ตามลำดับ ชื่อโครงการ
      (ที่สื่อถึงกิจกรรม/ผลลัพธ์ พื้นที่ดำเนินการ) ผู้ขอรับทุน .............ความสอดคล้องกับแผน สถานการณ์ เป้าหมาย กลุ่มประชากร.....
      วิธีดำเนินการที่สอนให้เขียนให้ละเอียดให้ตอบใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร ตามด้วยงบประมาณที่ใช้แจงรายละเอียด
      ผลผลิต (ทำอะไรได้สิ่งนั้น ) ผลลัพธ์ (ประโยชน์อะไรจากผลผลิต) และผลที่คาดว่าจะได้รับ

13.00-16.00 เขียนโครงการต่อ กลุ่มที่เขียนเสร็จเริ่มนำเสนอโครงการ โดยมีวิทยากรชี้ให้เห็นจุดเด่น จุดด้วย และสิ่งที่ต้องปรับ ต้องเพิ่ม เพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน
      นำเสนอได้ 4 โครงการ ปิดการเรียนรู้ที่เวลา 16.00 น

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 8กองทุน 30 คน
คณะทำงาน 6 คน

ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจการพัฒนาโครงการจากแผนงาน
ทุกพื้นที่ได้โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ที่เน้นผลลัพธ์ มีกิจกรรมที่เป็นกระบวนการสู่ผลลัพธ์ อย่างน้อย 1 โครงการ
เจ้าหน้าที่กองทุนรู้ เข้าใจ สามารถเป็นพี่เลี้ยงแนะนำการเขียนโครงการเน้นผลลัพธ์ได้

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
มีกิจกรรมมากขึ้น และเป็นกระบวนการ มีการจัดการความรุ้/สภาพแวดล้อม มีกติกา มีกลไก

 

ก.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายรุ่นที่ 2 จ.พัทลุง 22 ธ.ค. 2564 22 ธ.ค. 2564

 

08.00-09.00 กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม
                กองทุนตำบลนาท่อม อ.เมืองพัทลุง
                กองทุนตำบลลำปำ อ.เมืองพัทลุง
                กองทุนเทศบาลเมืองพัทลุง
                กองทุนตำบลชัยบุรี อ.เมืองพัทลุง
                กองทุนตำบลนาโหนด อ.เมืองพัทลุง
                กองทุนตำบลหานโพธิ์ อ.เขาชัยสน
                กองทุนตำบลเขาชัยสน อ.เขาชัยสน
                กองทุนตำบลจองถนน อ.เขาชัยสน

09.00-10.00 ทบทวน สร้างความเข้าใจการเขียนโครงการผ่านเว็บ โครงการต้องตอบ 4 คำถามตามหลักการบริหารแผนงาน/โครงการ
            การออกแบบวิธีการดำเนินงานโดยใช้กรอบแนวคิดปัจจัยกำหนดสุขภาพ
            การเลือกสถานการณ์ให้สอดคล้องในระดับตำบล ในระดับหมู่บ้าน
            การกำหนดเป้าหมายที่เป็นส่วนขาด PA ไม่เพียงพอ
            การคิดคำนวณกลุ่มเป้าหมาย PA ไม่เพียงพอเข้าร่วมโครงการ ให้ได้จำนวนตามอัตราที่ตั้งไว้เป็นเป้าหมายของแผน             การเลือกแนวทาง กำหนดกิจกรรมเชิงกระบวนการสู่เป้าหมาย/ผลลัพธ์

10.45-12.00 แบ่งกลุ่มเขียนโครงการ โดยมีเจ้าหน้าที่กองทุนเป็น far กลุ่ม/กองทุน คณะทำงานเป็นพี่เลี้ยงเครือข่าย(4 กองทุน) วิทยากรหลักดำเนินการดังนี้             สร้างการเรียนรู้การเขียนโครงการผ่่นเว้บ การตั้งผู้เขียนโครงการให้เป็น Owner และเข้าสู่การพัฒนาโครงการ ตามลำดับ ชื่อโครงการ
            (ที่สื่อถึงกิจกรรม/ผลลัพธ์ พื้นที่ดำเนินการ) ผู้ขอรับทุน .............ความสอดคล้องกับแผน สถานการณ์  เป้าหมาย กลุ่มประชากร.....
            วิธีดำเนินการที่สอนให้เขียนให้ละเอียดให้ตอบใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร ตามด้วยงบประมาณที่ใช้แจงรายละเอียด
            ผลผลิต (ทำอะไรได้สิ่งนั้น ) ผลลัพธ์ (ประโยชน์อะไรจากผลผลิต) และผลที่คาดว่าจะได้รับ

13.00-16.00 เขียนโครงการต่อ กลุ่มที่เขียนเสร็จเริ่มนำเสนอโครงการ โดยมีวิทยากรชี้ให้เห็นจุดเด่น จุดด้วย และสิ่งที่ต้องปรับ ต้องเพิ่ม เพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน
            นำเสนอได้ 4 โครงการ ปิดการเรียนรู้ที่เวลา 16.00 น

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 8กองทุน 30 คน
คณะทำงาน 6 คน

ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจการพัฒนาโครงการจากแผนงาน
ทุกพื้นที่ได้โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ที่เน้นผลลัพธ์ มีกิจกรรมที่เป็นกระบวนการสู่ผลลัพธ์ อย่างน้อย 1 โครงการ
เจ้าหน้าที่กองทุนรู้ เข้าใจ สามารถเป็นพี่เลี้ยงแนะนำการเขียนโครงการเน้นผลลัพธ์ได้

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
มีกิจกรรมมากขึ้น และเป็นกระบวนการ มีการจัดการความรุ้/สภาพแวดล้อม มีกติกา มีกลไก

 

ก.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายรุ่นที่ 3 จ.พัทลุง 23 ธ.ค. 2564 24 ธ.ค. 2564

 

08.00-09.00 กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม
      กองทุนตำบลโคกม่วง อ.เขาชัยสน
      กองทุนตำบลเขาหัวช้าง อ.ตะโหมด
      กองทุนตำบลคลองเฉลิม อ.กงหรา
      กองทุนตำบลท่ามะเดื่อ อ.บางแก้ว
      กองทุนตำบลดอนทราย อ.ปากพะยูน
      กองทุนตำบลหารเทา อ.ปากพะยูน
      กองทุนตำบลทุ่งนารี อ.ป่าบอน
      กองทุนตำบลฝาละมี อ.ปากพะยูน

09.00-10.00 ทบทวน สร้างความเข้าใจการเขียนโครงการผ่านเว็บ โครงการต้องตอบ 4 คำถามตามหลักการบริหารแผนงาน/โครงการ
      การออกแบบวิธีการดำเนินงานโดยใช้กรอบแนวคิดปัจจัยกำหนดสุขภาพ
      การเลือกสถานการณ์ให้สอดคล้องในระดับตำบล ในระดับหมู่บ้าน
      การกำหนดเป้าหมายที่เป็นส่วนขาด PA ไม่เพียงพอ
      การคิดคำนวณกลุ่มเป้าหมาย PA ไม่เพียงพอเข้าร่วมโครงการ ให้ได้จำนวนตามอัตราที่ตั้งไว้เป็นเป้าหมายของแผน       การเลือกแนวทาง กำหนดกิจกรรมเชิงกระบวนการสู่เป้าหมาย/ผลลัพธ์

10.00-12.00 แบ่งกลุ่มเขียนโครงการ โดยมีเจ้าหน้าที่กองทุนเป็น far กลุ่ม/กองทุน คณะทำงานเป็นพี่เลี้ยงเครือข่าย(4 กองทุน) วิทยากรหลักดำเนินการดังนี้       สร้างการเรียนรู้การเขียนโครงการผ่่านเว็บ การตั้งผู้เขียนโครงการให้เป็น Owner และเข้าสู่การพัฒนาโครงการ ตามลำดับ ชื่อโครงการ
      (ที่สื่อถึงกิจกรรม/ผลลัพธ์ พื้นที่ดำเนินการ) ผู้ขอรับทุน .............ความสอดคล้องกับแผน สถานการณ์ เป้าหมาย กลุ่มประชากร.....
      วิธีดำเนินการที่สอนให้เขียนให้ละเอียดให้ตอบใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร ตามด้วยงบประมาณที่ใช้แจงรายละเอียด
      ผลผลิต (ทำอะไรได้สิ่งนั้น ) ผลลัพธ์ (ประโยชน์อะไรจากผลผลิต) และผลที่คาดว่าจะได้รับ

13.00-16.00 เขียนโครงการต่อ กลุ่มที่เขียนเสร็จเริ่มนำเสนอโครงการ โดยมีวิทยากรชี้ให้เห็นจุดเด่น จุดด้วย และสิ่งที่ต้องปรับ ต้องเพิ่ม เพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน
      นำเสนอได้ 4 โครงการ ปิดการเรียนรู้ที่เวลา 16.00 น

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 8กองทุน 30 คน
คณะทำงาน 6 คน

ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจการพัฒนาโครงการจากแผนงาน
ทุกพื้นที่ได้โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ที่เน้นผลลัพธ์ มีกิจกรรมที่เป็นกระบวนการสู่ผลลัพธ์ อย่างน้อย 1 โครงการ
เจ้าหน้าที่กองทุนรู้ เข้าใจ สามารถเป็นพี่เลี้ยงแนะนำการเขียนโครงการเน้นผลลัพธ์ได้

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
มีกิจกรรมมากขึ้น และเป็นกระบวนการ มีการจัดการความรุ้/สภาพแวดล้อม มีกติกา มีกลไก

 

ก.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายรุ่นที่ 4 จ.พัทลุง 24 ธ.ค. 2564 27 ธ.ค. 2564

 

08.00-09.00 กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม
            กองทุนตำบลชะรัด  อ.กงหรา
            กองทุนตำบลสมหวัง  อ.กงหรา
            กองทุนตำบลคลองทรายขาว อ.กงหรา
            กองทุนตำบลกงหรา  อ.กงหรา
            กองทุนตำบลชุมพล  อ.ศรีนครินทร์
            กองทุนตำบลลำสินธุ์ อ.ศรีนครินทร์
            กองทุนตำบลอ่างทอง อ.ศรีนครินทร์
            กองทุนตำบลบ้านนา อ.ศรีนครินทร์

09.00-10.00 ทบทวน สร้างความเข้าใจการเขียนโครงการผ่านเว็บ โครงการต้องตอบ 4 คำถามตามหลักการบริหารแผนงาน/โครงการ
            การออกแบบวิธีการดำเนินงานโดยใช้กรอบแนวคิดปัจจัยกำหนดสุขภาพ
            การเลือกสถานการณ์ให้สอดคล้องในระดับตำบล ในระดับหมู่บ้าน
            การกำหนดเป้าหมายที่เป็นส่วนขาด PA ไม่เพียงพอ
            การคิดคำนวณกลุ่มเป้าหมาย PA ไม่เพียงพอเข้าร่วมโครงการ ให้ได้จำนวนตามอัตราที่ตั้งไว้เป็นเป้าหมายของแผน             การเลือกแนวทาง กำหนดกิจกรรมเชิงกระบวนการสู่เป้าหมาย/ผลลัพธ์

10.00-12.00 แบ่งกลุ่มเขียนโครงการ โดยมีเจ้าหน้าที่กองทุนเป็น far กลุ่ม/กองทุน คณะทำงานเป็นพี่เลี้ยงเครือข่าย(4 กองทุน) วิทยากรหลักดำเนินการดังนี้             สร้างการเรียนรู้การเขียนโครงการผ่่านเว็บ การตั้งผู้เขียนโครงการให้เป็น Owner และเข้าสู่การพัฒนาโครงการ ตามลำดับ ชื่อโครงการ
            (ที่สื่อถึงกิจกรรม/ผลลัพธ์ พื้นที่ดำเนินการ) ผู้ขอรับทุน .............ความสอดคล้องกับแผน สถานการณ์  เป้าหมาย กลุ่มประชากร.....
            วิธีดำเนินการที่สอนให้เขียนให้ละเอียดให้ตอบใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร ตามด้วยงบประมาณที่ใช้แจงรายละเอียด
            ผลผลิต (ทำอะไรได้สิ่งนั้น ) ผลลัพธ์ (ประโยชน์อะไรจากผลผลิต) และผลที่คาดว่าจะได้รับ

13.00-16.00 เขียนโครงการต่อ กลุ่มที่เขียนเสร็จเริ่มนำเสนอโครงการ โดยมีวิทยากรชี้ให้เห็นจุดเด่น จุดด้วย และสิ่งที่ต้องปรับ ต้องเพิ่ม เพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน
            นำเสนอได้ 7 โครงการ/กองทุน ปิดการเรียนรู้ที่เวลา 16.00 น

 

ผลผลิต
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 8กองทุน 30 คน
คณะทำงาน 6 คน

ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายเข้าใจการพัฒนาโครงการจากแผนงาน
ทุกพื้นที่ได้โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ที่เน้นผลลัพธ์ มีกิจกรรมที่เป็นกระบวนการสู่ผลลัพธ์ อย่างน้อย 1 โครงการ
เจ้าหน้าที่กองทุนรู้ เข้าใจ สามารถเป็นพี่เลี้ยงแนะนำการเขียนโครงการเน้นผลลัพธ์ได้

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
มีกิจกรรมมากขึ้น และเป็นกระบวนการ มีการจัดการความรุ้/สภาพแวดล้อม มีกติกา มีกลไก

 

กิจกรรมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย พชอ. บางกล่ำ 25 ธ.ค. 2564 25 ธ.ค. 2564

 

กิจกรรมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย  พชอ. บางกล่ำ  กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา
วันพฤหัสบดี ที่ 25 ธันวาคม  2564  เวลา 13.00-16.30 น. ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom)

เวลา กิจกรรม 13.00-13.15 น. ลงทะเบียนผ่าน ZOOM 13.15 -13.30 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุมติดตามและการวางแผนการดำเนินงาน คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย เขต 12 จังหวัดสงขลา
13.30 -14.00 น. แนวทางการบริหารงานกองทุนฯ ปี 2565
14.00 -15.30 น การทำแผนและการพัฒนาโครงการด้านกิจกรรมทางกาย
15.30-16.30 น. แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ถาม-ตอบ

 

  • เกิดกลไกขับเคลื่อน PA ประกอบด้วย กองทุนตำบล เครือข่ายกลุ่มต่างๆ ในอำเภอบางกล่ำ โดยมีพื้นที่เข้าร่วม 4 พื้นที่ ดังนี้

 ทต.บ้านหาร

 ทต.ท่าช้าง

 อบต.แม่ทอม

 อบต.บางกล่ำ

  • พี่เลี้ยงระดับพื้นที่มีศักยภาพในการลงพื้นที่จัดทำแผนสุขภาพและขับเคลื่อนกิจกรรมทางกาย ได้ง่ายขึ้น
  • พี่เลี้ยงระดับพื้นที่ เรียนรู้เรื่องการทำเอกสารการเงินของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
  • เกิดการวางแผนการลงพื้นที่ทำแผนในเดือนมกราคม 2565

 

ประชุมคณะทำงานจังหวัดยะลา ครั้งที่ 2 31 ธ.ค. 2564 31 ธ.ค. 2564

 

ระเบียบวาระการประชุม
1.แนะนำทีมและพื้นที
2.แนะนำการใช้ระบบ 3.กระบวนการดำเนินกิจกรรมทีผ่านมา 4.แผนการดำเนินกิจกรรมต่อไป

 

สรุปการประชุมพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย PA  ครั้งที่ 2 จังหวัดยะลา วันที 31 ธันวาคม 2564
ณ.ห้องประชุม อเมซอน ผังเมือง 4 อ.เมือง จ.ยะลา ระเบียบวาระการประชุม
1.แนะนำทีมและพื้นที ซึ่งทางพี่เลี้ยงทีมยะลา ได้รับดึงพี่เลี้ยงคนใหม่ของพื้นที อำเภอรามันเจ้าหน้าที่นักพัฒนาชุมชน อบต.บาโงย คือ นางสาวนูรียะ๊  แทน เจ้าหน้าทีอบต.บือมัง ที่เคยรับที่จะมาเป็นพี่เลี้ยง PA ยะลา เนื่องจากพี่เลี้ยงคนเดิมไม่สะดวกที่จะเข้า ในการพัฒนากองทุนอื่นๆ 2.แนะนำการใช้ระบบ ทางคุณอิสมาแอล ได้ มีการแนะนำระบบของกองทุนสุขภาพตำบลสปสช.เพื่อในการใช้งานพัฒนาโครงการประเด็นกิจกรรมทางกาย PA  พร้อมกับการคัดเลือกพื้นที่ใหม่สำหรับพี่เลี้ยงในอำเภอรามัน พื้นที  18 กองทุน นำร่อง PA  จังหวัดยะลา อำเภอเมือง (มาเรียม : ทต.นครยะลา / ทต.สะเตงนอก / ทต.ยุโป) อำเภอกรงปินัง (นาร์ดิน : อบต.สะเอะ / อบต.ปุโรง / อบต.ห้วยกระทิง) อำเภอบันนังสตา ( แอ : อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ  /ทต.บันนังสตา / อบต.บาเจาะ) อำเภอรามัน ( รุสลาม : อบต. กอตอตือร๊ะ /อบต.กาลอ / อบต.ตะโละหะลอ)
อำเภอรามัน ( นูรียะ : อบต.บาโงย / อบต.เนินงาม / ทต.โกตาบารู) อำเภอเบตง (กะดะห์ : ทต.เบตง / อบต.อัยเยอรเวง / อบต.ยะรม) 3.กระบวนการดำเนินกิจกรรมทีผ่านมา จากการดำเนินกิจกรรมของการประชุมและชี้แจงวัตถุประสงค์ แนวทางการทำงานในพื้นที่ เพื่อการหนุนเสริมกองทุนตำบล 18  กองทุน ปี 65 ซึ่งได้มีการจัด วันที 15 ธ.ค.2564 จาก18 กองทุนที่เข้าร่วม ขาด 2 กองทุนในกลุ่มเป้าหมาย คือ 1.อบต.เนินงาม 2.อบต.บือมัง  ซึ่งมีกระบวนการพัฒนาต่อไปต้องให้ทางพี่เลี้ยงเข้าไปหนุนเสริมในการสร้างความเข้าใจในเรื่องของ PA ในแต่ละกองทุนโดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนกองทุนเป้าหมายใหม่ 4.แผนการดำเนินกิจกรรมต่อไป
ทางทีมพี่เลี้ยงจังหวัดยะลาในการจัดทำแผนการใช้งบประมาณและแผนกิจกรรมตลอดโครงการของ PA ในการเสริมกองทุนทั้ง 18 กองทุนด้วยพี่เลี้ยงจะแต่ละคนจะมีการรับผิดชอบคนละ 3 กองทุนในการส่งเสริม โดยจะมีการทำกิจกรรมในแต่ละรุ่นตามพื้นที่และอำเภอเพื่อความสะดวกในการจัดกิจกรรมออก

