สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 10

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 10 ”

อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร, อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ, อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี (รวม 54 กองทุน)

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจงกลนี ศิริรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 10

ที่อยู่ อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร, อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ, อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี (รวม 54 กองทุน) จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 10 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร, อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ, อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี (รวม 54 กองทุน)

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 10



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 10 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร, อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ, อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี (รวม 54 กองทุน) รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 31 พฤษภาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 900,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน,พี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลและให้ผู้เสนอโครงการมีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  2. 2) เพื่อพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอ โครงการกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แผนการสนับสนุนกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงาน
  2. แผนพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบลเพื่อยกระดับคุณภาพโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  3. แผนการติดตามหนุนเสริมกองทุนฯ เพื่อยกระดับเป็นศูนย์การเรียนรู้โครงการ PA
  4. แผนการสรุปผลการดำเนินงาน
  5. (ลงพื้นที่) ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกับทีมพี่เลี้ยง พชอ.ในระดับอำเภอทั้ง 3 อำเภอพื้นที่เป้าหมาย
  6. ประชุมทีมคณะทำงานระดับเขตเพื่อออกแบบและวางแผนแนวทางการยกระดับโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบล ครั้งที่ 1
  7. เวทีชี้แจงเป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน และสร้างการรับรู้แนวคิดการส่งเสริมกิกจรรมทางกาย (PA Literacy) และวางแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
  8. เวทีชี้แจงเป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน และสร้างการรับรู้แนวคิดการส่งเสริมกิกจรรมทางกาย (PA Literacy) และวางแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
  9. เวทีชี้แจงเป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน และสร้างการรับรู้แนวคิดการส่งเสริมกิกจรรมทางกาย (PA Literacy) และวางแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
  10. สนับสนุนให้กองทุนฯ จัดเวทีประชาคมจัดทำแผนกิจกรรมทางกายระดับตำบล (PA) กองทุนละ 1 เวที
  11. ประชุมทีมคณะทำงาน,พี่เลี้ยงระดับอำเภอ/จังหวัด เพื่อวางแผนการดำเนินงานการจัดทำแผนงานโครงการ ทั้ง 3 อำเภอ
  12. ประชุมทีมคณะทำงานระดับเขตเพื่อออกแบบและวางแผนแนวทางการยกระดับโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบล ครั้งที่ 2
  13. เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการจัดทำแผน พัฒนาโครงการ PA ผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี
  14. เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการจัดทำแผน พัฒนาโครงการ PA ผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ
  15. เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการจัดทำแผน พัฒนาโครงการ PA ผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร
  16. เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการติดตามประเมินผลผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ
  17. เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการติดตามประเมินผลผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร
  18. เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการติดตามประเมินผลผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี
  19. ประชุมทีมคณะทำงานระดับเขตเพื่อออกแบบและวางแผนแนวทางการยกระดับโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบล ครั้งที่ 3
  20. การติดตามหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของกองทุนฯ กองทุนฯ อ.คำเขื่อนแก้ว
  21. การติดตามหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของกองทุนฯ กองทุนฯ อ.เขื่องใน
  22. การติดตามหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของกองทุนฯ กองทุนฯ อ.กันทรลักษ์
  23. ประชุมทีมคณะทำงานระดับเขตเพื่อออกแบบและวางแผนแนวทางการยกระดับโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบล ครั้งที่ 4
  24. เวทีถอดบทเรียน/ยกระดับศูนย์การเรียนรู้ PA กองทุนตำบลพื้นที่ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ
  25. เวทีถอดบทเรียน/ยกระดับศูนย์การเรียนรู้ PA กองทุนตำบลพื้นที่ อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร
  26. เวทีถอดบทเรียน/ยกระดับศูนย์การเรียนรู้ PA กองทุนตำบลพื้นที่ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี
  27. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และหาแนวทางการผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้เป็นนโยบายสาธารณะในระดับอำเภอและระดับอื่นๆ
  28. เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานระดับเขต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) ทีมเลี้ยงและผู้เสนอโครงการมีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2) เกิดศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกายต้นแบบ
3) ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีส่วนร่วมดำเนินโครงการกิจกรรมทางกายอย่างเป็นรูปธรรม 4) ชุดความรู้บทเรียนการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อเป็นกรณีศึกษา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. (ลงพื้นที่) ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกับทีมพี่เลี้ยง พชอ.ในระดับอำเภอทั้ง 3 อำเภอพื้นที่เป้าหมาย

วันที่ 11 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงวัตถุประสงค์และความเป็นมาของโครงการ
  2. สรรหากลไกคณะทำงานระดับอำเภอ/จังหวัด
  3. ชี้แจงรายละเอียดการจัดเวทีชี้แจงการดำเนินงานโครงการกองทุน PA ระดับอำเภอ
  4. วางแผนเตรียมการจัดเวทีฯ ร่วมกับทีมคณะทำงานระดับอำเภอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้กลไกคณะทำงานระดับอำเภอ/จังหวัด ดังนี้
            1) คณะทำงาน/พี่เลี้ยงจังหวัด และ คณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 8 คน
            2) คณะทำงาน/พี่เลี้ยงจังหวัด และ คณะทำงานระดับอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลฯ จำนวน 7 คน
            3) คณะทำงาน/พี่จังหวัด และ คณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับอำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร จำนวน 7 คน
  2. ข้อสรุปการเตรียมจัดเวทีชี้แจงโครงการกองทุน PA
            - ประสานงานกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วม กองทุนฯ ละ 3 คน (จนท.กองทุน ,กรรมการ,ผู้เสนอโครงการ )         - สถานที่จัดประชุม ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ         - การเตรียมเอกสารประกอบการประชุม

 

24 0

2. ประชุมทีมคณะทำงานระดับเขตเพื่อออกแบบและวางแผนแนวทางการยกระดับโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบล ครั้งที่ 1

วันที่ 18 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ผู้ประสานงานชี้แจงวัตถุประสงค์และความเป็นมาของการดำเนินงานโครงการ
  2. สรุปผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบล ปี 2563 เพื่อร่วมออกแบบกระบวนการดำเนินงาน
  3. การสรรหากลไกคณะะทำงานระดับเขตและระดับอำเภอ/จังหวัด
  4. วางแผนการจัดเวทีชี้แจงการดำเนินงานโครงการระดับอำเภอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้รายชื่อคณะทำงานระดับเขต จำนวน 11 คน ประกอบด้วย 1) นพ.เรือศิลป์ เถื่อนนาดี 2) ดร.อรุณ บุญสร้าง 3) ดร.อารีย์ บุตรสอน 4) นายสมบุรณ์ เพ็ญพิมพ์ 5) นายสิทธิวีร์ ทางามพรทวีวัฒน์ 6) ดร.อัญชลี ชุมนุม 7) นาวสางจงกลนี ศิริรัตน์ 8) นายวินัย วงศ์อาสา 9) นายสงกา สามารถ 10) นาเสาวนีย์ กิตติพิทยานนท์ 11) นายรพินทร์ ยืนยาว
  2. กำหนดรายละเอียดการตั้งวงพูดคุยกับ พชอ. เพื่อหารือการพัฒนากลไกคณะทำงานระดับอำเภอ/จังหวัดเพื่อติดตามหนุนเสริมการดำเนินงานกองทุนฯ ในระดับอำเภอ มีแผนการตั้งวงพูดคุยดังนี้ วันที่ 8 ตุลาคม 2564 (เช้า) อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร (บ่าย) อ.เขื่องใน จ.อุบลฯ วันที่ 11 ตุลาคม 2564 อ.กันทรลักษื จ.ศรีสะเกษ โดยให้ประสานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประกอบด้วย สสอ. ผอ.โรงพยาบาลชุมชน ท้องถิ่นอำเภอ โค้ชจังหวัด ผู้ดูแลงานกองทุนระดับอำเภอ
  3. แผนการจัดเวทีชี้แจงโครงการยกระดับกิจกรรม PA ระดับอำเภอ ดังนี้ วันที่ 20 ตุลาคม 2564 อ.กันทรลักษ์ วันที่ 26 ตุลาคม 2564 อ.คำเขื่อนแก้ว วันที่ 27 ตุลาคม 2564 อ.เขื่องใน
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

15 0

3. เวทีชี้แจงเป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน และสร้างการรับรู้แนวคิดการส่งเสริมกิกจรรมทางกาย (PA Literacy) และวางแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ

วันที่ 20 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการและแนวทางการดำเนินงานโครงการ เพื่อให้ตัวแทนกองทุนสุขภาพตำบล (กองทุนละ 3 คน) ที่เป็นกองทุนที่ร่วมดำเนินการ ปี 2563 จำนวน 11 กองทุน และกองทุนที่เข้าร่วมดำเนินงาน ปี 2564 อีกจำนวน 10 กองทุน เข้าใจเป้าหมายการดำเนินงานโครงการ
  2. บรรยาย การจัดทำโครงการกิจกรรมทางกาย (PA) กับกองทุนสุขภาพตำบล โดย ดร.อารีย์ บุตรสอน และ ดร.อรุณ บุญสร้าง เพื่อทำความเข้าใจการจัดทำโครงการเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย ความหมายกิจกรรมทางกาย เกณฑ์การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ สถารการณ์ ประโยชน์ ปัจจัย แนวทางการจัดทำแผนและการเขียนโครงการ
  3. การจัดกระบวนการจัดทำแผนงานและการจัดเวทีประชาคมเพื่อจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย (PA) และให้ตัวแทนกองทุนสุขภาพท้องถิ่นวางแผนการจัดเวทีประชาคม
  4. สรุปผลการดำเนินงาน นัดหมายการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป การเตรียมข้อมูลเอกสารสำหรับกิจกรรมครั้งต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ตัวแทนกองทุนๆ ละ 3 คน รวม 63 คน จะเป็นแกนหลักในการจัดทำแผนงานและโครงการเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย (PA) ในระบบเว็บไซค์ ทุกคนเกิดความเข้าใจในเป้าหมายและแนวทางการดำเนินงานซึ่งจะพัฒนาโครงการเพื่อเสนอของบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบลไปดำเนินการ
  2. ทั้ง 21 กองทุน ได้วางแผนปฏิบัติการจัดเวทีประชาคมเพื่อจัดทำแผนงานเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย และเสนอร่างโครงการกิจกรรมทางกาย ช่วงดำเนินการจัดเวทีจัดทำแผนภายในเดือนพฤศจิกายน 2564 โดยให้ได้ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาทั้ง 8 ข้อ และร่างโครงการกิจกรรมทางกาย อย่างน้อยกองทุนละ 2 โครงการ
  3. ได้ผู้ประสานงานกองทุนแต่ละกองทุนเพื่อประสานงานการจัดทำข้อมูลเอกสารและการพัฒนาโครงการ จำนวน 21 คน
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

70 0

4. เวทีชี้แจงเป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน และสร้างการรับรู้แนวคิดการส่งเสริมกิกจรรมทางกาย (PA Literacy) และวางแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร

วันที่ 26 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการและแนวทางการดำเนินงานโครงการ เพื่อให้ตัวแทนกองทุนสุขภาพตำบล (กองทุนละ 3 คน) ให้ทั้ง 19 กองทุนมีความเข้าใจ ซึ่งที่ผ่านมาทุกกองทุนได้เคยเข้าร่วมจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการผ่านระบบเว็บไซค์เมื่อปี 2562 และดำเนินการต่อในปี 2564
  2. บรรยาย การจัดทำโครงการกิจกรรมทางกาย (PA) กับกองทุนสุขภาพตำบล โดย ดร.อารีย์ บุตรสอน และ ดร.อรุณ บุญสร้าง เพื่อทำความเข้าใจการจัดทำโครงการเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย ความหมายกิจกรรมทางกาย เกณฑ์การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ สถารการณ์ ประโยชน์ ปัจจัย แนวทางการจัดทำแผนและการเขียนโครงการ
  3. การจัดกระบวนการจัดทำแผนงานและการจัดเวทีประชาคมเพื่อจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย (PA) และให้ตัวแทนกองทุนสุขภาพท้องถิ่นวางแผนการจัดเวทีประชาคม โดย อ.วินัย วงษ์อาสา และทีมมูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลฯ
  4. สรุปผลการดำเนินงาน นัดหมายการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป การเตรียมข้อมูลเอกสารสำหรับกิจกรรมครั้งต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ตัวแทนกองทุนๆ ละ 3 คน รวม 57 คน จะเป็นแกนหลักในการจัดทำแผนงานและโครงการเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย (PA) ในระบบเว็บไซค์ ระดับกองทุน และทุกคนเกิดความเข้าใจในเป้าหมายและแนวทางการดำเนินงานการพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกาย ซึ่งจะพัฒนาโครงการเพื่อเสนอของบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบลไปดำเนินการต่อไป
  2. ทั้ง 19 กองทุน ได้วางแผนปฏิบัติการจัดเวทีประชาคมเพื่อจัดทำแผนงานเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย และเสนอร่างโครงการกิจกรรมทางกาย ช่วงดำเนินการจัดเวทีจัดทำแผนภายในเดือนพฤศจิกายน 2564 โดยมีเป้าหมายให้ได้ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาทั้ง 8 ข้อ และร่างโครงการกิจกรรมทางกาย อย่างน้อยกองทุนละ 2 โครงการ
  3. ได้ผู้ประสานงานกองทุนแต่ละกองทุนเพื่อประสานงานการจัดทำข้อมูลเอกสารและการพัฒนาโครงการ จำนวน 19 คน
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

70 0

5. เวทีชี้แจงเป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน และสร้างการรับรู้แนวคิดการส่งเสริมกิกจรรมทางกาย (PA Literacy) และวางแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

วันที่ 27 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการและแนวทางการดำเนินงานโครงการ เพื่อให้ตัวแทนกองทุนสุขภาพตำบล (กองทุนละ 3 คน) ให้ทั้ง 14 กองทุนได้เกิดความเข้าใจ ซึ่งที่ผ่านมาทุกกองทุนได้เคยเข้าร่วมจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการผ่านระบบเว็บไซค์ต่อเนื่องจากปี 2563 และดำเนินการต่อในปี 2564
  2. บรรยาย การจัดทำโครงการกิจกรรมทางกาย (PA) กับกองทุนสุขภาพตำบล โดย ดร.อารีย์  บุตรสอน และ ดร.อรุณ  บุญสร้าง เพื่อทำความเข้าใจการจัดทำโครงการเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย ความหมายกิจกรรมทางกาย เกณฑ์การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ สถารการณ์ ประโยชน์ ปัจจัย แนวทางการจัดทำแผนและการเขียนโครงการ
  3. การจัดกระบวนการจัดทำแผนงานและการจัดเวทีประชาคมเพื่อจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย (PA) และให้ตัวแทนกองทุนสุขภาพท้องถิ่นวางแผนการจัดเวทีประชาคม โดย อ.วินัย  วงษ์อาสา และทีมมูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลฯ
  4. สรุปผลการดำเนินงาน นัดหมายการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป การเตรียมข้อมูลเอกสารสำหรับกิจกรรมครั้งต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ตัวแทนกองทุนๆ ละ 3 คน รวม 42 คน จะเป็นแกนหลักในการจัดทำแผนงานและโครงการเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย (PA) ในระบบเว็บไซค์ ระดับกองทุน และทุกคนเกิดความเข้าใจในเป้าหมายและแนวทางการดำเนินงานการพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกาย ซึ่งจะพัฒนาโครงการเพื่อเสนอของบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบลไปดำเนินการต่อไป
  2. ทั้ง 14 กองทุน ได้วางแผนปฏิบัติการจัดเวทีประชาคมเพื่อจัดทำแผนงานเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย และเสนอร่างโครงการกิจกรรมทางกาย ช่วงดำเนินการจัดเวทีจัดทำแผนภายในเดือนพฤศจิกายน 2564 โดยมีเป้าหมายให้ได้ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาทั้ง 8 ข้อ และร่างโครงการกิจกรรมทางกาย อย่างน้อยกองทุนละ 2 โครงการ
  3. ได้ผู้ประสานงานกองทุนแต่ละกองทุนเพื่อประสานงานการจัดทำข้อมูลเอกสารและการพัฒนาโครงการ จำนวน 14 คน
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

70 0

6. ประชุมทีมคณะทำงาน,พี่เลี้ยงระดับอำเภอ/จังหวัด เพื่อวางแผนการดำเนินงานการจัดทำแผนงานโครงการ ทั้ง 3 อำเภอ

วันที่ 12 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ตั้งวงพูดคุยกับพี่เลี้ยงกองทุนระดับจังหวัดและอำเภอเพื่อทบทวนบทบาทหน้าที่การติตดามและสนับสนุนกองทุนในการจัดเวทีประชาคมเพื่อจัดทำข้อมูล แผนงาน และร่างโครงการกิจกรรมทางกาย ได้มีการพูดคุยทั้ง 3 อำเภอ วันที่ 8 พ.ย.64 ที่ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีษะเกษ วันที่ 11 พ.ย.64 ที่อ.เขื่องใน จ.อุบลฯ และวันที่ 12 พ.ย.64 ที่ อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร 2.  วางแผนปฏิบัติการจัดกิจกรรมจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกินทางกาย (PA) ผ่านระบบเว็บไซค์
  2. สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีทีมพี่เลี้้ยงกองทุนระดับจังหวัดและระดับอำเภอที่มีศักยภาพในการติดตามสนับสนุนการจัดทำแผนงาน การจัดทำโครงการกิจกรรมทางกาย ให้กับแกนนำกองทุนในพื้นที่รับผิดชอบ อำเภอละ 5 คน
  2. ทีมพี่เลี้ยงกองทุนระดับจังหวัดและอำเภอได้แบ่งหน้าที่ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานจัดแผนงานและพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายแต่ละกอนทุน และประสานกองทุนเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าเวทีการจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกาย ผ่านระบบเว็บไซค์
  3. ได้แผนปฏิบัติการจัดเวทีจัดทำแผนงาน การพัฒนาโครงการกิจกรรมทากาย ผ่านระบบเว็บไซค์  พื้นที่ อ.กันทรลักษ์ 13 ธ.ค.64 พื้นที่ อ.เขื่องใน วันที่ 14 ธ.ค.64 พื้นที่ อ.คำเขื่อนแก้ว วันที่ 17 ธ.ค.64 และได้มีการวางกระบวนการจัดเวทีและบทบาททีมพี่เลี้ยงในการดำเนินงาน
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