 

อบรมเชิงปฏิบัติการระบบการพัฒนาโครงการ online ผ่านระบบเวบไซค์ รุ่นที่ 1 18 ม.ค. 2565

 

 

 

 

 

อบรมเชิงปฏิบัติการระบบการพัฒนาโครงการ online ผ่านระบบเวบไซค์ รุ่นที่ 2 20 ม.ค. 2565

 

 

 

 

 

อบรมจัดพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในพื้นที่ อำเภอบางกล่ำจัดทำแผนและพัฒนาโครงการด้านกิจกรรมทางผ่านระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ ปี 2565 25 ม.ค. 2565 25 ม.ค. 2565

 

กำหนดการ กิจกรรม  ชี้แจงวัตถุประสงค์ที่มาและความสำคัญ โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ พี่เลี้ยงกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่(PA) ปี ๒๕๖๕
 บรรยายเรื่องการจัดทำแผน โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่(PA) ปี ๒๕๖๕ เขต ๑๒ สงขลา  พัฒนาแผนและโครงการในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านหาร

 

การทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านหาร มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีเทศบาลตำบลบ้านหารเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในตำบลบ้านหารเข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านหาร นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมของเทศบาลตำบลบ้านหารให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในตำบลบ้านหารแล้ว ยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในตำบลบ้านหารได้แสดงต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง และการสร้างกลไกในสังคม ที่จะต้องเข้ามาร่วมแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ สรุปแผนกองทุน การเงินปี 65 ที่นำเสนอวันก่อน แผนการเงินประจำปีงบประมาณ 2565 กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบ้านหาร 1.เงินคงเหลือยกมา จำนวน 151,372.19 บาท
2.เงินโอนจาก สปสช. จำนวน 179,820.00 บาท 3.เงินสมทบจาก อปท. จำนวน  71,928.00 บาท
4.รายได้อื่นๆ จำนวน    0.00 บาท
รวมเงิน จำนวน 403,120.19 บาท

 

อบรมเชิงปฏิบัติการระบบการพัฒนาโครงการ Online ผ่านทาง Website รุ่นที่ 3 อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา 25 ม.ค. 2565 25 ม.ค. 2565

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำพัฒนาโครงการผ่านระบบกองทุนในประเด็น ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล และผู้ข้อรับทุนโครงการในแต่ละกองทุน โดยจะมีกระบวนการโดย
1.เริ่มด้วยการกล่าววัตถประสงค์ และให้ผู้เข้าร่วมออกกำลังกาย
2.การอธิบายให้ความรู้ การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย PA  มีมากกว่าการออกกำลังกาย 3.ทบทวน สร้างความเข้าใจการเขียนโครงการ ในการขอสนับสนุนของกองทุนส่งเสริมสุขภาพตำบล 4.ฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ แบ่งกลุ่มเขียนโครงการ โดยมีเจ้าหน้าที่กองทุนเป็น facilitator กลุ่ม/กองทุน และคณะทำงานเป็นพี่เลี้ยง 4.นำเสนอโครงการ พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปผล และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป

 

  1. ผู้รับทุนกองทุนสุขภาพตำบลมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  2. ผู้ขอรับทุนกองทุนสุขภาพตำบล มีทักษะ สามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา
    3.ในการพัฒนาโครงการในกองทุนสุขภาพตำบล ในพื้นที อำเภอกรงปินัง  มี 3 กองทุนเข้าร่วม คือ 4.กองทุนสุขภาพตำบลสะเอะ 2.กองทุนสุขภาพตำบลปุโรง  3.กองทุนสุขภาพตำบลห้วยกระทิง 5.สำหรับผู้ขอรับทุนที่เข้าร่วม ในครั้งนี้ มีกลุ่ม 1.สภาเด็กและเยาวชนตำบล  2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  3.ศูนย์ฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 4.ชมรมกลุ่มสตรี 5.ชมรม อสม. 6.กลุ่มองค์กรภาคประชาชน

 

อบรมเชิงปฏิบัติการระบบการพัฒนาโครงการ Online ผ่านทาง Website รุ่นที่ 1 อำเภอรามัน จังหวัดยะลา 26 ม.ค. 2565 16 มี.ค. 2565

 

ประชุมคณะทำงาน
กำหนดแผนในการกำหนดกิจกรรม ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่ได้วางไว้ ประเมินและติดตามผลการดำเนินกิจกรรม

 

มีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย - ทีมพี่เลี้ยงจังหวัด จำนวน 3 คน - จนท.ผู้รับผิดชอบงานกองทุนละ1 คน * 3กองทุน จำนวน 3 คน
- จนท.คีย์ข้อมูลกองทุนกองทุนละ1 คน * 3กองทุน จำนวน 3 คน - ผู้ขอรับทุนจำนวน กองทุนละ 3 คน3 กองทุน  = 9  คน ร่วม กองทุนละ 5 คน3 กองทุน +พี่เลี้ยง 3 คน = 18 คน

 

อบรมจัดพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในพื้นที่ อำเภอบางกล่ำจัดทำแผนและพัฒนาโครงการด้านกิจกรรมทางผ่านระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลท่าช้างอำเภอบางกล่ำ ปี 2565 27 ม.ค. 2565 27 ม.ค. 2565

 

กำหนดการ เวลา กิจกรรม

13.30-14.00 น.  ลงทะเบียนและรับเอกสาร

14.00-14.30 น.  ชี้แจงวัตถุประสงค์ที่มาและความสำคัญ โดยนางสกุลศิริ ศิริสงคราม

14.30-15.30 น.  แนวทางการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกาย โดยนางสกุลศิริ ศิริสงคราม

15.30-15.45 น.  พักเบรค

15.45-16.30 น.  แลกเปลี่ยน-ข้อสักถามและสรุปปิดประชุม

 

ซึ่งมีโครงการที่สามารถพัฒนาเป็นโครงการด้านกิจกรรมทางกายได้ดังนี้ โครงการไหนที่สามารถนำเข้ากิจกรรมทางกายได้
1. โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนวัดเนินพิชัย”ในโครงการมีกิจกรรม big cleaning day ทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม มีแผนที่จะเขียนโครงการเกี่ยวกับกิจกรรมทางกายเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าช้าง นอกจากนี้ทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมยังมีโครงการอื่นที่ไม่ได้ใช้งบประมาณ และใช้งบประมาณของเทศบาล การทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าช้าง มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีเทศบาลตำบลท่าช้างเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในตำบลท่าช้างเข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าช้าง นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมของเทศบาลตำบลท่าช้างให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในตำบลท่าช้างแล้ว ยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในตำบลท่าช้างได้แสดงต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง และการสร้างกลไกในสังคม ที่จะต้องเข้ามาร่วมแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ สรุปแผนกองทุน การเงินปี 65 ที่นำเสนอวันก่อน

แผนการเงินประจำปีงบประมาณ 2565 กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบล/เทศบาลตำบลท่าช้าง

1.เงินคงเหลือยกมาจากปี 2564 จำนวน 1,190,701.80 บาท
2.เงินโอนจาก สปสช. จำนวน  997,380.00 บาท 3.เงินสมทบจาก อปท. จำนวน  498,690.00 บาท     รวมเงิน จำนวน 2,686,771.80 บาท


รายละเอียดโดยแบ่งตาม 5 ประเภท ประเภท 10 (1) 10 (2) 10 (3) 10(4) 10 (5) รวมเงิน 188,530 1,512,929 155,801 299,214 530,297.80 2,686,771.80 จ่ายไปแล้ว 439,200 524,000
คงเหลือ 1,073,729 6,297.80
หมายเหตุ การคำนวณ 10 (4) ให้คิดจาก ข้อ 2-4 ไม่รวมเงินคงเหลือยกมา

 

อบรมเชิงปฏิบัติการระบบการพัฒนาโครงการ Online ผ่านทาง Website รุ่นที่ 2 อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 28 ม.ค. 2565 15 ก.พ. 2565

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำพัฒนาโครงการผ่านระบบกองทุนในประเด็น ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล และผู้ข้อรับทุนโครงการในแต่ละกองทุน โดยจะมีกระบวนการโดย 1.เริ่มด้วยการกล่าววัตถประสงค์ และให้ผู้เข้าร่วมออกกำลังกาย 2.การอธิบายให้ความรู้ การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย PA  มีมากกว่าการออกกำลังกาย 3.ทบทวน สร้างความเข้าใจการเขียนโครงการ ในการขอสนับสนุนของกองทุนส่งเสริมสุขภาพตำบล 4.ฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ แบ่งกลุ่มเขียนโครงการ โดยมีเจ้าหน้าที่กองทุนเป็น facilitator กลุ่ม/กองทุน และคณะทำงานเป็นพี่เลี้ยง 4.นำเสนอโครงการ พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปผล และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป

 

ผู้รับทุนกองทุนสุขภาพตำบลมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผู้ขอรับทุนกองทุนสุขภาพตำบล มีทักษะ สามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา 3.ในการพัฒนาโครงการในกองทุนสุขภาพตำบล ในพื้นที อำเภอเมืองยะลา มี 3 กองทุนเข้าร่วม คือ 4.กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลยุโป 2.กองทุนสุขภาพเทศบาลสะเตงนอก3.กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครยะลา 5.สำหรับผู้ขอรับทุนที่เข้าร่วม ในครั้งนี้ มีกลุ่ม 1.ชมรม อสม 2. ชมรมไทเก๊ก 3.กองสาธารณสุขเทศบาล 4.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศพด.5.ชมรมผู้สูงอายุ

 

อบรมเชิงปฏิบัติการระบบการพัฒนาโครงการ Online ผ่านทาง Website รุ่นที่ 4 อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา 31 ม.ค. 2565 31 ม.ค. 2565

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำพัฒนาโครงการผ่านระบบกองทุนในประเด็น ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล และผู้ข้อรับทุนโครงการในแต่ละกองทุน โดยจะมีกระบวนการโดย
1.เริ่มด้วยการกล่าววัตถประสงค์ และให้ผู้เข้าร่วมออกกำลังกาย
2.การอธิบายให้ความรู้ การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย PA มีมากกว่าการออกกำลังกาย 3.ทบทวน สร้างความเข้าใจการเขียนโครงการ ในการขอสนับสนุนของกองทุนส่งเสริมสุขภาพตำบล 4.ฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ แบ่งกลุ่มเขียนโครงการ โดยมีเจ้าหน้าที่กองทุนเป็น facilitator กลุ่ม/กองทุน และคณะทำงานเป็นพี่เลี้ยง 4.นำเสนอโครงการ พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปผล และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป

 

  1. ผู้รับทุนกองทุนสุขภาพตำบลมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  2. ผู้ขอรับทุนกองทุนสุขภาพตำบล มีทักษะ สามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา
    3.ในการพัฒนาโครงการในกองทุนสุขภาพตำบล ในพื้นที อำเภอบันนังสตา มี 3 กองทุนเข้าร่วม คือ 4.กองทุนสุขภาพตำบลบาเจาะ 2.กองทุนสุขภาพตำบลตาเนาะปูเต๊ะ 3.กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลบันนังสตา 5.สำหรับผู้ขอรับทุนที่เข้าร่วม ในครั้งนี้ มีกลุ่ม 1.ชมรม อสม 2. ครูโรงเรียนตาดีกา 3.กองสาธารณสุข อบต. 4.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศพด.

 

อบรมจัดพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในพื้นที่ อำเภอบางกล่ำจัดทำแผนและพัฒนาโครงการด้านกิจกรรมทางผ่านระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. แม่ทอม อำเภอบางกล่ำ ปี 2565 7 ก.พ. 2565 7 ก.พ. 2565

 

เวลา กิจกรรม 13.30-14.30 น.  ชี้แจงวัตถุประสงค์ที่มาและความสำคัญ โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ พี่เลี้ยงกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่(PA) ปี 2565
14.30-15.30 น.  บรรยายเรื่องการจัดทำแผน โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่(PA) ปี 2565 เขต 12 สงขลา 15.30-16.30 น.  พัฒนาแผนและโครงการในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.แม่ทอม

 

การทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.แม่ทอมมุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีอบต.แม่ทอมเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงานองค์กรและภาคีเครือข่ายในตำบลบ้านหารเข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.แม่ทอม นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมของอบต.แม่ทอมให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในตำบลแม่ทอมแล้วยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในตำบลแม่ทอมได้แสดงต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง และการสร้างกลไกในสังคม ที่จะต้องเข้ามาร่วมแก้ปัญหาต่าง ๆที่มีผลต่อสุขภาพ โดยในส่วนของแผนการเงินประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองทุนฯ ได้จัดทำไปแล้วและนำเข้าที่ประชุม เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2564 แต่เนื่องจากเมื่อเดือนมกราคม กองทุนฯ ได้รับเงินคืนจากโครงการเมื่อปี 2564 จำนวน 15,720 บาท ประกอบกับได้มีกลุ่ม องค์กรในตำบลแม่ทอม ได้จัดส่งโครงการเพิ่มเติมมาซึ่งเป็นโครงการเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย ทางกองทุนฯ จึงจะดำเนินการปรับปรุงแผนการเงิน โดยจะนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการในเดือนนี้ ซึ่งแผนการเงินที่จะปรับปรุง มีรายละเอียดดังนี้

แผนการเงินประจำปีงบประมาณ 2565 ปรับปรุง ครั้งที่ 1/2565 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.แม่ทอม 1.เงินคงเหลือยกมา จำนวน 97,708.76 บาท 2.เงินโอนจาก สปสช. จำนวน 102,600.00 บาท 3.เงินสมทบจาก อปท. จำนวน 50,000.00 บาท 4.รายได้อื่นๆ จำนวน 15,720.00 บาท รวมเงิน จำนวน 266,028.76 บาท

10 (1) 10 (2) 10 (3) 10(4) 10 (5) รวมเงิน 34,450 125,505 13,346 27,000 65,720 266,021 หมายเหตุ การคำนวณ 10 (4) ให้คิดจาก ข้อ 2-4 ไม่รวมเงินคงเหลือยกมา

ซึ่งมีโครงการที่สามารถพัฒนาเป็นโครงการด้านกิจกรรมทางกายได้ดังนี้ โครงการไหนที่สามารถนำเข้ากิจกรรมทางกายได้
1. โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการร้อง เล่นเพลงเรือแหลมโพธิ์แม่ทอมเพื่อสุขภาพ 2. โครงการส่งเสริมการกำจัดลูกน้ำยุงลาย แก้ปัญหาโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2565 3. โครงการแม่ทอมร่วมใจห่างไกลยาเสพติด ปี 2565

 

ประชุมติดตามแผนกิจกรรมทางกายและแผนโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองบ้านพรุ ผ่าน ZOOM 21 ก.พ. 2565 22 เม.ย. 2565

 

ติดตามแผนแผนกองทุนฯ และการพัฒนาแผนกองทุนฯ เทศบาลตำบลบ้านพรุ ในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา วันจันทร์ ที่ 21 กุมภาพันธุ์  2565 เวลา 13.00 -16.30 น. ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่าน line meeting (https://line.me/R/meeting/8c3597802d8945d1972234f7fa01bf64) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อชี้แจงแนวการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ผ่านแผนกิจกรรมทางกาย 2. เพื่อจัดทำแผนและทบทวนแผนงานกองทุนฯ และพัฒนาโครงการในระบบกองทุนตำบล และแผนสุขภาพในพื้นที่

กำหนดการ เวลา กิจกรรม 13.00-14.00 น.  แนวทางการจัดทำแผนสุขภาพตำบล โดย ทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล สปสช. เขต 12 14.00-16.00 น.  ทบทวนแผนกิจกรรมทางกาย ทบทวนแผนงานกองทุนฯ และพัฒนาโครงการในระบบกองทุนตำบล และแผนสุขภาพในพื้นที่ 16.00-16.30 น.  แลกเปลี่ยน-ข้อสักถาม

 

เกิดการติดตามแผนแผนกองทุนฯ และการพัฒนาแผนกองทุนฯ เทศบาลตำบลบ้านพรุ ในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา วันจันทร์ ที่ 21 กุมภาพันธุ์  2565 เวลา 13.00 -16.30 น. ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่าน line meeting (https://line.me/R/meeting/8c3597802d8945d1972234f7fa01bf64)

 

กส.2 ประชุมทีมคณะทำงาน จังหวัดพัทลุง 22 ก.พ. 2565 22 ก.พ. 2565

 

ทบทวนแนวทางการปรับแผน 9.00-12.00 น.
แนวทางการปรับแก้โครงการเพื่อเน้นผลลัพธ์ 13.00-15.00 น.
วางแผนกิจกรรมเพื่อทำแผน พชอ 15.00-16.00 น.