24 0

7. สนับสนุนให้กองทุนฯ จัดเวทีประชาคมจัดทำแผนกิจกรรมทางกายระดับตำบล (PA) กองทุนละ 1 เวที

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุมประชาคม โดยพี่เลี้ยงระดับตำบล
  2. ระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย (บันทึกข้อมูลลงในแบบฟอร์ม) ในประเด็น ดังนี้ สถานการณ์ปัญหาในตำบล วัตถุประสงค์ (เป้าหมาย 1 ปี) งบประมาณที่ตั้งไว้ตามแผนงาน โครงการที่ควรดำเนินการ รายชื่อพัฒนาโครงการ ดำเนินการระดมความคิดเห็น โดยพี่เลี้ยงระดับตำบล
  3. ระดมความคิดเห็นเพื่อพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกาย จำนวน 2 โครงการ (บันทึกข้อมูลลงในแบบฟอร์ม)
  4. สรุปผลการประชุม และปิดประชุมโดยพี่เลี้ยงระดับตำบล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลอย่างน้อยกองทุนละ 3 คน รวมไม่น้อยกว่า 162 คน เป็นแกนนำที่มีศักยภาพในการประสานงาน จัดกระบวนการ ระดมความคิดเห็นในการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายในพื้นที่
  2. กองทุนฯ เป้าหมาย (54 กองทุน) ได้ข้อมูลสถานการณ์ปัญหา เป้าหมายการดำเนินงาน และโครงการที่คาดว่าจะดำเนินงานเกี่ยวกับกิจกรรมทางกายที่จะนำมาบันทึกในระบบเว็บไซค์
  3. ตัวแทนประชาชนกลุ่มวัยต่างๆ ไม่น้อยกว่า 1,080 คน (ตำบลละไม่น้อยกว่า 20 คน) มีความเข้าใจการเสนอโครงการที่สอดคล้องการดำเนินกิจกรรมทางกาย และเสนอโครงการกิจกรรมทางกายของบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

1,350 0

8. เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการจัดทำแผน พัฒนาโครงการ PA ผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี

วันที่ 13 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ ฝึกปฏิบัติการทำแผน การเขียนข้อเสนอโครงการ Online ผ่านทางWebsite
วันจันทร์ที่ ๑๓ ธันวาคม  ๒๕๖๔  เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๖.๐๐ น.
ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี เวลา กิจกรรม ๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐น. ลงทะเบียน ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐น. เล่าความเป็นมาและชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุมวันนี้ นายแพทย์เรืองศิล์ป  เถื่อนนาดี  ที่ปรึกษาพี่เลี้ยงระดับเขต ๑๐ ๐๙.๐๐ – ๑๐.๐๐น. แนะนำเว็บไซต์ นายสมบูรณ์ เพ็ญพิมพ์ / นายสิทธวีร์  ทางามพรทวีวัฒน์  สปสช.เขต ๑๐ อุบลราชธานี นายชาญชัย เสี้ยวทอง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สนง.สาธารณสุขจังหวัดยโสธร ดร.อัญชลี ชุมนุม ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองยโสธร
ดร.อรุณ บุญสร้าง  วิทยาลัยแพทย์และการสาธารณสุขมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต/จังหวัด
๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ฝึกปฏิบัติการ “การจัดทำแผน/พัฒนาโครงการ PA ในระบบเว็บไซต์ อาจารย์วินัย วงศ์อาสา /นายสงกา สามารถ /นายรพินทร์ ยืนยาว มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลฯ นายชาญชัย เสี้ยวทอง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สนง.สาธารณสุขจังหวัดยโสธร ดร.อัญชลี ชุมนุม ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองยโสธร
คณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต/จังหวัด
๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ – ๑๕.๓๐น. ฝึกปฏิบัติการ “การจัดทำแผน/พัฒนาโครงการ PA ในระบบเว็บไซต์” นายชาญชัย เสี้ยวทอง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สนง.สาธารณสุขจังหวัดยโสธร ดร.อัญชลี ชุมนุม ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองยโสธร
นายวินัย วงศ์อาสา /นายสงกา สามารถ /นายรพินทร์ ยืนยาว มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลฯ นายชูวิทย์ ธานี/นางเสาวนีย์  กิตติพิทยานนท์/นายศรีไพร  ปัญญาวิชัย/นายเชษฐา คันธจันทร์ คณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ
๑๕.๓๐–๑๖.๐๐น. สรุปผลการประชุมนัดหมายกิจกรรมต่อไปและปิดประชุม นายชูวิทย์ ธานี สาธารณสุขอำเภอเขื่องใน ทีมพี่เลี้ยงสรุป AAR ร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. พี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับตำบล มีความเข้าใจและเห็นความสำคัญของเว็บไซต์
  2. พี่เลี้ยงระดับตำบล มีความเข้าใจและสามารถพัฒนาแผนงานและพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายผ่านเว็บไซต์ได้ รวม 12 แผนงาน 17 โครงการ
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

60 0

9. เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการจัดทำแผน พัฒนาโครงการ PA ผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ

วันที่ 14 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ ฝึกปฏิบัติการทำแผน การเขียนข้อเสนอโครงการ Online ผ่านทางWebsite
วันอังคาร ที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๖.๐๐ น.
ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ เวลา กิจกรรม ๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐น. ลงทะเบียน ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐น. เล่าความเป็นมาและชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุมวันนี้ นายแพทย์เรืองศิล์ป เถื่อนนาดี  ที่ปรึกษาพี่เลี้ยงระดับเขต ๑๐ ๐๙.๐๐ – ๑๐.๐๐น. แนะนำเว็บไซต์ นายสมบูรณ์ เพ็ญพิมพ์ / นายสิทธวีร์ ทางามพรทวีวัฒน์  สปสช.เขต ๑๐ อุบลราชธานี นายชาญชัย เสี้ยวทอง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สนง.สาธารณสุขจังหวัดยโสธร ดร.อัญชลี ชุมนุม ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองยโสธร
ดร.อรุณ บุญสร้าง/ดร.อารี บุตรสอน วิทยาลัยแพทย์และการสาธารณสุขมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต/จังหวัด
๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ฝึกปฏิบัติการ “การจัดทำแผน/พัฒนาโครงการ PA ในระบบเว็บไซต์ อาจารย์วินัย วงศ์อาสา /นายสงกา สามารถ /นายรพินทร์ ยืนยาว มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลฯ นายชาญชัย เสี้ยวทอง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สนง.สาธารณสุขจังหวัดยโสธร ดร.อัญชลี ชุมนุม ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองยโสธร
คณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต/จังหวัด
๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ – ๑๕.๓๐น. ฝึกปฏิบัติการ “การจัดทำแผน/พัฒนาโครงการ PA ในระบบเว็บไซต์” นายชาญชัย เสี้ยวทอง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สนง.สาธารณสุขจังหวัดยโสธร ดร.อัญชลี ชุมนุม ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองยโสธร
นายวินัย วงศ์อาสา /นายสงกา สามารถ /นายรพินทร์ ยืนยาว มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลฯ นายศักดิ์สิน กุลบุตรดี/นายอนุสรณ์ จันทสิทธิ์/นายยศ บัวหอม /นางปิยะพันธ์ อ่างแก้ว คณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ
๑๕.๓๐–๑๖.๐๐น. สรุปผลการประชุมนัดหมายกิจกรรมต่อไปและปิดประชุม นายศักดิ์สิน กุลบุตรดี สาธารณสุขอำเภอกันทรลักษ์ ทีมพี่เลี้ยงสรุป AAR ร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. พี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับตำบล มีความเข้าใจและเห็นความสำคัญของเว็บไซต์
  2. พี่เลี้ยงระดับตำบล มีความเข้าใจและสามารถพัฒนาแผนงานและพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายผ่านเว็บไซต์ได้ รวม 18 แผนงาน 30 โครงการ
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

60 0

10. เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการจัดทำแผน พัฒนาโครงการ PA ผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร

วันที่ 17 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ ฝึกปฏิบัติการทำแผน การเขียนข้อเสนอโครงการ Online ผ่านทางWebsite
วันศุกร์ที่ ๑๗ ธันวาคม  ๒๕๖๔  เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๖.๐๐ น.
ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคำเขื่อนแก้ว  จังหวัดยโสธร เวลา กิจกรรม ๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐น. ลงทะเบียน ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐น. เล่าความเป็นมาและชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุมวันนี้ นายแพทย์เรืองศิล์ป  เถื่อนนาดี  ที่ปรึกษาพี่เลี้ยงระดับเขต ๑๐ ๐๙.๐๐ – ๑๐.๐๐น. แนะนำเว็บไซต์ นายสมบูรณ์ เพ็ญพิมพ์ / นายสิทธวีร์  ทางามพรทวีวัฒน์  สปสช.เขต ๑๐ อุบลราชธานี นายชาญชัย เสี้ยวทอง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สนง.สาธารณสุขจังหวัดยโสธร ดร.อัญชลี ชุมนุม ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองยโสธร
ดร.อรุณ บุญสร้าง/ดร.อารี บุตรสอน  วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์และการสาธารณสุข ม.อุบลราชธานี คณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต/จังหวัด
๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ฝึกปฏิบัติการ “การจัดทำแผน/พัฒนาโครงการ PA ในระบบเว็บไซต์ อาจารย์วินัย วงศ์อาสา /นายสงกา สามารถ /นายรพินทร์ ยืนยาว มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลฯ นายชาญชัย เสี้ยวทอง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สนง.สาธารณสุขจังหวัดยโสธร ดร.อัญชลี ชุมนุม ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองยโสธร
คณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต/จังหวัด
๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ – ๑๕.๓๐น. ฝึกปฏิบัติการ “การจัดทำแผน/พัฒนาโครงการ PA ในระบบเว็บไซต์” นายชาญชัย เสี้ยวทอง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สนง.สาธารณสุขจังหวัดยโสธร ดร.อัญชลี ชุมนุม ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองยโสธร
นายวินัย วงศ์อาสา /นายสงกา สามารถ /นายรพินทร์ ยืนยาว มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลฯ นายอิสระ ยาวะโนภาส/นายสุรินันท์ จักรพรรณพร/นายศิริพล ตรีเทพ คณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต/จังหวัด/อำเภอ
๑๕.๓๐–๑๖.๐๐น. สรุปผลการประชุมนัดหมายกิจกรรมต่อไปและปิดประชุม นายอิสระ ยาวะโนภาส สาธารณสุขอำเภอคำเขื่อนแก้ว ทีมพี่เลี้ยงสรุป AAR ร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. พี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับตำบล มีความเข้าใจและเห็นความสำคัญของเว็บไซต์
  2. พี่เลี้ยงระดับตำบล มีความเข้าใจและสามารถพัฒนาแผนงานและพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายผ่านเว็บไซต์ได้ รวม 12 แผนงาน 14 โครงการ และ 10 โครงการติดตาม
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

60 0

11. ประชุมทีมคณะทำงานระดับเขตเพื่อออกแบบและวางแผนแนวทางการยกระดับโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบล ครั้งที่ 2

วันที่ 20 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. สรุปผลการดำเนินงานและการจัดกิจกรรมที่ผ่านมา ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน ปัจจัยที่ส่งผลให้การดำเนินงานไม่บรรลุตามเป้าหมาย
  2. กำหนด Time line แผนการดำเนินงานการจัดทำแผนงาน การพัฒนาโครงการที่มีคุณภาพ การติดตามโครงการในระบบเว็บไซต์ และการถอดบทเรียนศูนย์การเรียนรู้กิจกรรมทางกาย
  3. การติดตามหนุนเสริมการบันทึกข้อมูลการจัดทำแผนงาน การพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และการติดตามโครงการในระบบเว็บไซต์
  4. สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จากการจัดกิจกรรมจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการกิจกรรมทางกาย (PA) ผ่านระบบเว็บไซต์ ปรากฎผลข้อมูล ดังนี้ มีการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย จำนวน 42 กองทุน (เป้าหมาย 54 กอนทุน)  การจัดทำและพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกาย จำนวน 61 โครงการ (เป้าหมาย 108 โครงการ กองทุนละ 2 โครงการ) และบันทึกข้อมูลเป็นโครงการติดตามได้ 10 โครงการ
  2. แผนการติดตามสนับสนุนการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพในระบบเว็บไซต์ และการติดตามการดำเนินงานโครงการกองทุน จึงกำหนด Time line จำนวน 6 แผนงาน ได้แก่ แผนการติดตามการจัดเวทีประชาคมจัดทำข้อมูลกิจกรรมทางกายของกองทุน แผนงานการติดตามการบันทึกข้อมูลแผนงาน โครงการในระบบเว็บไซต์ของกองทุน แผนงานติดตามการเสนอโครงการและการดำเนินงานโครงการ แผนงานการถอดบทเรียนศูนย์ต้นแบบกิจกรรมทางกาย และการสรุปบทเรียนการดำเนินงาน
  3. มอบหมายให้พี่เลี้ยงแต่ละจังหวัดมีหน้าที่ติดตามการบันทึกข้อมูลแผนงาน โครงการกิจกรรมทางกายให้มีคุณภาพและครบถ้วนสมบูรณ์ และกองทุนสามารถนำโครงการที่จัดทำบันทึกเป็นโครงการติดตามเสนอของบประมาณจากกองทุนได้ โดยพี่เลี้ยงเป็นที่ปรึกษา กระตุ้นผู้รับผิดชอบการบันทึกข้อมูลให้สมบูรณ์
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

11 0

12. ประชุมทีมคณะทำงานระดับเขตเพื่อออกแบบและวางแผนแนวทางการยกระดับโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบล ครั้งที่ 3

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

  1. รายงานผลการจัดทำแผนงาน การพัฒนาโครงการ และโครงการที่มีบันทึกเป็นโครงการติดตามในระบบเว็บไซค์
  2. สรุปบทเรียนการจัดเวทีการบันทึกจัดทำแผนงาน การพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซค์
  3. วางแผนและเตรียมกระบวนการจัดเวทีพัฒนาศักยภาพกองทุนสุขภาพตำบลการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการและการติดตามโครงการในระบบเว็บไซค์
  4. สรุปผลการดำเนินงานและนัดหมายการร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. หลังจากการจัดเวทีพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลเพื่อจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการในระบบเว็บไซค์เสร็จสิ้น ผลปรากฎมีกองทุนฯ ที่เข้าไปดำเนินการจัดทำแผนงาน จำนวน 42 กองทุนฯ (จากกองทุนเป้าหมายทั้งหมด 54 กองทุน) พัฒนาโครงการ 71 โครงการ และดำเนินการเป็นโครงการที่ติดตาม 16 โครงการ
  2. ข้อสรุปจากการสรุปบทเรียนการดำเนินงานจัดทำแผน พัฒนาโครงการในระบบ 1) กองทุนฯ ที่ยังไม่ได้ดำเนินการจัดทำแผนงานในระบบอีก 12 กองทุน ให้พี่เลี้ยงอำเภอประสานผู้รับผิดชอบกรอกข้อมูลจัดทำแผนงานในระบบ สำหรับกองทุนที่จัดทำแผนงานในระบบเว็บไซค์แล้วให้ตรวจสอบความถูกต้องและคบถ้วนของข้อมูล และประสานผู้รับผิดชอบจัดทำข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ 2) ให้พี่เลี้ยงอำเภอตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในโครงการที่ถูกพัฒนาในระบบ หากมีส่วนใดที่ยังไม่สมบูรณ์ให้ทำเป็นข้อเสนอแนะไว้ แล้วประสานผู้รับผิดชอบโครงการเข้าไปแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลโครงการให้ครบถ้วนสมบูรณ์ 3) ให้ทีมพี่เลี้ยงอำเภอแบ่งความรับผิดชอบดูแล ประสานงาน ติดตามความก้าวหน้าประจำกองทุนฯ โดยตรง
  3. กำหนดวันเวลาการจัดเวทีพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุนในการติดตามแผนงาน พัฒนาโครงการ และติตดามโครงการในระบบเวล็บไซค์ ดังนี้
    3.1 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565 เวทีพัฒนากองทุน อ.กันทรลักษ์
    3.2 วันที่ 10 กุมภาพันธ์2565 เวทีพัฒนากองทุน อ.เขื่องใน
    3.3 วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2565 เวทีพัฒนากองทุน อ.คำเขื่อนแก้ว
    โดยกำหนดขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน ดังนี้ 1.ชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมายการดำเนินงาน โดย นพ.เรืองศิลป์ และทีมพี่เลี้ยงอำเภอ
    2.นำเสนอสรุปผลการดำเนินงานจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการ ในระบบเว็บไซค์
  4. สรุปข้อมูลการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการ เพื่อให้ผู้รับผิดชอบกองทุนได้เพิ่มเติม แก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องครบถ้วน
  5. ปฏิบัติการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการในระบบเว็บไซค์ให้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ และจัดทำเป็นโครงการติดตาม
  6. สรุปผลการดำเนินงานและนัดหมายแผนกิจกรรมต่อไป
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

11 0

13. เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการติดตามประเมินผลผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