 

เวลา 09.00 น. คณะทำงานลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุมร้านทิวทัศน์ไฮเวย์ โดยมีนายสมนึก นุ่นด้วง ประธานคณะทำงานดำเนินการประชุมตามวาระดังนี้
1. ทบทวนแนวทางการปรับแผนงาน PA เวลา 09.30-12.00 น. โดยเน้นความสมบูรณ์ของข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลที่มีการเก็บอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ เช่นข้อมูลประชากร จำแนกเพศและกลุ่มอายุที่สามารถเปิดดูได้ใน DHC on Cloud เว็บไซต์สำนักงานสาธารณะสุขจังหวัด https://plg.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php
ที่สามารถกรองข้อมูลได้ตั้งแต่ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล จนถึงหมู่บ้าน และสามารถดาวน์โหลดเป็น file xls. ซึ่งสามารถ Summary ข้อมูลภายไต้ไฟล์ xls. ผู้ดำเนินการประชุมได้สาธิตให้คณะทำงานทำซ้ำจนสามารถเข้าไปใช้งานได้ และต้องสามารถนำไปสอนแก่ผู้รับผิดชอบงานกองทุนได้ด้วย

การใส่รายละเอียดข้อมูลในสถานการณ์ ต้องสอนให้ทุกกองทุนเพิ่มรายละเอียด ข้อมูลทั้งหมด (N)  ข้อมูลปัญหา (n) และร้อยละของปัญหา ให้มีความสัมพันธ์ต่อกัน

ทั้งนี้ คณะทำงานต้องสามารถลงไปสร้างควงามเข้าใจ และสอนให้เจ้าหน้าที่กองทุนสามารถปรับปรุงแผนได้ตามแนวทางนี้

  1. แนวทางการปรับแก้โครงการเพื่อเน้นผลลัพธ์ 13.00-15.00 น. การปรับแก้โครงการที่ยังไม่อนุมัติ คณะทำงานจะต้องสอนให้พี่เลี้ยงกองทุน และผู้ขอรับทุน เข้าใจกรอบแนวคิดในการออกแบบกิจกรรมเพื่อให้ถึงผลลัพธ์ ตั้งแต่การจำแนกกลุ่มเป้าหมายออกเป็น 3 กลุ่มอายุ และ 3 แบบการสร้างกิจกรรมทางกาย  และออกแบบกิจกรรมให้เป็นกระบวนการสู่ผลลัพธ์ได้
    เป้าหมาย 3 กลุ่มเป้าหมาย PA 3แบบ (ดังภาพข้างบน)
    แนวทางการดำเนินงาน ที่ประชุมเห้นชอบที่จะให้พี่เลี้ยงลงไปสร้างความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบกองทุนและผู้รับทุนที่ยังไม่ผ่านการอนุมัติ เป็นรายกองทุน และต้องได้ผลใน 3 ข้อต่อไปนี้
    ผลที่ได้    ทุกกองทุนมีการปรับแผนตามแนวทางที่กำหนด         โครงการได้รับการตรวจปรับแก้ให้เรียบร้อย พัฒนากิจกรรมให้ถึงผลลัพธ์         กำหนดวันประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติ

  2. วางแผนกิจกรรมเพื่อทำแผน พชอ. 15.00-16.00น กระบวนการทำแผนบุรณาการกองทุนตำบลกับแผน พชอ. ในประเด็นกิจกรรมทางกาย ซึ่งไม่ได้เป้นนโยบายของกลไกสุขภาพใด ในจังหวัด จึงมีความจำเป้นที่กองทุนจะต้องจัดการข้อมูลให้มีความน่าเชื่อถือ ครบถ้วน สมบูรณ์ เพื่อยกระดับเป็นแผน พชอ.ในระบบเว็บไซต์กองทุนตำบลก่อนที่จำได้นำเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ https://localfund.happynetwork.org/

ผลผลิต (Output) คณะทำงานทุกคนเข้าร่วมประชุม
ผลลัพธ์ (Outcome) ทุกคนสาธิตการปรับแผนได้ และเข้าใจการสร้างกิจกรรมที่เป็นกระบวนการสู่ผลลัพธ์ได้

 

อบรมเชิงปฏิบัติการระบบการพัฒนาโครงการ Online ผ่านทาง Website รุ่นที่ 5 อำเภอเบตง จังหวัดยะลา 23 ก.พ. 2565 23 พ.ค. 2565

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่จัดทำพัฒนาโครงการผ่านระบบกองทุนในประเด็น ส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล และผู้ข้อรับทุนโครงการในแต่ละกองทุน โดยจะมีกระบวนการโดย
1.เริ่มด้วยการกล่าววัตถประสงค์ และให้ผู้เข้าร่วมออกกำลังกาย
2.การอธิบายให้ความรู้ การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย PA  มีมากกว่าการออกกำลังกาย 3.ทบทวน สร้างความเข้าใจการเขียนโครงการ ในการขอสนับสนุนของกองทุนส่งเสริมสุขภาพตำบล 4.ฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ แบ่งกลุ่มเขียนโครงการ โดยมีเจ้าหน้าที่กองทุนเป็น facilitator กลุ่ม/กองทุน และคณะทำงานเป็นพี่เลี้ยง 4.นำเสนอโครงการ พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปผล และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในระยะถัดไป

 

  1. ผู้รับทุนกองทุนสุขภาพตำบลมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  2. ผู้ขอรับทุนกองทุนสุขภาพตำบล มีทักษะ สามารถเขียนโครงการ/กิจกรรมทางกาย ออกแบบกิจกรรมได้สอดคล้องกับประเด็นปัญหา
    3.ในการพัฒนาโครงการในกองทุนสุขภาพตำบล ในพื้นที อำเภอเบตง  มี 3 กองทุนเข้าร่วม คือ
          1.กองทุนสุขภาพตำบลอัยเยอร์เวง
          2.กองทุนสุขภาพตำบลยะรม
          3.กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง 5.สำหรับผู้ขอรับทุนที่เข้าร่วม ในครั้งนี้  คือ
          1.ชมรม/กลุ่ม
          2. ครูโรงเรียนตาดีกา
          3.กองสาธารณสุข อบต.
          4.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศพด.       5.เจ้าหน้าที่เทศบาล/อบต

 

ประชุมพี่เลี้ยงวางแผนการดำเนินงานและรายงานความก้าวหน้าการทำกิจกรรม ระดับจังหวัดสงขลา ครั้งที่ 3 27 ก.พ. 2565 22 เม.ย. 2565

 

ประชุมกิจกรรมประชุมพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา

 

บันทึกประชุมกิจกรรมประชุมพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา ครั้งที่ 3 วันอาทิตย์ที่ 27 กุมภาพันธุ์ 2565 เวลา 12.30 -16.00 น. ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom)

เวลา กิจกรรม 12.30- 13.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุมติดตามและการวางแผนการดำเนินงาน คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย เขต 12 จังหวัดสงขลา
13.00-13.30 น. ชี้แจงแนวทางการทำแผนและพัฒนาแผนในระดับพื้นที่ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย 13.30-14.00 น สรุปการลงพื้นที่จัดทำแผน
14.00-16.00 น. วางแผนการลงพื้นที่และพัฒนาแผนให้สมบูรณ์ตามแนวคิดของ สนส. มอ


วาระที่ 1 ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุมติดตามและการวางแผนการดำเนินงาน คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย เขต 12 จังหวัดสงขลา คณะทำงานพี่เลี้ยงจังหวัดสงขลา จำนวน 7 คน ประกอบด้วย
-นายทนงศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล
-นางเพียงขวัญ กาญจนเพ็ญ -นายศุภชัย เผือกผ่อง -นายธนพนธ์ จรสุวรรณ -นายอะหมัด หลีขาหรี -นส.ดวงดาว อุปสิทธิ์     -นส.อารีย์ สุวรรณชาตรี การจัดกิจกรรมประชุมในครั้งนี้เป็นการสรุปการทำงานลงพื้นที่ทำแผนงานกิจกรรมทางกาย ครั้งทื่ 3
วางแผนการดำเนินการติดตามแผนกิจกรรมทางกายและการคัดเลือกกองทุนแม่ในระดับพื้นที่

วาระที่ 2 ชี้แจงแนวทางการทำแผนและพัฒนาแผนในระดับพื้นที่ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย การจัดประชุม ชี้แจงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย มีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผลโครงการ เรามาทำความเข้าใจการทำกิจกรรมทางกาย คืออะไร เพื่อให้ตัวแทนกองทุนที่เข้าร่วมมีความเข้าใจกิจกรรมทางกายมีอะไรบ้าง เช่น การเดิน การทำงาน การประกอบอาชีพ การเล่นกีฬา กิจกรรมเรลลี่ กิจกรรมอาสาฯ ตลอดจนการบูรณาการการชับเคลื่อนงานของโครงการที่มีอยู่แล้วในพื้นที่ เช่น โครงการในส่วนของเทศบาล ในส่วนของกองต่างๆ เช่น โครงการส่วนของกองสาธารณสุข กองสวัสดิการ หรือ การทำโครงการโควิดที่ส่งเสริมให้มีกิจกรรมออกกำลังกายในพื้นที่การกักตัว ของผู้ป่วย เพื่อลดภาวะซึมเศร้า และมีการออกกำลัง เคลื่อนไหว ให้ร่างกายแข็งแรง สามารถต่อสู้กับโรค
แนวคิดในการติดตามแผนเราต้องศึกษาทุกมิติทั้งแผนงานกองทุนฯ และแผนของหน่วยงานอื่นๆ ในพื้นที่ ที่มีรูปแบบกิจกรรมสามารถนำมาใส่ในแผนกิจกรรมทางกายได้ หากกองทุนฯไหนทำระดับ พชอ. สามาระเอาแผนอำเภอและแผนในพื้นที่มาเชื่อมโยงกันได้โดยไม่ใช้งบประมาณของกองทุนฯ เช่นปี นี้ในระดับ พชอ. เอาจะเลือก อำเภอจะนะ และอำเภอบางกล่ำ เช่นในตัวอย่างที่อาจารย์นำเสนอในเวทีประชุม การทำกิจกรรมทางกายระดับประเทส เช่นเด็กเพชร อ่านเมือง เพื่อให้เด็กเรียนรู้วางแผน เป็นแผนภาพที่ชัดเจน การสร้างเมืองสุขภาพด้วยตัวเรา ในประสู่กระบวนการสร้างพื้นที่ที่เอื้อต่อการทำกิจกรรมทางกาย การสร้างรูปแบบกิจกรรมทางกายในพื้นที่ โดยสอดคล้องกับศิลปะและวัฒนธรรมของพื้นที่ การค้นหาต้นทุน ในพื้นที่ และการเสริมของทุกหน่วยงาน เพื่อให้มีกิจกรรมทางกายทุกมิติ
ขอให้พี่เลี้ยงทุกท่านส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับพื้นที่ ทั้ง 3 กลุ่มวัย คือ 1) วัยผู้สูงอายุ 2) วัยทำงาน
3) วัยเด็กและเยาวชน เราสามารถเริ่มต้นจาก การดูโครงสร้างของ อปท. ว่ามีหน่วยงานอะไรบ้าง มีกลุ่มเครือข่ายอะไรบ้าง และไปสอบถามว่าปี งบประมาณ 2565 เขามีกิจกรรมทางกายของแต่ละกลุ่มวัย อะไรบ้างเพื่อใส่เข้าไปในแผนงานด้านกิจกรรมทางกาย ซึ่งหาเป็นเรื่องการก่อสร้าง หาเราใส่ชื่อกิจกรรมเข้าไป อาจจะวงเล็บว่าไม่ใช้งบกองทุนฯ เพื่อให้คนนอกรู้ หรือจะใช้รูปแบบที่น้องดาว ทำคือให้แต่ละกองทุนฯ ไปวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาในพื้นที่ โดยแบ่งกลุ่มโครงการตามช่วงวัย ต่อไป







วาระที่ 3 สรุปทีมการทำงานกองทุนฯ ด้านกิจกรรมทางกายเขต 12 สงขลา
การจัดทำแผนกิจกรรมทางกายจังหวัดสงขลา มีทีมพี่เลี้ยงทั้งหมด 6 ทีมด้วยกัน ลำดับที่ 1 อำเภอระโนด อำเภอระโนดรายงานว่าจากการทำกิจกรรม แผนกิจกรรมทางกายมีผู้ให้ความสนใจและทำการพัฒนาแผนกิจกรรมทางกาย อบต ท่าบอน ไม่มีปัญหาอุปสรรในการทำกิจกรรม ลำดับที่ 2 อำเภอหาดใหญ่ อำเภอควนเนียง รูปแบบกิจกรรมเป็นการจัดกิจกรรมรวม 9 กองทุนฯ มี วางแผนว่าจะติดตาม แผนงานโครงการ 2 รูปแบบคือ ผ่าน ZOOM และลงพื้นที่
ลำดับที่ 3 กองทุนสทิงพระ ไม่มีปัญหาอุปสรรในการทำกิจกรรม ลำดับที่ 4 อำเภอนาทวี มีการเลือกกองทุนฯ ทำแผนกิจกรรมทางกายจำนวน 6 กองทุนฯ ไม่มีปัญหาในการติดตามแผน ลำดับที่ 5 อำเภอจะนะ เทพา ในการลงพื้นที่จัดทำแผนไม่มีปัญหาอุปสรรค เจ้าหน้าที่ให้ความร่วมมือประสานงานผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี
ลำดับที่ 6 อำเภอบางกล่ำ เป็นกองทุนฯ ที่ขอทำกิจกนนมทางกายในเดือนธันวาคม ทำให้กิจกรรมล่าช้ากว่ากองทุนอื่นที่เข้าโครงการตั้งแต่เริ่มแรก แต่ไม่มีปัญหาอุปสรรคในการทำงาน

วาระที่ 4 วางแผนการลงพื้นที่พัฒนาแผนให้สมบูรณ์ พี่เลี้ยงต้องลงพื้นที่ให้เกิดแผนกิจกรรมทางกาย 1 แผน มีโครงการกองทุนฯ อนุมัติอย่างน้อย 2 โครงการ และเกิดกองทุนฯแม่ และการติดตามโรงการในกองทุนฯแม่อย่างน้อย 1 โครงการ

 

ประชุมคณะทำงานพี่เลี้ยง จังหวัดยะลา ครั้งที่ 3 27 ก.พ. 2565 2 มี.ค. 2565

 

การประชุมทบทวนการดำเนินกิจกรรมที่ผ่าน และการประชุมวางแผนงานออกแบบกิจกรรมช่วงเดือนมีนาคม 2565 - เดือน เมษายน 2565

 

1.ทีมพี่เลี้ยงกองทุน Pa จังหวัดยะลา ได้รับทราบแนวทางการดำเนินกิจกรรมในอนาคต 2.ทีมงานพี่เลี้ยงได้ร่วมว่างแผนงานและกำหนดตารางการดำเนินงานกิจกรรมหนุนเสริมของกองทุนในพื้นที 3.ได้แผนงานและกิจกรรมของเดือน มีนาคม - เมษายน 65

 

อบรมจัดพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในพื้นที่ อำเภอบางกล่ำจัดทำแผนและพัฒนาโครงการด้านกิจกรรมทางผ่านระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต บางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ ปี 2565 28 ก.พ. 2565 28 ก.พ. 2565

 

เวลา กิจกรรม 13.30-14.30 น.  ชี้แจงวัตถุประสงค์ที่มาและความสำคัญ โดยนางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ พี่เลี้ยงกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่(PA) ปี 2565
14.30-15.30 น.  บรรยายเรื่องการจัดทำแผน โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่(PA) ปี 2565 เขต 12 สงขลา 15.30-16.30 น.  พัฒนาแผนและโครงการในระบบกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.บางกล่ำ

 

การทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.บางกล่ำมุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีอบต.แม่ทอมเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงานองค์กรและภาคีเครือข่ายในตำบลเข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.บางกล่ำ นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมของอบต.บางกล่ำให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในตำบลแม่ทอมแล้วยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในตำบลแม่ทอมได้แสดงต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง และการสร้างกลไกในสังคม ที่จะต้องเข้ามาร่วมแก้ปัญหาต่าง ๆที่มีผลต่อสุขภาพ

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนกิจกรรมทางกายเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ร่วมกับ พชอ. อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 1 มี.ค. 2565 1 มี.ค. 2565

 

กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)และส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ของอำเภอจะนะ วันที่ 1 มีนาคม 2565 เวลา 09.00 – 16.00 น.ณ ห้องประชุมชวาวงศ์ ที่ว่าการอำเภอจะนะ
เวลา 09.00 – 09.30 น. - พิธีเปิด
เวลา 09.30 – 12.00 น. - การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ความหมายและความสำคัญของการจัดทำแผน
เวลา 13.00 – 16.00 น. - การจัดทำแผนกองทุน ฯ กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ในระบบของกองทุน ฯ ผ่านเวปไซด์กองทุน การจัดทำแผนสิ่งแวดล้อม อาหารและโภชนาการ แผนกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนอำเภอในระบบของกองทุน ฯ ผ่านเวปไซด์กองทุน

 

มีผู้เข้าร่วมจาก 15 กองทุน และผู้แทน พชอ. รวม 68 คน
กองทุนตำบลทุกแห่งมีแผนกองทุน กิจกรรมทางกาย สิ่งแวดล้อม อาหารและโภชนาการ ในเวปไซด์กองทุน
อำเภอมีแผนกิจกรรมทางกาย แผนสิ่งแวดล้อมและแผนอาหารและโภชนาการนระบบเวปไซด์กองทุน

 

ประชุมคณะทำงานพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ อำเภอบางกล่ำครั้งที่ 2 4 มี.ค. 2565 4 มี.ค. 2565

 

เวลา กิจกรรม 13.00- 13.30 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุมติดตามและการวางแผนการดำเนินงาน คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย เขต 12 จังหวัดสงขลา
13.30-15.30 น. ชี้แจงแนวทางการทำแผนและพัฒนาแผนในระดับพื้นที่ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย
15.30-16.30 น. วางแผนการลงพื้นที่และพัฒนาแผนให้สมบูรณ์ตามแนวคิดของ สนส. มอ

 

บันทึกประชุมกิจกรรมประชุมพี่เลี้ยงระดับพื้นที่กิจกรรมทางกาย อำเภอบางกล่ำ
กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา
วันศุกร์ 4 มีนาคม 2565 เวลา 13.00 -16.30 น. ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom)