วัตถุประสงค์การดำเนินงาน
1. เพื่อสรุปผลการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA ในระบบเว็บไซค์ และทบทวนวิธีการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA เพื่อให้ผู้รับผิดชอบกองทุนและพี่เลี้ยงกองทุนเป็นข้อมูลสำหรับการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการให้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์
2. เพื่อให้กองทุนฯ เป้าหมายได้จัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA ที่ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ และจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายรอบด้าน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.ชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมายการดำเนินงาน โดย นพ.เรืองศิลป์ และทีมพี่เลี้ยงอำเภอ
2.นำเสนอสรุปผลการดำเนินงานจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA ในระบบเว็บไซค์
3.สรุปข้อมูลการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA เพื่อให้ผู้รับผิดชอบกองทุนได้เพิ่มเติม แก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องครบถ้วน
4.ปฏิบัติการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซค์ให้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อจัดทำเป็นโครงการติดตามและจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย
5.สรุปผลการดำเนินงานและนัดหมายแผนกิจกรรมต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สรุปผลการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายและการพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซค์ ดังนี้
    1.1 การจัดทำแผนงานกิจกรรมทากายในระบบเว็บไซค์ พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลที่เข้ารับการพัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายและการพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซค์ไปแล้ว สามารถบันทึกข้อมูลแผนงานในระบบเว็บไซค์ทั้งหมด 12 แผนงาน (12 กองทุน) ขาดอีก 7 กองทุนที่ยังไม่ได้ดำเนินการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายในระบบเว็บไซค์ สำหรับระดับความถูกต้องครบถ้วนของแผนงานในระบบนั้น ได้แบ่งออกเป็นกองทุนที่กรอกข้อมูลแผนงานได้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ 7 กองทุน อีก 5 กองทุน ยังกรอกข้อมูลไม่ถูกต้อง ไม่สมบูรณ์ เช่น กรอกจำนวนสถานการณ์ปัญหาไม่ครบทุกข้อ กำหนดค่าสถานการณ์ปัญหาไม่สอดคล้อง กำหนดค่าเป้าหมายไม่ถูกต้อง และจัดทำโครงการที่ควรจะทำจำนวนน้อยไม่ครอบคลุมการแก้สถานการณ์ปัญหาทุกข้อ 1.2 มีการพัฒนาโครงการจำนวน 30 โครงการ พบว่า ทุกโครงการยังไม่ถือว่าเป็นโครงการที่สมบูรณ์และมีคุณภาพ เช่น การกรอกข้อมูลยังไม่ครบโดยเฉพาะในรายละเอียดกิจกรรมบ้าง ไม่ใส่ระยะเวลาการดำเนินกิจกรรมบ้าง กำหนดกลุ่มเป้าหมายไม่สอดคล้องกับกิจกรรมบ้าง กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายไม่สอดคล้องกับกิจกรรมและกลุ่มเปา้หมาย เป็นต้น ซึ่งต้องมีการปรับแก้ไขและเพิ่มเติมเนื้อหาให้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์
    ทำให้พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลทั้ง 19 กองทุน รับรู้แนวทางการปรับแก้ไข เพิ่มเติมข้อมูลในการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาโครงการเพื่อให้มีความสมบูรณ์ ครบถ้วนและมีคุณภาพ
  2. เกิดการปรับแก้ไขข้อมูลและจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายและพัฒนาโครงการให้ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ ได้แก่ 1) ได้ทบทวนการจัดทำข้อมูลทำแผนงานกิจกรรมทางกายเพื่อให้ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ และได้มีการเพิ่มเติมข้อมูลโครงการที่ควรจะดำเนินงานเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายของกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายมากขึ้น 2) ได้ทบทวนและเพิ่มเติมปรับแก้ไขรายละเอียดโครงการที่พัฒนาทั้ง 31 โครงการ และได้มีการพัฒนาโครงการเพิ่มเติม ให้เป็นโครงการที่มีคุณภาพ
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

60 0

14. เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการติดตามประเมินผลผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

วัตถุประสงค์การดำเนินงาน
1. เพื่อสรุปผลการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA ในระบบเว็บไซค์ และทบทวนวิธีการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA เพื่อให้ผู้รับผิดชอบกองทุนและพี่เลี้ยงกองทุนเป็นข้อมูลสำหรับการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการให้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์
2. เพื่อให้กองทุนฯ เป้าหมายได้จัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA ที่ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ และจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายรอบด้าน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.ชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมายการดำเนินงาน โดย นพ.เรืองศิลป์ และทีมพี่เลี้ยงอำเภอ
2.นำเสนอสรุปผลการดำเนินงานจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA ในระบบเว็บไซค์
3.สรุปข้อมูลการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA เพื่อให้ผู้รับผิดชอบกองทุนได้เพิ่มเติม แก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องครบถ้วน
4.ปฏิบัติการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซค์ให้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อจัดทำเป็นโครงการติดตามและจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย
5.สรุปผลการดำเนินงานและนัดหมายแผนกิจกรรมต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สรุปผลการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายและการพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซค์ ดังนี้
    1.1 การกรอกข้อมูลแผนงานกิจกรรมทางกายในระบบเว็บไซค์ ซึ่งพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลที่เข้ารับการพัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายและการพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซค์ไปแล้ว สามารถบันทึกข้อมูลแผนงานในระบบเว็บไซค์ทั้งหมด 19 แผนงาน (19 กองทุน) โดยแบ่งออกเป็นกองทุนที่กรอกข้อมูลแผนงานได้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ 8 กองทุน อีก 11 กองทุน กรอกข้อมูลไม่สมบูรณ์ ไม่ครบทุกสถานการณ์ปัญหาและข้อมูลที่จัดทำไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ในพื้นที่ กำหนดค่าเป้าหมายไม่ถูกต้อง และจัดทำโครงการที่ควรจะทำมีจำนวนน้อยยังไม่ครอบคลุมทุกสถานการณ์ปัญหา
    1.2 การพัฒนาโครงการจำนวน 31 โครงการ พบว่า ทุกโครงการยังไม่ถือว่าเป็นโครงการที่มีคุณภาพ เช่น การกรอกข้อมูลยังไม่ครบโดยเฉพาะในรายละเอียดกิจกรรมบ้าง ไม่ใส่ระยะเวลาการดำเนินกิจกรรมบ้าง กำหนดกลุ่มเป้าหมายไม่สอดคล้องกับกิจกรรมบ้าง กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายไม่สอดคล้องกับกิจกรรมและกลุ่มเปา้หมาย เป็นต้น ซึ่งต้องมีการปรับแก้ไขและเพิ่มเติมเนื้อหาให้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์
  2. เกิดการปรับแก้ไขข้อมูลและจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายและพัฒนาโครงการให้ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ ได้แก่ 1) ได้ทบทวนการจัดทำข้อมูลทำแผนงานกิจกรรมทางกายเพื่อให้ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ และได้มีการเพิ่มเติมข้อมูลโครงการที่ควรจะดำเนินงานเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายของกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายมากขึ้น 2) ได้ทบทวนและเพิ่มเติมปรับแก้ไขรายละเอียดโครงการที่พัฒนาทั้ง 31 โครงการ และได้มีการพัฒนาโครงการเพิ่มเติม ให้เป็นโครงการที่มีคุณภาพ
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