เวลา กิจกรรม 13.00- 13.30 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุมติดตามและการวางแผนการดำเนินงาน คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย เขต 12 จังหวัดสงขลา
13.30-15.30 น. ชี้แจงแนวทางการทำแผนและพัฒนาแผนในระดับพื้นที่ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย
15.30-16.30 น. วางแผนการลงพื้นที่และพัฒนาแผนให้สมบูรณ์ตามแนวคิดของ สนส. มอ

วาระที่ 1 ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุมติดตามและการวางแผนการดำเนินงาน คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย เขต 12 จังหวัดสงขลา คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกายอำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลาระดับพื้นที่ จำนวน 4 คน ประกอบด้วย
1) น.ส.กฤษณพร ไพบูลย์เกษมสุทธิ อบต. บางกล่ำ 2) นางธัญชนก สุขยะฤกษ์  อบต. แม่ทอม
3) นางสาวสุลียพร ศรีประไพ เทศบาลตำบลบ้านหาร 4) นางสาวสุพรรษา อุไรพันธ์ เทศบาลตำบลท่าช้าง
การจัดกิจกรรมประชุมในครั้งนี้เป็นการสรุปการทำงานลงพื้นที่ทำแผนงานกิจกรรมทางกาย วางแผนการดำเนินการติดตามแผนกิจกรรมทางกายและการคัดเลือกกองทุนแม่ในระดับพื้นที่

วาระที่ 2 ชี้แจงแนวทางการทำแผนและพัฒนาแผนในระดับพื้นที่ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย การจัดประชุม ชี้แจงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย มีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. พี่เลี้ยงระดับพื้นที่ให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. พี่เลี้ยงให้มีทักษะการติดตามแผน การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผลโครงการ เรามาทำความเข้าใจการทำกิจกรรมทางกาย คืออะไร เพื่อให้ตัวแทนกองทุนที่เข้าร่วมมีความเข้าใจกิจกรรมทางกายมีอะไรบ้าง เช่น การเดิน การทำงาน การประกอบอาชีพ การเล่นกีฬา กิจกรรมเรลลี่ กิจกรรมอาสาฯ ตลอดจนการบูรณาการการชับเคลื่อนงานของโครงการที่มีอยู่แล้วในพื้นที่ เช่น โครงการในส่วนของเทศบาล ในส่วนของกองต่างๆ เช่น โครงการส่วนของกองสาธารณสุข กองสวัสดิการ หรือ การทำโครงการโควิดที่ส่งเสริมให้มีกิจกรรมออกกำลังกายในพื้นที่การกักตัว ของผู้ป่วย เพื่อลดภาวะซึมเศร้า และมีการออกกำลัง เคลื่อนไหว ให้ร่างกายแข็งแรง สามารถต่อสู้กับโรค
แนวคิดในการติดตามแผนเราต้องศึกษาทุกมิติทั้งแผนงานกองทุนฯ และแผนของหน่วยงานอื่นๆ ในพื้นที่ ที่มีรูปแบบกิจกรรมสามารถนำมาใส่ในแผนกิจกรรมทางกายได้ หากกองทุนฯไหนทำระดับ พชอ. สามาระเอาแผนอำเภอและแผนในพื้นที่มาเชื่อมโยงกันได้โดยไม่ใช้งบประมาณของกองทุนฯ เช่นปี นี้ในระดับ พชอ. เอาจะเลือก อำเภอจะนะ และอำเภอบางกล่ำ เช่นในตัวอย่างที่อาจารย์นำเสนอในเวทีประชุม การทำกิจกรรมทางกายระดับประเทส เช่นเด็กเพชร อ่านเมือง เพื่อให้เด็กเรียนรู้วางแผน เป็นแผนภาพที่ชัดเจน การสร้างเมืองสุขภาพด้วยตัวเรา ในประสู่กระบวนการสร้างพื้นที่ที่เอื้อต่อการทำกิจกรรมทางกาย การสร้างรูปแบบกิจกรรมทางกายในพื้นที่ โดยสอดคล้องกับศิลปะและวัฒนธรรมของพื้นที่ การค้นหาต้นทุน ในพื้นที่ และการเสริมของทุกหน่วยงาน เพื่อให้มีกิจกรรมทางกายทุกมิติ
ขอให้พี่เลี้ยงระดับพื้นที่อำเภอบางกล่ำ ทุกท่านส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับพื้นที่ ทั้ง 3 กลุ่มวัย คือ 1) วัยผู้สูงอายุ 2) วัยทำงาน 3) วัยเด็กและเยาวชน เราสามารถเริ่มต้นจาก การดูโครงสร้างของ อปท. ว่ามีหน่วยงานอะไรบ้าง มีกลุ่มเครือข่ายอะไรบ้าง และไปสอบถามว่าปี งบประมาณ 2565 เขามีกิจกรรมทางกายของแต่ละกลุ่มวัย อะไรบ้างเพื่อใส่เข้าไปในแผนงานด้านกิจกรรมทางกาย ซึ่งหาเป็นเรื่องการก่อสร้าง หาเราใส่ชื่อกิจกรรมเข้าไป อาจจะวงเล็บว่าไม่ใช้งบกองทุนฯ เพื่อให้คนนอกรู้ หรือจะใช้รูปแบบที่น้องดาว ทำคือให้แต่ละกองทุนฯ ไปวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาในพื้นที่ โดยแบ่งกลุ่มโครงการตามช่วงวัย ต่อไป

วาระที่ 3 สรุปทีมการทำงานกองทุนฯ ด้านกิจกรรมทางกายเขต 12 สงขลา
การจัดทำแผนกิจกรรมทางกายจังหวัดสงขลา มีทีมพี่เลี้ยงทั้งหมด 4 ทีมด้วยกัน ลำดับที่ 1 กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าช้าง ตอนนี้มีการทำแผนกิจกรรมทางกายแล้ว รอคนของบกองทุนฯ นำโครงการมาเสนอเพื่อเข้ากรรมการ
ลำดับที่ 2 กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านหาร ตอนนี้มีแผนและโครงการด้านกิจกรรมทางกายหลายโครงการ ลำดับที่ 3 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. แม่ทอม ตอนนี้มีแผนและโครงการด้านกิจกรรมทางกายหลายโครงการ ลำดับที่ 4 กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. บางกล่ำ อยู่ในขั้นจัดทำแผนและพัฒนาแผนงานกิจกรรมทางกาย ในปี นี้มีคนของบกองทุนฯเกี่ยวกับกิจกรรมทางกายน้อย ส่วนใหญ่เป็นในส่วนโรคระบาด โควิด-19

วาระที่ 4 วางแผนการลงพื้นที่พัฒนาแผนให้สมบูรณ์ พี่เลี้ยงต้องลงพื้นที่ให้เกิดแผนกิจกรรมทางกาย 1 แผน มีโครงการกองทุนฯ อนุมัติอย่างน้อย 2 โครงการ และเกิดกองทุนฯแม่ และการติดตามโรงการในกองทุนฯแม่อย่างน้อย 1 โครงการ แผนการลงพื้นที่ติดตามแผน กองทุนฯ สงขลา เขต 12
ลำดับที่ รายชื่อกองทุนฯ พี่เลี้ยง 1 ทต.ท่าช้าง นางสาวสุพรรษา อุไรพันธ 2 ทต.บ้านหาร นางสาวสุลียพร ศรีประไพ 3 อบต.แม่ทอม นางธัญชนก สุขยะฤกษ์ 4 อบต.บางกล่ำ นางสาวกฤษณพร ไพบูลย์เกษมสิทธิ์

 

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรมทางกายและกำหนดพื้นที่เรียนรู้ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 15 มี.ค. 2565 15 มี.ค. 2565

 

ประชุมกองทุนต้นแบบร่วมกันทุกกองทุน ณ ห้องประชุมชวาวงศ์ ที่ว่าการอำเภอจะนะ
กองทุนแต่ละแห่งรายงานความก้าวหน้าการดำเนินโครงการกิจกรรมทางกาย
กองทุนกำหนดพื้นที่เรียนรู้ ที่สามารถกำหนดเป็นพื้นที่ต้นแบบได้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างกองทุน
ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน

 

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 32 คน
พื้นที่ต้นแบบมีความพร้อมในการกำหนดเป็นศูนย์เรียนรู้ได้ 8 กองทุน

 

ติดตามผลการดำเนินงานของกองทุนตามแผนงานที่เสนอขอรับทุน 15 มี.ค. 2565 15 มี.ค. 2565

 

การตรวจสอบข้อมูลแผนงาน PA ของกองทุนฯผ่าน Website
แก้ไขข้อมูลแผนงาน PA  และโครงการ PA ที่ผ่านการอนุมัติแล้วWebsite

 

วันที่ 15  มีนาคม  2565
          ณ สถานที่ประชุมศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศดาดีการตำบลดอนรัก อ.หนองจิก จ.ปัตตานี เวลา 9.00  นายมะรอกี  เวาะเลง พี่เลี้ยงจังหวัดปัตตานี ได้กล่าวต้อนรับและชี้แจงรายละเอียดติดตามงานกิจกรรมทางกาย ของกองทุนจังหวัดปัตตานี โดยกองทุนที่ยังไม่อนุมัติโครงการคือ กองทุนบางตาวา กองทุนคอลอตันหยง กองทุนตาลีอายร์  โดยกองทุนดังกล่าวจะเร่งอนุมัติให้แล้วเสร็จภายในเดือนมีนาคม 2565 นี้           เวลา 9.15 น.นายอับดุลรอซัค กุลตามาและนายแวอูเซ็ง  แวสาและ พี่เลี้ยงระดับจังหวัด เปิดข้อมูลงานแผนงาน PA ผ่านเว็บไซต์ตั้งแต่ช่วงเวลา 9:15  น. จนถึงเวลา 12:00 น             โดยให้แต่ละกองทุนเพิ่มเติมข้อมูล ดังนี้ 1.กองทุนปูยุด      เพิ่มเติมตัวจำนวนตัวเลขในสถานการณ์ 2.กองทุนตาลีอายร์  เพิ่มรายละเอียดจำนวนประชากรและเพิ่มโครงการที่ควรได้รับงบประมาณ 3.กองทุนปุโละปุโย  เพิ่มรายละเอียดจำนวนประชากรและเพิ่มโครงการที่ควรได้รับงบประมาณ 4.กองทุนตันหยงลุโละ เพิ่มรายละเอียดจำนวนประชากร 5.กองทุนตะลุโบะ  เพิ่มรายละเอียดจำนวนประชากร 6.กองทุนเทศบาลตำบลหนองจิก  เพิ่มรายละเอียดจำนวนประชากร 7.กองทุนบางตาวา  เพิ่มรายละเอียดจำนวนประชากร 8.กองทุนยาบี  เพิ่มรายละเอียดจำนวนประชากร 9.กองทุนคอลอฯ  เพิ่มรายละเอียดจำนวนประชากร และคำนวณเป็นจุดทศนิยม 10.กองทุนตะโละกาโปร์  เพิ่มรายละเอียดจำนวนประชากร

  เวลา 13.30  ช่วงภาคบ่ายวิทยากรให้ผู้รับการอบรมหาข้อมูลประชากรจากโปรแกรม HDC รายตำบลเพื่อใช้ในการกรอกข้อมูลสถารการณ์ต่อไป โดยมีวิทยากรคอยให้คำปรึกษาและแนะนำ สุดท้ายก่อนจะปิดการประชุมได้ให้ทุกกองทุนสามารถข้อมูลเพิ่มเติม ในกองทุนตัวเองให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 มีนาคม 2565 โดยมีพี่เลี้ยงช่วยตรวจสอบและเช็คความเรียบร้อย

          เวลา 16.00 นายมะรอกี  เวาะเลง พี่เลี้ยงจังหวัดปัตตานี กล่าวขอบคุณและปิดการประชุม

 

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรมทางกายและกำหนดพื้นที่เรียนรู้ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 16 มี.ค. 2565 16 มี.ค. 2565

 

ลงพื้นที่กองทุนต้นแบบตำบลจะโหนง นาหว้า ป่าชิง ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรมทางกาย
เตรียมความพร้อมพื้นที่กำหนดเรียนรู้

 

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 18 คน
กำหนดเป็นพื้นที่เรียนรู้กิจกรรมทางกาย

 

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรมทางกายและกำหนดพื้นที่เรียนรู้ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 17 มี.ค. 2565 17 มี.ค. 2565

 

ลงพื้นที่กองทุนต้นแบบตำบลขุนตัดหวาย ท่าหมอไทร น้ำขาว ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรมทางกาย
เตรียมความพร้อมพื้นที่กำหนดเรียนรู้ ลงสถานที่จริง

 

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 29 คน
กำหนดเป็นพื้นที่เรียนรู้กิจกรรมทางกาย

 

ประชุมจัดท าแผน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ (PA) ปี 2565 เขต 12 สงขลา 18 มี.ค. 2565 18 มี.ค. 2565

 

.

 

.

 

ประชุมติดตามแผนกิจกรรมทางกายและแผนโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านไร่ 19 มี.ค. 2565 22 เม.ย. 2565

 

กำหนดกกำหนดการ ติดตามแผนแผนกองทุนฯ และการพัฒนาแผนกองทุนฯ เทศบาลตำบลบ้านไร่ ในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา วันเสาร์ ที่ 19 มีนาคม  2565 เวลา 08.30-12.00 น. ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่าน ZOOM
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อชี้แจงแนวการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ผ่านแผนกิจกรรมทางกาย 2. เพื่อจัดทำแผนและทบทวนแผนงานกองทุนฯ และพัฒนาโครงการในระบบกองทุนตำบล และแผนสุขภาพในพื้นที่

กำหนดการ เวลา กิจกรรม 08.30-10.00 น.  แนวทางการจัดทำแผนสุขภาพตำบล โดย ทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล สปสช. เขต 12 10.00-11.30 น.  ทบทวนแผนกิจกรรมทางกาย ทบทวนแผนงานกองทุนฯ และพัฒนาโครงการในระบบกองทุนตำบล และแผนสุขภาพในพื้นที่ 11.30-12.00 น.  แลกเปลี่ยน-ข้อสักถาม

 

เกิดการติดตามแผนแผนกองทุนฯ และการพัฒนาแผนกองทุนฯ เทศบาลตำบลบ้านไร่ ในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา วันเสาร์ ที่ 19 มีนาคม  2565 เวลา 08.30-12.00 น.

 

ประชุมติดตามแผนกิจกรรมทางกายและแผนโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลน้ำน้อย 19 มี.ค. 2565 22 เม.ย. 2565

 

ติดตามแผนแผนกองทุนฯ และการพัฒนาแผนกองทุนฯ เทศบาลตำบลน้ำน้อย ในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา
กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา
วันเสาร์ที่ 19 มีนาคม 2565 เวลา 13.00 -16.30 น. ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อชี้แจงแนวการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ผ่านแผนกิจกรรมทางกาย 2. เพื่อจัดทำแผนและทบทวนแผนงานกองทุนฯ และพัฒนาโครงการในระบบกองทุนตำบล และแผนสุขภาพในพื้นที่

กำหนดการ เวลา กิจกรรม 13.00-14.00 น.  แนวทางการจัดทำแผนสุขภาพตำบล โดย ทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล สปสช. เขต 12 14.00-16.00 น.  ทบทวนแผนกิจกรรมทางกาย ทบทวนแผนงานกองทุนฯ และพัฒนาโครงการในระบบกองทุนตำบล และแผนสุขภาพในพื้นที่

 

สรุปการประชุมการจัดทำแผนกิจกรรมทางกาย กองทุนเทศบาลตำบลน้ำน้อย
ผ่านระบบออนไลน์ วันที่ 19 มีนาคม 2565

ทำความเข้าใจการทำกิจกรรมทางกาย คืออะไร เพื่อให้ตัวแทนกองทุนที่เข้าร่วมมีความเข้าใจกิจกรรมทางกายมีอะไรบ้าง เช่น การเดิน การทำงาน การประกอบอาชีพ การเล่นกีฬา กิจกรรมเรลลี่ กิจกรรมอาสาฯ ตลอดจนการบูรณาการการชับเคลื่อนงานของโครงการที่มีอยู่แล้วในพื้นที่ เช่น โครงการในส่วนของเทศบาล ในส่วนของกองต่างๆ เช่น โครงการส่วนของกองสาธารณสุข กองสวัสดิการ หรือ การทำโครงการโควิดที่ส่งเสริมให้มีกิจกรรมออกกำลังกายในพื้นที่การกักตัว ของผู้ป่วย เพื่อลดภาวะซึมเศร้า และมีการออกกำลัง เคลื่อนไหว ให้ร่างกายแข็งแรง สามารถต่อสู้กับโรค เทศบาลตำบลน้ำน้อย มีทุนทางสังคม ในเรื่องของสถานที่ที่เป็นพื้นที่สาธารณะ เป็นลานกิจกรรมที่คนในพื้นที่เข้ามาใช้ประโยชน์ คลองวง ตลอดจน มีเครือข่าย เด็ก –เยาวชน กลุ่มทำกิจกรรมต่างๆ เช่น กลุ่มเต้นแอโรบิค เต้นบาสโสป กลุ่มปั่นจักรยาน กลุ่มผู้สูงอายุ ตลอดจน ในส่วนของพนักงานของเทบาลก็มีการส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายในที่ทำงาน ทุกวันพุธ ในช่วงเย็นก่อนเลิกงาน (ซึ่งเดิมเป็นนโยบายลุงตู่ )
ปัจจุบัน เทศบาลตำบลน้ำน้อย มีการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย และมีการโครงการที่กำลังรออนุมัติ เช่น โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยบาสโสป โครงการการเฝ้าระวังโควิด โครงการฝึกทักษะการฝึกการหายใจให้กับ อสม. และโครงการในกลุ่มผู้สูงอายุ เช่น โครงการหลัก 3 อ.ในกลุ่มผู้สูงอายุ โครงการสร้างสุข ลดพุง โดยกลองยาว หรือ การเต้นบาสโสป
การดำเนินงานต่อหลังจากนี้ 1.การใส่ข้อมูลในระบบเว้ปกองทุน สร้างแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ อย่างน้อย ให้มีชื่อโครงการที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางกาย จำนวน 10โครงการ และมีโครงการที่ผ่านการอนุมัติ จำนวน 2-3โครงการ
2.การทำแผนที่ กำหนดพื้นที่กิจกรรมทางกาย เช่น ลานกิจกรรมทางกาย โรงเรียน วัด ที่มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมทางกาย

 

ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมทางกายเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 21 มี.ค. 2565 21 มี.ค. 2565

 

ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมทางกายกองทุนต้นแบบกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.)

 

ผู้เข้าร่วมประชุมจาก พชอ. 21 คน
ผู้เข้าร่วมประชุมจาก กองทุนตำบล 29 คน.
ผู้เข้าร่วมประชุมจากผู้ขอรับทุน 15 คน
โครงการกิจกรรมต้นแบบเพื่อทำสารคดีเรื่องเล่า 12 โครงการ

 

ประชุมติดตามแผนกิจกรรมทางกายและแผนโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลพะตง 23 มี.ค. 2565 22 เม.ย. 2565

 

ติดตามแผนแผนกองทุนฯ และการพัฒนาแผนกองทุนฯ เทศบาลตำบลพะตง ในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา
กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา
วันพุธที่ 23 มีนาคม 2565 เวลา 13.00 -16.30 น. ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อชี้แจงแนวการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ผ่านแผนกิจกรรมทางกาย 2. เพื่อจัดทำแผนและทบทวนแผนงานกองทุนฯ และพัฒนาโครงการในระบบกองทุนตำบล และแผนสุขภาพในพื้นที่

กำหนดการ เวลา กิจกรรม 13.00-14.00 น.  แนวทางการจัดทำแผนสุขภาพตำบล โดย ทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล สปสช. เขต 12 14.00-16.00 น.  ทบทวนแผนกิจกรรมทางกาย ทบทวนแผนงานกองทุนฯ และพัฒนาโครงการในระบบกองทุนตำบล และแผนสุขภาพในพื้นที่ 16.00-16.30 น.  แลกเปลี่ยน-ข้อสักถาม

 

เกิดการติดตามแผนแผนกองทุนฯ และการพัฒนาแผนกองทุนฯ เทศบาลตำบลพะตง ในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา
กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา

 

ประชุมติดตามแผนกิจกรรมทางกายและแผนโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคลองแห 23 มี.ค. 2565 22 เม.ย. 2565

 

ติดตามแผนแผนกองทุนฯ และการพัฒนาแผนกองทุนฯ เทศบาลเมืองคลองแห
ในอำเภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา
วันพุธที่ 23 มีนาคม 2565 เวลา 18.00 -21.00 น. ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อชี้แจงแนวการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ผ่านแผนกิจกรรมทางกาย 2. เพื่อจัดทำแผนและทบทวนแผนงานกองทุนฯ และพัฒนาโครงการในระบบกองทุนตำบล และแผนสุขภาพในพื้นที่

กำหนดการ เวลา กิจกรรม 13.00-14.00 น.  แนวทางการจัดทำแผนสุขภาพตำบล โดย ทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล สปสช. เขต 12 14.00-16.00 น.  ทบทวนแผนกิจกรรมทางกาย ทบทวนแผนงานกองทุนฯ และพัฒนาโครงการในระบบกองทุนตำบล และแผนสุขภาพในพื้นที่ 16.00-16.30 น.  แลกเปลี่ยน-ข้อสักถาม

 

เกิดการติดตามแผนแผนกองทุนฯ และการพัฒนาแผนกองทุนฯ เทศบาลเมืองคลองแห

 

ติดตามผลการดำเนินงานของกองทุนตามแผนงานที่เสนอขอรับทุน 30 มี.ค. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมคณะทำงานพี่เลี้ยงครั้งที่ 4 8 เม.ย. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมประเมินคุณค่าโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคลองแหผ่าน ZOOM 19 เม.ย. 2565 22 เม.ย. 2565

 

.

 

.

 

ประชุมประเมินคุณค่าโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองบ้านพรุผ่าน ZOOM 20 เม.ย. 2565 22 เม.ย. 2565

 

1.พี่เลี้ยงเขต12 จัดประชุมกิจกรรมประชุมพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา
ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom) เพื่อชี้แจงแนวทางการทำแผนและพัฒนาแผนในระดับพื้นที่ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงของการมีกิจกรรมทางกาย พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย มีวัตถุประสงค์ดังนี้

1.1.พี่เลี้ยงระดับพื้นที่ให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

1.2.พี่เลี้ยงให้มีทักษะการติดตามแผน การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผลโครงการ

2.ตัวแทนกองทุนนำเสนอโครงการกิจกรรมทางกายแบบบูรณาการในพื้นที่

  3.1.วิเคราะห์การมีกิจกรรมทางกาย เทศบาลเมืองบ้านพรุ สรุปได้ว่า พื้นที่กิจกรรมทางกายของประชาชนในพื้นที่ ประกอบด้วย สนามกีฬาพรุค้างคาว และบริเวณตลาดน้ำบ้านพรุ สนามกีฬาโรงเรียนวัดเทพชุมนุม , ประเภทของการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การเดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน และเครื่องเล่นออกกำลังกาย ในกลุ่ม ผู้สูงอายุ วัยทำงาน ครอบครัว (พ่อ –แม่-ลูก) ,การเล่นฟุตบอลในกลุ่มเยาวชน , กลุ่มเศรษฐกิจชุมชน เช่น กลุ่มอาชีพการสานตะกร้าพลาสติก การทำน้ำหมักชีวภาพ เป็นต้น

  3.2. การเชื่อมโยงกิจกรรมทางกายในมิติต่างๆ ในการทำกิจกรรมโครงการ โดยพี่เขต 12 ได้เพิ่มเติมในประเด็นการเครียมความพร้อมก่อนการทำงาน หรือกิจกรรมประชุม เช่น ส่งเสริมให้มีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อในกลุ่ม อสม.ก่อนดำเนินกิจกรรมรณรงค์ลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ชุมชน และ กิจกรรมประชุมต่างๆ เช่น การทำประชาคมหมู่บ้าน เป็นต้น

  3.3.การเชื่อมโยงกิจกรรมทางกาย เพื่อลดความเสี่ยงจากการทำงาน ในกลุ่มเกษตรกรอาชีพสวนยางพารา เช่น การยก หรือหิ้ว ของหนัก (น้ำยาง) และการกรีดยาง (การลุก นั่ง กรณ๊ยางหน้าต่ำ)

 

1.มีตัวแทนคณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกายเทศบาลเมืองบ้านพรุ จำนวน 1คน คือ นางสาวจุฑารัตน์ นวลใย

2.พี่เลี้ยงเขต 12 จำนวน 3คน ปรกอบด้วย นส.ดวงดาว อุปสิทธิ์ ,นางดวงใจ อ่อนแก้ว และนส.อารีย์สุวรรณชาตรี

3.พี่เลี้ยงกองทุนสามารถวิเคราะห์การทำกิจกรรมทางกายของประชาชนในพื้นที่ได้ และมีความเข้าใจในการเชื่อมกิจกรรมทางกายไปยังมิติ ภายใต้โครงการของหน่วยงานต่างๆในพื้นที่

4.กองทุนคัดเลือกโครงการเพื่อประเมินคุณค่าโครงการ และคัดเลือกโครงการเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมการติดตามประเมินผลกิจกรรมทางกายระดับจังหวัด ระหว่างวันที่ 20พค.65

 

ประชุมประเมินคุณค่าโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านไร่ผ่าน ZOOM 21 เม.ย. 2565 22 เม.ย. 2565

 

1.ประเมินคุณค่าโครงการ ได้เลือกโครงการปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพและ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการเดิน เป็นโครงการนำเสนอในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประเมินผล กิจกรรมทางกายระดับจังหวัด วันที่ 20พค.65 พี่เลี้ยงเขตเสนอแนะในการเพิ่มกิจกรรมทางกาย โครงการ“ปั่นจักรยาน” ดังนี้

 เพิ่มกิจกรรมด้านจิตอาสา เช่น การจัดการขยะในพื้นที่สาธารณะ และสถานที่สำคัญของชุมชน (วัด )

 การศึกษาเส้นทางธรรมชาติ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เนื่องจากพื้นที่ตำบลบ้านไร่มีสนามกอล์ฟ 2แห่ง มีพื้นที่ชุมน้ำ(พื้นที่พรุ) มีต้นไม้ตลอดระยะ2ข้างทาง ลักษณะเป็นอุโมงค์ต้นไม้ และภูเขา

 การเชื่อมกับเครือข่ายชมรมปั่นจักรยานในพื้นที่ใกล้เคียง จัดปั่นจักรยานทุกวันสัปดาห์ และทุกวันที่ 1ของทุกเดือน

 ส่งเสริมเศรษฐกิจของกลุ่มอาชีพในชุมชน เช่น ร้านกาแฟชุมชน (สภากาแฟ) ชูเมนูเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ หลังจากการออกกำลังกาย ตลอดจนจนเป็นจัดเป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลาดและอาหารเพื่อสุขภาพ จัดจำหน่ายผลผลิตของชุมชน

 รณรงค์ให้เจ้าหน้าที่หรือพนักงานของเทศบาล อสม. พนักงานจัดเก็บขยะ ประชาชนในพื้นที่ มีกิจกรรมทางกาย การเคลื่อนไหวร่างกายก่อนทำงาน หรือ ในการทำประชาคมหมู่บ้าน การประชุม ก่อนการอบรม จัดให้มีการยืดเหยียดร่างกาย เพื่อเตรียมพร้อมก่อนอบรม หรือหลังจากการอบรมเสร็จสิ้น

2.นำเสนอกิจกรรมทางกายแบบบูรณาการในพื้นที่ การดำเนินโครงการต่างๆ และกลไก ของ อปท. ภาคประชาชน และอำเภอ มีส่วนในการหนุนเสริมงบประมาณ ดังนี้

-โครงการการบริหารการจัดการขยะ(Big Cleaning Day)

-โครงการน่าบ้าน น่ามอง ผู้ว่าชวนทำความสะอาดทุกบ้านทุกหลัง

-โครงการร่วมมือการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ทต.บ้านไร่ ปี2565
-โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมไข้เลือดออกกำจัดลูกน้ำยุงลาย แก้ปัญหาโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหนะ ปี2565
หน่วยงานสาธารณสุข

-โครงการบ้านไร่ร่วมใจห่างไกลยาเสพติดปี2565

-โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการเดิน

-โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ ชุมชน องค์กรต่างๆในพื้นที่

3.พี่เลี้ยงเขต12 จัดประชุมกิจกรรมประชุมพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา
ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom) เพื่อชี้แจงแนวทางการทำแผนและพัฒนาแผนในระดับพื้นที่ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงของการมีกิจกรรมทางกาย พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกายในพื้นที่

 

1.คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกายเทศบาลตำบลบ้านไร่ ประกอบด้วย นางวิภารัตน์ คุ้มกัน ,นายกรพจน์ มุสิกราษฎร์ ,นางสาววิภาพร พุทธกูล

2.เกิดการประเมินคุณค่าโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ

 

ประชุมติดตามแผนกิจกรรมทางกายและแผนโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลัง 22 เม.ย. 2565 22 เม.ย. 2565

 

1.พี่เลี้ยงเขต12 จัดประชุมกิจกรรมประชุมพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา
ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom) เพื่อชี้แจงแนวทางการทำแผนและพัฒนาแผนในระดับพื้นที่ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงของการมีกิจกรรมทางกาย พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย มีวัตถุประสงค์ดังนี้

1.1.พี่เลี้ยงระดับพื้นที่ให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

1.2.พี่เลี้ยงให้มีทักษะการติดตามแผน การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผลโครงการ

2.นำเสนอแผนงาน โครงการกิจกรรมทางกายแบบบูรณาการในระดับพื้นที่ 1.การดำเนินโครงการแผนกิจกรรมทางกายที่มีการดำเนินโครงการภายใต้การสนับสนุนงบประมาณของ อปท. งบประมาณกองทุนฯ และงบประมาณของจังหวัด ทำในรูปแบบบรูณาการเพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง ดังนี้  โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ มีการดำเนินการในพื้นที่ชุมชน 41ชุมชน การจัดการขยะในระดับครัวเรือน ขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก) ขยะรีไซเคิ่ล จัดตั้งธนาคารขยะ โดยแต่ละครัวเรือนจะนำขยะรีไซเคิ่ลมอบให้กับประธานชุมชน และในทุกเดือนชุมชนจะทำการส่งมอบขยะให้กับเทศบาลเมืองควนลัง เพื่อดำเนินการจำหน่าย และเงินที่ได้จากการขายขยะ จะถูกนำไปพัฒนาชุมชนในด้านต่างๆ ส่วนขยะอินทรีย์ (ขยะเปียก) มีการทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อนำไปใช้ในการรดน้ำต้นไม้ ผักสวนครัว แปลงผัก ลดการใช้ปุ๋ยเคมี เพิ่มกิจกรรมในประเด็นการสร้างครัวเรือนต้นแบบในการมีกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวัน การจัดพื้นที่ครัวเรือนเป็นพื้นที่สีเขียว พื้นที่แหล่งผลิตอาหารปลอดภัย และการปลูกพืชสมุนไพรป้องกันโรค ในพื้นที่ชุมชน  โครงการโรงเรียนน่าอยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลเมืองควนลัง จำนวน1แห่ง มีกิจกรรมทำความสะอาด การปรับภูมิทัศน์ การปรับสภาพแวดล้อมใน ศพด. ก่อนเปิดเทอมใหม่ โดยมีกิจกรรมพัฒนาพื้นที่อาคาร สร้างการมีส่วนร่วมให้ ครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่เทศบาล (กองการศึกษาฯ) ช่วยกันดำเนินการ ก่อนทำกิจกรรมพัฒนาทำความเข้าใจและสร้างความตระหนักให้มีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และลดความเสี่ยงจากการทำงาน เช่น การก้ม การหิ้วของหนัก (งานทาสีรั้ว) เพิ่มกิจกรรมประเด็นการจัดการขยะในพื้นที่ศพด. และการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนร่วมกับผู้ปกครอง และชุมชน เช่น โรงเรียนจัดพื้นที่ว่าง เป็นพื้นที่แปลงผัก สามารถนำผลผลิตไปประกอบเป็นเมนูอาหารในมื้ออาหารของเด็กเล็ก เพื่อส่งเสริมการบริโภคผักในโรงเรียน การใช้หลัก 3อ. (อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) ในการส่งเสริมคุณภาพชึวิตของเด็กเล็กในโรงเรียน  โครงการน่าบ้าน น่ามอง ส่งเสริมให้ครัวเรือนในชุมชนทุกชุมชน มีการทำความสะอาดบ้านเรือน โดยกิจกรรมสามารถบูรณาการไปยังประเด็นอื่นๆ เช่น การจัดการขยะ การปรับพื้นที่ครัวเรือน/ชุมชนเป็นพื้นที่สีเขียว และการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก
 โครงการส่งเสริมการออกกำลังเพื่อสุขภาพ มีการสนับสนุนให้คนในชุมชนมีการออกกำลังกายอย่างหลากหลาย เทศบาลเมืองควนลัง มีการมอบชุดเครื่องออกกำลังกายในพื้นที่ชุมชน จำนวน12แห่ง (มีความพร้อมบริเวณสถานที่) ตลอดจนการใช้สนามกีฬาเนินขุมทอง เปิดเป็นศูนย์กลางกิจกรรมออกกำลังของชุมชน เช่น การเดิน การวิ่ง โยคะ การเต้นแอโรบิค และเครื่องเล่นออกกำลังกายภายในศูนย์กีฬา ทำให้มีกิจกรรมทางกายของคนทุกวัยทั้งในพื้นที่เทศบาลเมืองควนลัง และพื้นที่ใกล้เคียง 2.การบรูณาการกิจกรรมทางกายและงานประจำปีของหน่วยงาน เช่น วันกีฬาของเทศบาล การแข่งขันฟุตบอลระดับชุมชน จัดให้มีการเดินรณณงค์ ประชาสัมพันธ์ชุมชนดีเด่นในด้านต่างๆ มีการแสดง ออกแบบขบวนพาเลช เข้าสู่สนามแข่งขัน เช่น ชุมชนการจัดการขยะ ชุมชนสีเขียว ชุมชนเกษตรปลอดภัย ของดีเมืองควนลัง (ส้มโอหอมควนลัง)
3.ส่งเสริมกิจกรรมออกกำลังกาย “ปั่นจักรยาน” ศึกษาเส้นทาง ถนนสายสุขภาพ จัดทำจุดแผนที่ในการศึกษาพื้นที่แหล่งเรียนรู้ เช่น แปลงเกษตรอินทรีย์ส้มโอหอมควนลัง จุดชมวิวเชคอินชมดอกปอเทือง ฯลฯ

 

1.ตัวแทนคณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกายเทศบาลเมืองควนลัง ประกอบด้วย นางสาวสุธาทิพย์ ด้วงทอง, นางสาวมุกดาวรรณ วรรณพันธุ์ ,นายนันทวุฒิ ทองฉิม

2.เกิดการประเมินคุณค่าในระบบเว้ปไซต์กองทุนสุขภาพตำบล

3.พี่เลี้ยงมีความเข้าใจในการประเมินคุณค่าโครงการ และสามารถเชื่อมโยงกิจกรรมทางกายกับโครงการในมิติด้านอื่นๆได้

 

ประชุมติดตามแผนกิจกรรมทางกายและแผนโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.ควนเนียง ทต.บางเหรียง และ อบต รัตภูมิ อ. ควนเนียง 22 เม.ย. 2565 22 เม.ย. 2565

 

1.พี่เลี้ยงเขต12 นำโดย นางสาวดวงดาว อุปสิทธิ์ นางดวงใจ อ่อนแก้ว และนส.อารีย์ สุวรรณชาตรี ชี้แจงแนวทางการทำแผนและพัฒนาแผนในระดับพื้นที่ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงของการมีกิจกรรมทางกายเพื่อพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย มีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. พี่เลี้ยงระดับพื้นที่ให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2. พี่เลี้ยงให้มีทักษะการติดตามแผน การเขียนข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผลโครงการ “การทำกิจกรรมทางกาย คืออะไร เพื่อให้ตัวแทนกองทุนที่เข้าร่วมมีความเข้าใจกิจกรรมทางกายมีอะไรบ้าง เช่น การเดิน การทำงาน การประกอบอาชีพ การเล่นกีฬา กิจกรรมเรลลี่ กิจกรรมอาสาฯ ตลอดจนการบูรณาการการชับเคลื่อนงานของโครงการที่มีอยู่แล้วในพื้นที่ เช่น โครงการในส่วนของเทศบาล ในส่วนของกองต่างๆ เช่น โครงการส่วนของกองสาธารณสุข กองสวัสดิการ หรือ การทำโครงการโควิดที่ส่งเสริมให้มีกิจกรรมออกกำลังกายในพื้นที่การกักตัว ของผู้ป่วย เพื่อลดภาวะซึมเศร้า และมีการออกกำลัง เคลื่อนไหว ให้ร่างกายแข็งแรง สามารถต่อสู้กับโรคได้
แนวคิดในการติดตามแผนเราต้องศึกษาทุกมิติทั้งแผนงานกองทุนฯ และแผนของหน่วยงานอื่นๆ ในพื้นที่ ที่มีรูปแบบกิจกรรมสามารถนำมาใส่ในแผนกิจกรรมทางกายได้ หากกองทุนฯไหนทำระดับ พชอ. สามารถเอาแผนอำเภอและแผนในพื้นที่มาเชื่อมโยงกันได้โดยไม่ใช้งบประมาณของกองทุนฯ กระบวนการสร้างพื้นที่ที่เอื้อต่อการทำกิจกรรมทางกาย การสร้างรูปแบบกิจกรรมทางกายในพื้นที่ โดยสอดคล้องกับศิลปะและวัฒนธรรมของพื้นที่ การค้นหาต้นทุน ในพื้นที่ และการเสริมของทุกหน่วยงาน เพื่อให้มีกิจกรรมทางกายทุกมิติ”

2.กองทุนนำเสนอการพัฒนากลไก กิจกรรมทางกายแบบบูรณาการในพื้นที่

  2.1. บริบทของพื้นที่

1.ศพด. ควนเนียงใน บริเวณรอบๆ เป็นทุ่งนามีเนื้อที่ 2ไร่ กิจกรรมที่เคยทำมาก่อน มีการทำแปลงผัก สวนหย่อม ปลูกผักในกระถาง ปลูกผักปลอดสารพิษ และในทุกเช้าก่อนเข้าเรียนเด็กเล็กจะมีการออกกำลังกายเต้นแอโรบิค
2. ทต.บางเหรียง เป็นชุมชนวิถีประมง มีกิจกรรมฟื้นฟูทรัพยากร สัตว์น้ำบริเวณรอบทะเลสาบสงขลา “การทำฟาร์มทะเล” และกิจกรรมทำความสะอาด บริเวณเทศบาล ทุก2เดือน เป็นประจำ ในพื้นที่ชุมชนมีการทำกิจกรรมตามนโยบายจังหวัด ปรับปรับปรุงภูมิทัศน์ การทำความสะอาดบริเวณบ้านเรือน “หน้าบ้าน น่ามอง”

3.ทต ควนเนียง ปชช.ขาดความเข้มแข็ง การรวมตัวเครือข่ายกลุ่มทำได้ยากด้วยเป็นสังคมเมือง ส่วนใหญ่ อสม. เป็นคนขอ คก. / ศพด.ศูนย์เด็ก รร. ไม่ค่อยขอ คก.เพราะมีงบของหน่วยงานตนเอง

4.พี่เลี้ยงแนะนำและให้กองทุนได้เพิ่มเติมข้อมูลในระบบในการทบทวนแผน และพัฒนาโครงการ ปี65 อย่างน้อย 1-2 คก. และให้เลือกโครงการของปี64 ประเมินคุณค่า

 

1.คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย อำเภอควนเนียงเข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย
1) เจ้าหน้าที่กองทุน ทต.บางเหรียง
2) เจ้าหน้าที่กองทุน ทต.ควนเนียง 3) เจ้าหน้าที่กองทุน อบต.รัตภูมิ 4) ตัวแทนครู ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนเนียงใน

2.กองทุน อบต.รัตภูมิ ได้บันทึกขัอมูลโครงการกิจกรรมทางกาย ปี2565 ในระบบเว้ปไซต์กองทุน

3.ตัวแทนครู ศพด.บ้านควนเนียงใน ได้เสนอโครงการกิจกรรมทางกายในเด็กปฐมวัย แบบบูรณาการ โดยมีกิจกรรม 1.ส่งเสริมการจัดทำแปลงผักและปลูกผักที่ชอบ 2.กิจกรรมพื้นแสนสนุก การระบายสี บนพื้นที่ผนังของ ศพด. 3.กิจกรรมเช้าสดใส ออกกำลังกายก่อนเรียน 4.กิจกรรมปลูกฝังจิตอาสาพาน้องเข้าวัดทำความสะอาดวัด ร่วมกับผู้ปกครองและครู 4.เมนูสุขภาพวัยใส เรียนรู้กินอย่างปลอดภัย เป็นต้น

 

ประชุมประเมินคุณค่าโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลน้ำน้อยผ่าน ZOOM 23 เม.ย. 2565 23 เม.ย. 2565

 

.1.พี่เลี้ยงเขต12 จัดประชุมกิจกรรมประชุมพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา
ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom) เพื่อชี้แจงแนวทางการทำแผนและพัฒนาแผนในระดับพื้นที่ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงของการมีกิจกรรมทางกาย พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย

2.ประเมินคุณค่าโครงการ ได้เลือกโครงการรักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อมม.5 เพื่อประเมินคุณค่าโครงการ และนำเสนอในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประเมินผล กิจกรรมทางกายระดับจังหวัด ระหว่างวันที่ 20พค.65 “โครงการรักสุขภาพ รักษ์สิ่งแวดล้อมม.5” เป็นโครงการที่เด่นในเรื่องกลุ่มเป้าหมาย อถล.100คน ซึ่งสมาชิกของกลุ่มมีทั้ง3วัย(วัยเด็ก วัยทำงานและผู้สูงอายุ)
มีกิจกรรมร่วมกันดังนี้

 กิจกรรมการคัดแยกขยะเปียก ขยะแห้งในครัวเรือน

 กิจกรรม อถล.จิตอาสาพิชิตโรค รักษ์สิ่งแวดล้อม ทำความสะอาดพื้นที่ วัด,โรงเรียน,ชุมชน,พื้นที่สาธารณะ แหล่งน้ำ เป็นต้น

 ศูนย์เรียนรู้อบรมให้ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม

 อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ การป้องกันโรคที่เกิดจากขยะและแมลงที่เป็นพาหนะนำโรค เช่น ยุง แมลงวัน หนู เป็นต้น เพื่อลดการเกิดโรค เช่น โรคฉี่หนู โรคอุจาระร่วง โรคไข้เลือดออก

 การแจกจ่ายปุ๋ยให้กับสมาชิกเพื่อนำไปใช้ในแปลงผักสวนครัว และแปลงผักของตนเอง

 กิจกรรม (Big Cleaning Day) ชุมชนสะอาด ชาวบ้านปลอดโรค ทำในทุกเดือน

 การแปรรูปขยะทองคำ (ขยะที่นำเอาเศษกิ่งไม้ ใบหญ้า มาบดด้วยเครื่องจักร)

 ถอดบทเรียน กิจกรรมน่าบ้าน น่ามอง ,ศูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ (ม.5) เพื่อขยายต่อไปยังชุมชนอื่นๆในตำบล

 ขยายเครือข่ายจิตอาสา อถล. ในกลุ่มเด็กเล็ก นักเรียน ของโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่

3.นำเสนอแผนการพัฒนากลไก กิจกรรมทางกายแบบบูรณาการในพื้นที่

-โครงการแอโรบิค ทุกวันพุธ

-โครงการ (Big Cleaning Day)
-โครงการเฝ้าระวังและป้องกันการเกิดโรคอุบัติใหม่ โรคระบาดในชุมชน ปีพ.ศ.2565 ให้กับประชาชน

-โครงการส่งเสริมสุขภาพโดยใช้หลก3อ.

-โครงการสร้างสุข ลดพุง ลดโรค ด้วยบาสโสปและกลองยาว

 

1.คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกายเทศบาลตำบลน้ำน้อย ประกอบด้วย นายปฐวี สุวรรณโรจน์ ,นางสาวสินาภรณ์ จิตต์ภักดี

2.เกิดการประเมินคุณค่าโครงการ

3.พี่เลี้ยงกองทุนมีความเข้าใจในการเชื่อมกิจกรรมทางกายในมิติด้านอื่นๆ

 

ประชุมประเมินคุณค่าโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลท่าช้าง เทศบาลตำบลบ้านหาร อบต.แม่ทอม อบต บางกล่ำ ผ่าน ZOOM 24 เม.ย. 2565 23 เม.ย. 2565

 

1.พี่เลี้ยงเขต12 จัดประชุมกิจกรรมประชุมพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา
ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom) เพื่อชี้แจงแนวทางการทำแผนและพัฒนาแผนในระดับพื้นที่ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงของการมีกิจกรรมทางกาย พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย

2.กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าช้าง วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา และผลกระทบ ดังนี้

 สถานการณ์ปัญหาของพื้นที่เทศบาลตำบลท่าช้าง มีอัตราการฆ่าตัวตายของประชาชนในพื้นที่เกินเกณฑ์ที่กำหนดของกระทรวงสาธารณสุข สาเหตุเกิดเนื่องจากภาวะเครียด ด้านเศรษฐกิจ หนี้สิน และสถานการณ์โรคโควิด-19
 ด้านสังคมวิถีชีวิตความเป็นอยู่ เทศบาลตำบลท่าช้างเป็นสังคมพาหุวัฒนธรรม วิถีไทยพุทธ และไทยมุสลิม มีกลุ่มเครือข่ายชุมชน ประกอบด้วย เครือข่ายแอโรบิคตำบลท่าช้าง (กลุ่มวัยทำงาน) เครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ (13ชุมชน) เครือข่ายทูบีนัมเบอร์วัน (เด็ก-เยาวชนในโรงเรียน) เครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อสร.)

 ด้านองค์กร หน่วยงานในพื้นที่ ประกอบด้วย อปท. อำเภอบางกล่ำ สถาบันการศึกษาในพื้นที่ (มหาวิทยาลัยทักษิณ) คลีนิคให้คำปรึกษาสุขภาพจิต ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิต โรงเรียนผู้สูงอายุ และบริษัทซีพีฮอล์

 ประเภทของการมีกิจกรรมทางกาย ประกอบด้วย การรำไม้พลอง แอโรบิค คีตะมวยไทย โนราบิค ลิเกฮูลู การเดินออกกำลังกาย ปั่นจักรยาน การออกำลังกายด้วยยางยืด กีฬาประจำปี (บานไม่รู้โรยเกมส์) การลงพื้นที่เยี่ยมบ้านของผู้สูงอายุ การปลูกผักสวนครัวของครัวเรือน และการยืดเหยียด หยุดพักในที่ทำงาน ของพนักงานเจ้าหน้าที่เทศบาล มาผ่อนคลายโดยการเต้นเพื่อให้ร่างกายสดชื่น กระปรี้กระเปร่า ช่วยสร้างพลังในการทำงาน

 ด้านสภาพแลดล้อม มีพื้นที่สาธารณะที่ประชาชนในพื้นที่ใช้ประโยชน์ร่วมกัน เช่น ถนนปันสุข มีการจัดภูมิทัศน์ 2ข้างทาง มีการปลูกต้นทองอุไร อย่างน้อย 500ต้น ในช่วงที่มีการออกดอกบานสพรั่ง จะเป็นจุดเชคอิน ถ่ายภาพ ของคนที่ไปเดินออกกำลังกาย และปั่นจักรยาน

 ประเมินคุณค่าโครงการ การป้องกันโรคไข้เลือดออกและการป้องโรคอุบัติใหม่ โควิด-19 ปีพ.ศ.2564 มีการบูรณาการกิจกรรมทางกายในการดำเนินโครงการ เช่น การเดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ชุมชนทุกชุมชน การทำความสะอาด Big Cleanning Day การออกกำลังกายภายในศูนย์กักตัวผู้ป่วยโควิด-19 การใช้กิจกรรมPA เข้ามากระตุ้นด้านการส่งเสริมสุขภาพจิต เพื่อลดภาวะเนือยนิ่ง เครียด ภาวะซึมเศร้า และลดการฆ่าตัวตายของประชาชนในพื้นที่

 

1.เกิดการประเมินคุณค่าโครงการในระบบเว้ปไซต์กองทุน

2.คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกายอำเภอบางกล่ำ จำนวน 4 คน ประกอบด้วย

  - น.ส.กฤษณพร ไพบูลย์เกษมสุทธิ  อบต. บางกล่ำ   - นางธัญชนก สุขยะฤกษ์  อบต. แม่ทอม
  - นางสาวสุลียพร ศรีประไพ เทศบาลตำบลบ้านหาร   - นางสาวสุพรรษา อุไรพันธ์ เทศบาลตำบลท่าช้าง

 

ประชุมประเมินคุณค่าโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลพะตงผ่าน ZOOM 25 เม.ย. 2565 25 เม.ย. 2565

 

.1.พี่เลี้ยงเขต12 จัดประชุมกิจกรรมประชุมพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกาย กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 12 สงขลา
ในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom) เพื่อชี้แจงแนวทางการทำแผนและพัฒนาแผนในระดับพื้นที่ สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงของการมีกิจกรรมทางกาย พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงฯและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย

2..การประเมินคุณค่าโครงการ ได้เลือกโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยโนราบิค 2564 เพื่อประเมินคุณค่าโครงการ และนำในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประเมินผล กิจกรรมทางกายระดับจังหวัด วันที่ 20พค.65 โครงการ“ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยโนราบิค เป็น กิจกรรมที่นำเอาท่าทางของการรำมโนรา มาประยุกต์ใช้เป็นท่าออกกำลังกาย การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ โดยวิทยากรที่เป็นนักกายภาพบำบัด และปราชญ์ชุมชนด้านมโนราห์ พี่เลี้ยงเขตเสนอแนะในการเชื่อมโยงกิจกรรมทางกายในมิติด้านอื่นๆ” ดังนี้

 การทำความสะอาด จัดเก็บขยะ และการกำจัดลูกน้ำยุงลาย บริเวณที่มีการทำกิจกรรม, ครัวเรือน, ชุมชน เพื่อเชื่อมโยงไปสู่กิจกรรมหน้าบ้าน หน้ามอง การปรับสภาพแวดล้อมบริเวณบ้านเรือน เช่น การปลูกผัก ปลูกต้นไม้ ฯลฯ

 การใช้กิจกรรมโนราบิค ส่งเสริมการยืดเหยียดในกลุ่มผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียง ในครอบครัวและชุมชน

3.นำเสนอแผนการพัฒนากลไก กิจกรรมทางกายแบบบูรณาการในพื้นที่

-โครงการคัดแยกขยะ

-โครงการ (Big Cleaning Day)

-โครงการป้องกันและควบคุมโรค
-โครงการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตประจำปีงบประมาณ 2565 ให้กับประชาชนอายุ 35ปี
-กิจกรรม อสม.ขวนวิ่ง

-โครงการป้องกันและควบคุมโรค

-โครงการ อสม.ร่วมใจต้านภัยโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ชุมชน องค์กรต่างๆในพื้นที่

 

1.คณะทำงานพี่เลี้ยงกิจกรรมทางกายเทศบาลตำบลพะตง ประกอบด้วย นายจิรานุวัฒน์ แก้วแร่ ,นางดรุณ๊ วิเชียร

2.เกิดการประเมินคุณค่าโครงการ

3.พี่เลี้ยงกองทุนมีความเข้าใจในการเชื่อมโยงกิจกรรมทางกายกับมิติโครงการด้านอื่นๆ

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการกองทุนตำบล ระบบออนไลน์ เวปไซด์กองทุน ผลการดำเนินโครงการ และการประเมินคุณค่า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 26 เม.ย. 2565 26 เม.ย. 2565

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการผ่านระบบออนไลน์ ในเวปไซด์กองทุน สปสช.
เวลา 09.00-09.30 น.
- เปิดการประชุม ฯ โดย นายจำรอง บุลวรรณ์ นายก อบต.คลองเปียะ
เวลา 09.30 - 10.30 น.
- ทบทวนการจัดทำแผนกิจกรรมทางกาย
- การพัฒนาโครงการในระบบ
เวลา 10.30 - 12.00 น.
- การลงบันทึกกิจกรรม ลงในระบบ
เวลา 12.00 - 13.00 น.
รับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 - 15.30 น.
การสรุปโครงการ
- ผลการดำเนินงาน
- ประเมินคุณค่า
- รายงานการเงิน
- รายงานฉบับสมบูรณ์
เวลา 15.30 - 16.00 น.
- สรุปผลการประชุม
- ปิดการประชุม

 

  1. มีผู้เข้าร่วมประชุม        จำนวน 40 คน
    • พี่เลี้ยงโครงการ/คณะทำงาน    จำนวน 7 คน
    • ผู้ได้รับทุนจากกองทุนและผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 33 คน
  2. ผู้เข้าร่วมประชุมสามารบันทกกิจกรรม สรุปโครงการ รายงานฉบับสมบูรณ์ ได้

 

พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย อบต.ปลักหนู 29 เม.ย. 2565 29 เม.ย. 2565

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปลักหนู และผู้เสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปลักหนู โดยได้ร่วมกันพัฒนาข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปลักหนู

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปลักหนู ร่วมกับผู้เสนอโครงการกรอกข้อมูลพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์ จำนวน 3 โครงการ ได้แก่
1. โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มผู้สูงอายุโดยการรำไทเก็กและบาสโลบ
2. โครงการเดินไปมัสยิดพิชิตสวรรค์ด้วยสุขภาพที่ดี
3. โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กเล็กโดยใช้วัฒนธรรมท้องถิ่น

 

ประชุมพี่เลี้ยงวางแผนการดำเนินงานและรายงานความก้าวหน้าการทำกิจกรรม ระดับจังหวัดสงขลา ครั้งที่ 4 1 พ.ค. 2565 22 เม.ย. 2565

 

ประชุมคณะทำงานพี่เลี้ยงสรุป และแลกเปลี่ยนการทำงานกิจกรรมทางกาย จังหวัดสงขลา
วันอังคารที่ 26 เมษายน 2565 เวลา 19.00-21.30 น. ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (https://localfund.happynetwork.org/zoom) เวลา กิจกรรม 19.00 – 20.00.  ชี้แจงการดำเนินงานกิจกรรมทางกายระดับพื้นที่
20.00 – 21.00 น.  สรุปการทำงานระดับพื้นที่ จ สงขลา
21.00-21.30 น.  แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

 

การจัดทำแผนกิจกรรมทางกายจังหวัดสงขลา มีทีมพี่เลี้ยงทั้งหมด 6 ทีมด้วยกัน ลำดับที่ 1 อำเภอระโนด อำเภอระโนดรายงานว่าจากการทำกิจกรรม แผนกิจกรรมทางกายมีผู้ให้ความสนใจและทำการพัฒนาแผนกิจกรรมทางกาย อบต ท่าบอน ไม่มีปัญหาอุปสรรในการทำกิจกรรม โครงการกิจกรรมทางกายบางกองทุนฯ ยังดำเนินหารอยู่ ลำดับที่ 2 อำเภอหาดใหญ่ อำเภอควนเนียง รูปแบบกิจกรรมเป็นการจัดกิจกรรมรวม 9 กองทุนฯ มี วางแผนว่าจะติดตาม แผนงานโครงการ 2 รูปแบบคือ ผ่าน ZOOM และลงพื้นที่ โครงการกิจกรรมทางกายบางกองทุนฯ ยังดำเนินหารอยู่

ลำดับที่ 3 กองทุนสทิงพระ ไม่มีปัญหาอุปสรรในการทำกิจกรรมโครงการกิจกรรมทางกายบางกองทุนฯ ยังดำเนินหารอยู่

ลำดับที่ 4 อำเภอนาทวี มีการเลือกกองทุนฯ ทำแผนกิจกรรมทางกายจำนวน 6 กองทุนฯ ไม่มีปัญหาในการดำเนินกิจกรรมโครงการกิจกรรมทางกายบางกองทุนฯ ยังดำเนินหารอยู่

ลำดับที่ 5 อำเภอจะนะ เทพา ในการลงพื้นที่จัดทำแผนไม่มีปัญหาอุปสรรค เจ้าหน้าที่ให้ความร่วมมือประสานงานผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี โครงการกิจกรรมทางกายบางกองทุนฯ ยังดำเนินหารอยู่

ลำดับที่ 6 อำเภอบางกล่ำ เป็นกองทุนฯ ที่ขอทำกิจกรรมทางกายในเดือนธันวาคม ทำให้กิจกรรมล่าช้ากว่ากองทุนอื่นที่เข้าโครงการตั้งแต่เริ่มแรก แต่ไม่มีปัญหาอุปสรรคในการทำงานโครงการกิจกรรมทางกายบางกองทุนฯ ยังดำเนินหารอยู่

สรุปการทำกิจกรรม พื้นที่อำเภอบางกล่ำจังหวัดสงขลา

กลุ่มเป้าหมาย กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ในอำเภอบางกล่ำ โดยกลไกกองทุนตำบล เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน ผู้รับผิดชอบงานกองทุน และผู้ขอโครงการ ไปดำเนินการเพิ่มกิจกรรมทางกายPA ให้กับประชาชนในพื้นที่โดยครอบคลุมทุกกลุ่มวัย ส่งเสริมสนับสนุนให้คนในชุมชนมี PAเพิ่มขึ้น มีความรอบรู้ มีการจัดสภาพแวดล้อม พื้นที่สุขภาวะPA.ในชุมชนและมีกลไกขับเคลื่อนPA ประกอบด้วย กองทุนตำบล เครือข่ายกลุ่มต่างๆ
โดยใช้แนวทางในการของบประมาณกองทุนฯ ได้ตามระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพปี 2556 การพัฒนาโครงการด้านกิจกรรมทางกายสามารถทำได้ทุกกลุ่มวัยและสามารถ เพิ่มเติมกิจกรรมในโครงการต่างๆ ให้คนมีกิจกรรมทางกายเพิ่มมากขึ้นเช่น กิจกรรมก่อนการอบรมควรเพิ่มเติมการ ขยับร่างกาย ก่อนการอบรม หรือหลังพักเที่ยง เพื่อเป็นการผ่อนคลายและได้เรื่องสุขภาพ หรืออย่างเช่นของเทศบาสลตำบลท่าช้างมีแนวคิด เพิ่มกิจกรรมทางกายในศูนย์กักตัวคนที่ติดเชื้อ covid – 19 หรือตัวอย่างของโณงเรียนต่างๆ ที่ทำกิจกรรมทางกายก่อนเข้าห้องเรียน เช่นพื้นมหาสนุก โดยให้เด็กนักเรียนวาด หรือใช้ภาพ ที่น่าสนใจในการทำกิจกรรม ตาราง 9 ช่อง หรือ เป็นอักษร ให้เด็กได้อ่านและเล่น ก่อนเข้าเรียน โดยสามารถอนุมัติโครงการได้ตาม ประเภทผู้ขอรับทุน ดังนี้
การถอดบทเรียนวิเคราะห์ปัญหาพื้นที่ ครอบคลุมมิติกิจกรรมทางกายในพื้นที่อำเภอบางกล่ำ
สถานการณ์ปัญหาของพื้นที่เทศบาลตำบลท่าช้าง มีอัตราการฆ่าตัวตายของประชาชนในพื้นที่เกินเกณฑ์ที่กำหนดของกระทรวงสาธารณสุข สาเหตุเกิดเนื่องจากภาวะเครียด ด้านเศรษฐกิจ หนี้สิน และสถานการณ์โรคโควิด-19  ด้านสังคมวิถีชีวิตความเป็นอยู่ เทศบาลตำบลท่าช้างเป็นสังคมพาหุวัฒนธรรม วิถีไทยพุทธ และไทยมุสลิม มีกลุ่มเครือข่ายชุมชน ประกอบด้วย เครือข่ายแอโรบิคตำบลท่าช้าง (กลุ่มวัยทำงาน) เครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ (13ชุมชน) เครือข่ายทูบีนัมเบอร์วัน (เด็ก-เยาวชนในโรงเรียน) เครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อสร.)

 ด้านองค์กร หน่วยงานในพื้นที่ ประกอบด้วย อปท. อำเภอบางกล่ำ สถาบันการศึกษาในพื้นที่ (มหาวิทยาลัยทักษิณ) คลีนิคให้คำปรึกษาสุขภาพจิต ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิต โรงเรียนผู้สูงอายุ และบริษัทซีพีฮอล์

 ประเภทของการมีกิจกรรมทางกาย ประกอบด้วย การรำไม้พลอง แอโรบิค คีตะมวยไทย โนราบิค ลิเกฮูลู การเดินออกกำลังกาย ปั่นจักรยาน การออกำลังกายด้วยยางยืด กีฬาประจำปี (บานไม่รู้โรยเกมส์) การลงพื้นที่เยี่ยมบ้านของผู้สูงอายุ การปลูกผักสวนครัวของครัวเรือน และการยืดเหยียด หยุดพักในที่ทำงาน ของพนักงานเจ้าหน้าที่เทศบาล มาผ่อนคลายโดยการเต้นเพื่อให้ร่างกายสดชื่น กระปรี้กระเปร่า ช่วยสร้างพลังในการทำงาน

 ด้านสภาพแลดล้อม มีพื้นที่สาธารณะที่ประชาชนในพื้นที่ใช้ประโยชน์ร่วมกัน เช่น ถนนปันสุข มีการจัดภูมิทัศน์ 2ข้างทาง มีการปลูกต้นทองอุไร อย่างน้อย 500ต้น ในช่วงที่มีการออกดอกบานสพรั่ง จะเป็นจุดเชคอิน ถ่ายภาพ ของคนที่ไปเดินออกกำลังกาย และปั่นจักรยาน

 ประเมินคุณค่าโครงการ การป้องกันโรคไข้เลือดออกและการป้องโรคอุบัติใหม่ โควิด-19 ปีพ.ศ.2564 มีการบูรณาการกิจกรรมทางกายในการดำเนินโครงการ เช่น การเดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ชุมชนทุกชุมชน การทำความสะอาด Big Cleanning Day การออกกำลังกายภายในศูนย์กักตัวผู้ป่วยโควิด-19 การใช้กิจกรรมPA เข้ามากระตุ้นด้านการส่งเสริมสุขภาพจิต เพื่อลดภาวะเนือยนิ่ง เครียด ภาวะซึมเศร้า และลดการฆ่าตัวตายของประชาชนในพื้นที่

 

ประชุมประเมินคุณค่าโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองควนลังผ่าน ZOOM 4 พ.ค. 2565 22 เม.ย. 2565

 

 

 

 

 

ติดตามผลการดำเนินงานของกองทุนตามแผนงานที่เสนอขอรับทุน รุ่นที่ 1 10 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมนำเสนอผลการดำเนินงานกองทุนต้นแบบกิจกรรมทางกาย ระบบออนไลน์ เวปไซด์กองทุนตำบล อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา 11 พ.ค. 2565 11 พ.ค. 2565

 

เวลา 09.30 - 10.00 น. ปลัดเทศบาลตำบลบ้านนากล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุมทั้ง 12 กองทุน

เวลา 10.00 - 12.00 น. คณะพี่เลี้ยงโครงการ ทบทวนและสรุปขั้นตอน การจัดทำแผนงาน แผนเงิน พัฒนาโครงการ สรุปโครงการ และประเมินคุณค่าโครงการ
เวลา 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

เวลา 13.00 - 16.00 น. กองทุนนำเสนอผลการดำเนินงานกิจกรรมทางกายของกองทุน ดังนี้
                - ทต.บ้านนา กิจกรรมทางกายลดพุง ลดโรค บ้านบ่อต้นแซะ คนสามวัยใส่ใจการออกกำลังกายฯ

                - อบต.ขุนตัดหวาย การส่งเสริมสุขภาพเพิ่มกิจกรรมทางกายใส่ใจการออกกำลังกาย การเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID)

                - อบต.ท่าหมอไทร บริหารกายให้ได้เหงื่อเพื่อสุขภาพบ้านหัวควน  บ้านหัวควนครอบครัวสัมพันธ์ป้องกันลูกติดยา ปี 2564

                - อบต.สะกอม หงวย(ขยับ) วันละนิด เพื่อสุขภาพชีวิตที่ดีกว่า  การป้องกันและแก้ไขปญหาโรคระบาดไวรัสโคโรน่าระลอกใหม่

                - อบต.ตลิ่งชัน หนูน้อยวัยใส ห่วงใยสุขภาพ ศพด.บ้านป่างาม ปี 2565  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่างามมีคุณภาพและปลอดโรค ปี 2564

                - อบต.นาหว้า หนูน้อยวัยใส ใส่ใจสุขภาพ    การเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุลดการเกิดโรคจากอุบัติเหตุ

                - อบต.สะพานไม้แก่น ส่งเสริมการเพิ่มกิจกรรมทางกายแก่บุคลากร อบต.สะพานไม้แก่น การป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID)ในโรงเรียน

                - อบต.น้ำขาว ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยแอโรบิค  การเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อ

                - อบต.จะโหนง เสริมสร้างสุขภาพดีด้วยกิจกรรมทางกายบ้านปากช่อง  ส่งเสริมการออกกำลงกายบ้านทุ่งส้าน

                - อบต.ป่าชิง ส่งเสริมกิจกรรมทางกายบ้านดอนไฟ  ขยับกาย สบายชีวี (เต้นบาสโลปเพื่อสุขภาพ)

                - อบต.เกาะสะบ้า ส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยการเต้นแอโรบิคบ้านหัวสวน  อาหารเช้าอิ่มท้องเพื่อน้องโรงเรียนบ้านโคกพยอม

                - อบต.ฉาง สูงวัย ใส่ใจสุขภาพ เพิ่มกิจกรรมทางกายตำบลฉาง  การส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของเกษตรกรปลูกผักและผลไม้

 

  • จำนวนกองทุนที่เข้าร่วมนำเสนอผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมกิจกรรม PA. จำนวน 12 กองทุน จำนวน 30 คน
  • แต่ละกองทุนมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน
  • มีโครงการต้นแบบกิจกรรมทางกายเกิดขึ้นนทุกองทุนทั้ง 12 กองทุน

 

ติดตามผลการดำเนินงานของกองทุนตามแผนงานที่เสนอขอรับทุน รุ่นที่ 2 11 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ประเมินคุณค่า สรุปโครงการและผลการปฏิบัติงาน 11 พ.ค. 2565 12 พ.ค. 2565

 

อบรม เจ้าหน้าที่/ผู้รับผิดชอบกองทุนฯ อำเภอหนองจิก /อำเภอเมือง/อำเภอยะหริ่ง จำนวน 60 คน เพื่อสรุปโครงการ  ผลการปฏิบัติงาน ประเมินคุณค่า  ลงข้อมูลงาน PA  โดยผ่าน Website  กองทุนตำบล

 

เวลา 9.00 นายมะรอกี เวาะเลง พี่เลี้ยงจังหวัดปัตตานี ได้กล่าวต้อนรับและชี้แจงรายละเอียดติดตามงานกิจกรรมทางกาย ของกองทุนจังหวัดปัตตานี โดยมีการบรรยายการดำเนินงานสรุปโครงการ ผลการปฏิบัติงาน และ ประเมินคุณค่าโครงการงาน PA โดยผ่าน Website กองทุนตำบล จากววิทยากรทั้ง 2 ท่าน โดยสรุป ทุกกองทุนฯ ทั้ง 12 กองทุนอยู่ในช่วงของการดำเนินโครงการกิจกรรมทางกาย ส่วนกองทุนที่ดำเนินโครงการกิจกรรมทางกาย ที่แล้วเสร็จไป 1 โครงการ คือ กองทุนเทศบาลตำบลหนองจิก       โดยให้แต่ละกองทุนอยู่ในช่วงของการดำเนินโครงการกิจกรรมทางกาย ดังนี้
1.กองทุนปูยุด          จำนวน 1  โครงการ
2.กองทุนตาลีอายร์      จำนวน 1  โครงการ
3.กองทุนปุโละปุโย    จำนวน 1  โครงการ
4.กองทุนตันหยงลุโละ    จำนวน 2  โครงการ
5.กองทุนตะลุโบะ      จำนวน 2  โครงการ
6.กองทุนเทศบาลตำบลหนองจิก    จำนวน 2  โครงการ
7.กองทุนเทศบาลตำบลยะหริ่ง  จำนวน 2  โครงการ
8.กองทุนยาบี    จำนวน 1  โครงการ
9.กองทุนตุยง    จำนวน 6 โครงการ
11.กองทุนบางตาวา    จำนวน 2  โครงการ
12.กองทุนคอลอตันหยง  จำนวน 2 โครงการ

โดยกองทุนดังกล่าวจะเร่งดำเนินกิจกรรมทางกายให้แล้วเสร็จภายใน เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน 2565 นี้

      เวลา 16.00 นายมะรอกี เวาะเลง พี่เลี้ยงจังหวัดปัตตานี กล่าวขอบคุณและปิดการประชุม

 

ประชุมคณะทำงานพี่เลี้ยง จังหวัดยะลา ครั้งที่ 4 13 พ.ค. 2565 13 พ.ค. 2565

 

1.ประชุมติดตามการดำเนินงานแต่ละกองทุนที่รับผิดชอบ 2.หารือแนวทางการดำเนินงานเดือนพ.ค.2565

 

ระเบียบวาระการประชุม ครั้งที 4 วันที 13-05-65 1.การสร้างแผนกิจกรรม และโครงการPA แต่ละตำบล 18 ตำบล ตรวจความสมบูรณ์ 1.1 รายละเอียดที่ยัง กองทุนระบบ ยังไม่เปลี่ยนแปลง 1.อำเภอรามัน : ยะ : เพิ่ม  อบต.บาโงย / โกตาบารู / เนินงาม
2.อำเภรามัน : รูสลาม : เพิ่ม กอตอตือระ / กาลอ 3.อำเภอเบตง :ปารีดะ : เพิ่ม อบต.อัยเยอร์เวง  (ตัดทต.ธารน้ำทิพย์) 4. อำเภอกรงปินัง นาดินร์ : เพิ่ม อบต.ปุโรง 5.อำเภอบันนังสตา : อิสมาแอล : เพิ่ม ทต.บันนังสตา 6.อำเภอเมืองยะลา : มาเรียม : ตัด ทต.บุดี 2.การลงข้อมูลในระบบ กิจกรรมทีผ่านมา (รูปและรายงาน) เหลือ กิจกรรมการประชุม ครั้ง 1 และ 2 และ 4
3.วางแผนกิจกรรมเดือนพ.ค.2565
ประเด็นปัญหาของทีมยะลา ในการดำเนินกิจกรรมที่คงเหลือ 3 กิจกรรม คือ 1.กิจกรรมติดตาม หนุนเสริม  2.กิจกรรมประเมินคุณค่า 3. กิจกรรมถอดบทเรียน เรื่องการดำเนินกิจกรรมและโครงการในกองทุน ณ ตอนนี้ หลายกองทุนเพิ่มจะผ่านการอนุมัติ  และช่วงดำเนินกิจกรรม
ในเรื่องนี้ ขอหารือกับ พีเปิล ในการดำเนินกิจกรรมในแล้วเสร็จ

4.วาระอื่นๆ อยากให้ทางน้องปริมช่วยสรุปรายจ่ายของแต่ละกิจกรรม ว่าใช้จ่ายทั้งหมดเท่าไรและคงเหลือเท่าไหร เพื่อในการปรับแผน กิจกรรม

 

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียนโ๕รงการด้านกิจกรรมทางกายระดับจังหวัดสงขลา 20 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย อบต.ทับช้าง 25 พ.ค. 2565 25 พ.ค. 2565

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทับช้าง และผู้เสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทับช้าง โดยได้ร่วมกันพัฒนาข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทับช้าง

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทับช้าง ร่วมกับผู้เสนอโครงการกรอกข้อมูลพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์เพื่อเป็นต้นแบบ จำนวน 1 โครงการ ได้แก่ โครงการ 1 ครัวเรือน 1 แปลงผัก สร้างเสริมสุขภาพ

 

ติดตามผลการดำเนินงานของกองทุนตามแผนงานและประเมินคุณค่าโครงการ ครั้งที่ 1 อำเภอรามัน 27 พ.ค. 2565 27 พ.ค. 2565

 

  1. เริ่มกระบวนโดยทางพี่เลี้ยงได้กล่าววัตถุประสงค์และทักท้าย
    1. ให้ทางกลุ่มผู้รับทุนได้แนะนำความเป็นมาของกลุ่มและวัตถุประสงค์และการดำเนินงานที่ผ่านมา
    2. การนำเสนอโครงการ PA ที่ผ่านดำเนินงานเสร็จสิ้นกิจกรรมแล้ว
    3. พี่เลี้ยงสอนกระบวนการบันทึกกิจกรรมผ่านระบบของโครงการผู้รับทุน
    4. พี่เลี้ยงสอนการประเมินคุณค่าของโครงการ และวิธิการทำรายงานฉบับสมบูรณ์ในระบบ

 

ผลที่เกิดขึ้น 1. โครงการบาโงยซือญาตี ก้าวท้าใจ ( Bangoy Sejati  virtual run  season 1 ) ชมรมวิ่งบาโงยซือญาตี โดยกลุ่มชมรมวิ่งบาโงยซือญาตี  เป็นกลุ่มองค์กรที่ร่วมตัวของคนในชุมชนที่ทำงานด้านการส่งเสริมการออกกำลังกายให้กับคนใมชน  นำเสนอโครงการบาโงยซือญาตี ก้าวท้าใจ ( Bangoy Sejati  virtual run  season 1 ) วัตถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกาย อย่างถูกต้อง เหมาะสม และต่อเนื่องภายใต้ campaign “ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเดิน – วิ่ง - ปั่นจักรยาน สะสมระยะทาง (virtual run)  บาโงยซือญาตีก้าวท้าใจ ๙๐ วัน ๙๐๐ กิโลเมตร” ซึ่งเป็นรูปแบบการออกกำลังกายที่มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาเพื่อช่วยกระตุ้นให้ประชาชนออกกำลังกาย ซึ่งประชาชนสามารถทำได้ง่าย ทุกสถานที่ ทุกเวลา เพียงบันทึกระยะทางสะสมการเดิน – วิ่ง - ปั่นจักรยาน ในแอพพลิเคชั่น Google Form โดยระบบจะทำการบันทึกและประมวลผล พร้อมประเมินดัชนีมวลกาย (BMI) และให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพแต่ละบุคคล 2. โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โรงเรียนผู้สูงอายุบาโงยซือญาตี องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงย อำเภอรามัน จังหวัดยะลา โดยการใช้ยางยืด เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้สูงอายุในเขตตำบลบาโงยได้สร้างโอกาสในการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ตนเองและใช้เวลาว่างในการทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ร่วมกัน ด้วยการออกกำลังกายแบบง่ายๆ และสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในสถานที่และเวลาที่เหมาะสม ซึ่งทางพีเลี้ยง PA ยะลา ได้มีการสอนการเข้าสู่ระบบของเว็บกองทุน ในการบันทึกกิจกรรมผ่านระบบโดยไม่ต้องใช้กระดาษ และสอนการประเมินคุณค่าของโครงการ ที่ดำเนินการที่ผ่านมา ซึ่งผลของการนั่งและทบทวนกิจกรรมผ่านการประเมินทางตัวแทนกลุ่มได้เห็น แนวทางการพัฒนาต่อยอดของการดำเนินกิจกรรมในอนาคตได้ ในส่วนของโครงการ PA ประจำปี 2656 ทางกองทุนและผู้รับทุนยังอยู่ในห้วงเวลาของปฏิฑินการดำเนินงานอยู่ ซึ่งจะแล้วเสร็จกิจกรรมในช่วงประมาณเดือนกรฏาคม และบางโครงการยังอยู่ในขั้นตอนของการเข้าที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนเพื่อพิจารณาอนุมัติ

 

ถอดบทเรียนผลการดำเนินงานโครงการ 28 พ.ค. 2565 28 พ.ค. 2565

 

การดำเนินงานการถอดบทเรียนผลการดำเนินงานกิจกรรมทางกาย(PA) และนำเสนอที่ละกลุ่มของกองทุนฯ รุ่นที่ 1 วันที่ 28 พฤษภาคม 2565 จำนวน 6 กองทุน       รุ่นที่ 2 วันที่ 29 พฤษภาคม 2565 จำนวน 6 กองทุน

 

การดำเนินงานการถอดบทเรียนผลการดำเนินงานกิจกรรมทางกาย(PA) และนำเสนอที่ละกลุ่มของกองทุนฯ จังหวัด  โดยสรุป ทุกกองทุนฯ ทั้ง 12 กองทุนสามารถถอดบทเรียนกิจกรรมทางกาย  ดังนี้ 1.กองทุนปูยุด      ถอดบทเรียนโครงการกิจกรรมออกกำลัยกาย ขยับกายสบายชีวาตำบลปูยุด
2.กองทุนตาลีอายร์            ถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย (กิจกรรมเต้นแอโรบิค)
3.กองทุนปุโละปุโย      ถอดบทเรียนโครงการขยับกายใส่ใจสุขภาพวัยทำงานตำบลปุโละปุโย
4.กองทุนตันหยงลุโละ          ถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมสุขภาพขยับกาย สบายชีวี
5.กองทุนตะลุโบะ              ถอดบทเรียนโครงการขยับกาย สบายชีวี ด้วยปันจักสีลัต ตำบลตะลุโบะ
6.กองทุนเทศบาลตำบลหนองจิก ถอดบทเรียนโครงการพัฒนาศักยภาพด้านกีฬาฟุตซอลชุมชนย่านมัสยิด
7.กองทุนเทศบาลตำบลยะหริ่ง    ถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมการขยับกายสบายชีวาด้วย10ท่ารำด้วย                                         ไม้พลองในผู้อายุและสตรี ชุมชนหน้าวัง เทศบาลตำบลยะหริ่ง
8.กองทุนยาบี        ถอดบทเรียนโครงการคนสามวัยตำบลยาบี ขยับกายเพื่อสุขภาพ
9.กองทุนตุยง      ถอดบทเรียนโครงการเยาวชนเข้มแข็ง รักตัวเอง รักบ้านเกิด
10.กองทุนตะโละกาโปร์    ถอดบทเรียนโครงการผู้สูงอายุขยับกาย สร้างรายได้จากดอกหญ้า
11.กองทุนบางตาวา      ถอดบทเรียนโครงการขยับกาย สลายพุง ฝึกจิต พิชิตโรค 12.กองทุนคอลอตันหยง    ถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมสุขภาพสานสัมพันธ์ห่างไกลยาเสพติด
โดยกองทุนดังกล่าวสามารถสรุปประเด็นที่ได้รับประโยชน์จากการ ดำเนินกิจกรรมทางกาย ( PA )ในแต่ละโครงการ พร้อมดำเนินงานต่อยอดในปีต่อๆไป เพื่อการลดโรคของกลุ่มเป้า สร้างภูมิคุ้มกันในตัวเองและสร้างสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ให้ประชาชนในชุมชนต่อไป

 

ถอดบทเรียนผลการดำเนินงาน 28 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ติดตามผลการดำเนินงานของกองทุนตามแผนงานและประเมินคุณค่าโครงการ ครั้งที่ 2 อำเภอเมืองยะลา 30 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ติดตามผลการดำเนินงานของกองทุนตามแผนงานและประเมินคุณค่าโครงการ ครั้งที่ 3 อำเภอกรงปินัง 30 พ.ค. 2565 30 พ.ค. 2565

 

1.เริ่มกระบวนโดยทางพี่เลี้ยงได้กล่าววัตถุประสงค์และทักท้าย 2.ให้ทางกลุ่มผู้รับทุนได้แนะนำความเป็นมาของกลุ่มและวัตถุประสงค์และการดำเนินงานที่ผ่านมา 3.การนำเสนอโครงการ PA ที่ผ่านดำเนินงานเสร็จสิ้นกิจกรรมแล้ว 4.พี่เลี้ยงสอนกระบวนการบันทึกกิจกรรมผ่านระบบของโครงการผู้รับทุน 5.พี่เลี้ยงสอนการประเมินคุณค่าของโครงการ และวิธีการทำรายงานฉบับสมบูรณ์ในระบบ

 

ในการนำเสนอครั้งนี้ ทางกองทุนสุขภาพตำบลห้วยกระทิง ได้มีกลุ่มผู้รับทุนมาเรียนรู้และปฏิบัติการจัดทำประเมินคุณค่าของโครงการ ทั้งหมด 1 โครงการ และกองทุนสุขภาพตำบลสะเอะ 1 โครงการ ดังนี้ 1.กองทุนสุขภาพตำบลห้วยกระทิง  โดยกลุ่มโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลห้วยกระทิง  เป็นกลุ่มองค์กรที่ร่วมตัวของคนในชุมชนที่ทำงานด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ  นำเสนอโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดี ตามวิถีอิสลาม 2.กองทุนสุขภาพตำบลสะเอะ โดยสำนักปลัด โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย ลดพุง ลดโรค ประจำปี 2563 ซึ่งทางพีเลี้ยง PA ยะลา ได้มีการสอนการเข้าสู่ระบบของเว็บกองทุน ในการบันทึกกิจกรรมผ่านระบบโดยไม่ต้องใช้กระดาษ และสอนการประเมินคุณค่าของโครงการ ที่ดำเนินการที่ผ่านมา ซึ่งผลของการนั่งและทบทวนกิจกรรมผ่านการประเมินทางตัวแทนกลุ่มได้เห็น แนวทางการพัฒนาต่อยอดของการดำเนินกิจกรรมในอนาคตได้ ในส่วนของโครงการ PA ประจำปี 2656 ทางกองทุนและผู้รับทุนยังอยู่ในห้วงเวลาของปฏิฑินการดำเนินงานอยู่ ซึ่งจะแล้วเสร็จกิจกรรมในช่วงประมาณเดือนกรฏาคม และบางโครงการยังอยู่ในขั้นตอนของการเข้าที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนเพื่อพิจารณาอนุมัติ

 

ติดตามผลการดำเนินงานของกองทุนตามแผนงานและประเมินคุณค่าโครงการ ครั้งที่ 5 อำเภอเบตง 30 พ.ค. 2565 30 พ.ค. 2565

 

1.เริ่มกระบวนโดยทางพี่เลี้ยงได้กล่าวทักท้ายและวัตถุประสงค์ 2.ให้ทางกลุ่มผู้รับทุนได้แนะนำความเป็นมาของกลุ่มและวัตถุประสงค์และการดำเนินงานที่ผ่านมา 3.การนำเสนอโครงการ PA ที่ผ่านดำเนินงานเสร็จสิ้นกิจกรรมแล้ว 4.พี่เลี้ยงสอนกระบวนการบันทึกกิจกรรมผ่านระบบของโครงการผู้รับทุน 5.พี่เลี้ยงสอนการประเมินคุณค่าของโครงการ และวิธีการทำรายงานฉบับสมบูรณ์ในระบบ

 

ในการนำเสนอครั้งนี้ ทางกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง  ได้มีกลุ่มผู้รับทุนมาเรียนรู้และปฏิบัติการจัดทำประเมินคุณค่าของโครงการ จำนวน  1 โครงการ และกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยะรม จำนวน 1 โครงการ ดังนี้ 1.กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง  โดยอสม.ชุมชนเบตงฮูลู เป็นกลุ่มองค์กรที่ร่วมตัวของคนในชุมชนในเทศบาลเมืองเบตง ที่ทำงานด้านการส่งเสริมสุขภาพประชาชนในชุมชน  นำเสนอโครงการขยับกาย สบายชีวี ด้วยวิธีแอโรบิค  ประจำปี 2564 2.กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยะรม  โดย ชมรมแอโรบิคบ้านจันทรัตน์  เป็นกลุ่มองค์กรที่ร่วมตัวของประชาชนในหมู่บ้าน  นำเสนอโครงการอบรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพขยับกาย สบายชีวี ด้วยวิธีแอโรบิค ประจำปี  2562 ซึ่งทางพีเลี้ยง PA ยะลา ได้มีการสอนการเข้าสู่ระบบของเว็บกองทุน ในการบันทึกกิจกรรมผ่านระบบโดยไม่ต้องใช้กระดาษ และสอนการประเมินคุณค่าของโครงการ ที่ดำเนินการที่ผ่านมา ซึ่งผลของการนั่งและทบทวนกิจกรรมผ่านการประเมินทางตัวแทนกลุ่มได้เห็น แนวทางการพัฒนาต่อยอดของการดำเนินกิจกรรมในอนาคตได้ ในส่วนของโครงการ PA ประจำปี 2656 ทางกองทุนและผู้รับทุนยังอยู่ในห้วงเวลาของการดำเนินงานอยู่ ซึ่งจะแล้วเสร็จกิจกรรมในช่วงประมาณเดือนมิถุนายน  และบางโครงการยังอยู่ในขั้นตอนของการเข้าที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนเพื่อพิจารณาอนุมัติ

 

ติดตามผลการดำเนินงานของกองทุนตามแผนงานและประเมินคุณค่าโครงการ ครั้งที่ 4 อำเภอบันนังสตา 31 พ.ค. 2565 31 พ.ค. 2565

 

1.เริ่มกระบวนโดยทางพี่เลี้ยงได้กล่าววัตถุประสงค์และทักท้าย 2.ให้ทางกลุ่มผู้รับทุนได้แนะนำความเป็นมาของกลุ่มและวัตถุประสงค์และการดำเนินงานที่ผ่านมา 3.การนำเสนอโครงการ PA ที่ผ่านดำเนินงานเสร็จสิ้นกิจกรรมแล้ว 4.พี่เลี้ยงสอนกระบวนการบันทึกกิจกรรมผ่านระบบของโครงการผู้รับทุน 5.พี่เลี้ยงสอนการประเมินคุณค่าของโครงการ และวิธิการทำรายงานฉบับสมบูรณ์ในระบบ

 

ในการนำเสนอครั้งนี้ ทางกองทุนสุขภาพตำบลบาเจาะ ได้มีกลุ่มผู้รับทุนมาเรียนรู้และปฎิบัติการจัดทำประเมินคุณค่าของโครงการ ทั้งหมด 2 โครงการ จาก 2 กลุ่มองค์กร คือ 1.กลุ่ม Kampung ku sihat คนรุ่นใหม่สร้างเสริมสุขภาพชุมชน ม.2 เป็นกลุ่มองค์กรที่ร่วมตัวของคนในชุมชนที่ทำงานด้านสายสาธารณสุข ในองค์กรต่างๆในพื้นที 3 จชต.ภาคใต้ ที่อยู่ในพื้นทีตำบลบาเจาะ โดยจะเน้นพัฒนากลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุในพื้นที 2.กลุ่มคอลอกาเอ รวมใจ ห่วงใยสุขภาพ เป็นกลุ่มที่รวมตัวของครูโรงเรียนตาดีกา โดยมีโต๊ะอีหม่ามมัสยิดเป็นประธานกลุ่ม โดยกลุ่มมีเป้าหมายในการพัฒนาเยาวชนในพื้นที โดยเฉพาะกลุ่มเด็กระดับประถมศึกษา ในการยกระดับศักยภาพและแก้ปัญหาต่างๆ ซึ่งทางพีเลี้ยง PA ยะลา ได้มีการสอนการเข้าสู่ระบบของเว็บกองทุน ในการบันทึกกิจกรรมผ่านระบบโดยไม่ต้องใช้กระดาษ และสอนการประเมินคุณค่าของโครงการ ที่ดำเนินการที่ผ่านมา โดยมี 2 โครงการ คือ (1)โครงการอบรมทักษะด้านกีฬาเด็กและเยาวชนในชุมชน(โครงการต่อเนื่อง) หมู่ที่ 5 ระหัส 63-L4127-2-18 โดยกลุ่มคอลอกาเอ รวมใจ ห่วงใยสุขภาพ (2)โครงการ สูงวัย ใส่ใจสุขภาพ ( young @heart smart senior สัญจรตำบลบาเจาะ ) ระหัส 63-L4127-2-19 ซึ่งผลของการนั่งและทบทวนกิจกรรมผ่านการประเมินทางตัวแทนกลุ่มได้เห็น แนวทางการพัฒนาต่อยอดของการดำเนินกิจกรรมในอนาคตได้

 

พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย อบต.นาหมอศรี 6 มิ.ย. 2565 6 มิ.ย. 2565

 

พี่เลี้ยงลงพื้นที่พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย(PA) ร่วมกับเจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาหมอศรี และผู้เสนอโครงการขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุน โดยได้ร่วมกันพัฒนาข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาหมอศรี

 

เจ้าหน้าที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทับช้าง ร่วมกับผู้เสนอโครงการกรอกข้อมูลพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์  จำนวน 3 โครงการ

 

ติดตามประเมินคุณค่า ติดตามและประเมินผลโครงการ อบต.ท่าบอน อำเภอ ระโนด ปี 2564 เขต 12 โดย นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล 29 ก.ค. 2565