60 0

15. เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการติดตามประเมินผลผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

วัตถุประสงค์การดำเนินงาน
1. เพื่อสรุปผลการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA ในระบบเว็บไซค์ และทบทวนวิธีการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA เพื่อให้ผู้รับผิดชอบกองทุนและพี่เลี้ยงกองทุนเป็นข้อมูลสำหรับการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการให้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์
2. เพื่อให้กองทุนฯ เป้าหมายได้จัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA ที่ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ และจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายรอบด้าน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.ชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมายการดำเนินงาน โดย นพ.เรืองศิลป์ และทีมพี่เลี้ยงอำเภอ
2.นำเสนอสรุปผลการดำเนินงานจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA ในระบบเว็บไซค์
3.สรุปข้อมูลการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ PA เพื่อให้ผู้รับผิดชอบกองทุนได้เพิ่มเติม แก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องครบถ้วน
4.ปฏิบัติการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซค์ให้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อจัดทำเป็นโครงการติดตามและจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย
5.สรุปผลการดำเนินงานและนัดหมายแผนกิจกรรมต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สรุปผลการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายและการพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซค์ ดังนี้
    1.1 การจัดทำแผนงานกิจกรรมทากายในระบบเว็บไซค์ พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลที่เข้ารับการพัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายและการพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซค์ไปแล้ว สามารถบันทึกข้อมูลแผนงานในระบบเว็บไซค์ทั้งหมด 12 แผนงาน (12 กองทุน) ขาดอีก 2 กองทุนที่ยังไม่ได้ดำเนินการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายในระบบเว็บไซค์ สำหรับระดับความถูกต้องครบถ้วนของแผนงานในระบบนั้น ได้แบ่งออกเป็นกองทุนที่กรอกข้อมูลแผนงานได้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ 7 กองทุน อีก 5 กองทุน ยังกรอกข้อมูลไม่ถูกต้อง ไม่สมบูรณ์ เช่น กรอกจำนวนสถานการณ์ปัญหาไม่ครบทุกข้อ กำหนดค่าสถานการณ์ปัญหาไม่สอดคล้อง กำหนดค่าเป้าหมายไม่ถูกต้อง และจัดทำโครงการที่ควรจะทำจำนวนน้อยไม่ครอบคลุมการแก้สถานการณ์ปัญหาทุกข้อ 1.2 มีการพัฒนาโครงการจำนวน 18 โครงการ พบว่า ทุกโครงการยังไม่ถือว่าเป็นโครงการที่สมบูรณ์และมีคุณภาพ เช่น การกรอกข้อมูลยังไม่ครบโดยเฉพาะในรายละเอียดกิจกรรมบ้าง ไม่ใส่ระยะเวลาการดำเนินกิจกรรมบ้าง กำหนดกลุ่มเป้าหมายไม่สอดคล้องกับกิจกรรมบ้าง กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายไม่สอดคล้องกับกิจกรรมและกลุ่มเปา้หมาย เป็นต้น ซึ่งต้องมีการปรับแก้ไขและเพิ่มเติมเนื้อหาให้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์
    ทำให้พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลทั้ง 14 กองทุน รับรู้แนวทางการปรับแก้ไข เพิ่มเติมข้อมูลในการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาโครงการเพื่อให้มีความสมบูรณ์ ครบถ้วนและมีคุณภาพ
  2. เกิดการปรับแก้ไขข้อมูลและจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายและพัฒนาโครงการให้ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ ได้แก่ 1) ได้ทบทวนการจัดทำข้อมูลทำแผนงานกิจกรรมทางกายเพื่อให้ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์ และได้มีการเพิ่มเติมข้อมูลโครงการที่ควรจะดำเนินงานเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายของกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายมากขึ้น ครบทั้ง 14 กองทุน 2) ได้ทบทวนและเพิ่มเติมปรับแก้ไขรายละเอียดโครงการที่พัฒนาเป็น 20 โครงการ และได้มีการพัฒนาโครงการเพิ่มเติม ให้เป็นโครงการที่มีคุณภาพ และจัดทำเป็นโครงการติดตาม 16 โครงการ
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

60 0

16. การติดตามหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย กองทุนฯ อ.คำเขื่อนแก้ว

วันที่ 22 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

  1. ทบทวนขั้นตอนและข้อมูลการจัดทำแผนงาน การพัฒนาโครงการ และโครงการที่ติดตาม
  2. ตรวจสอบข้อมูลรายละเอียดการพัฒนาโครงการให้มีข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์และเป็นโครงการที่มีคุณภาพ ในระบบเว็บไซต์
  3. ขั้นตอนการบันทึกข้อมูลติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  4. สรุปผลการดำเนินงาน วางแผนและนัดหมายกิจกรรมต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำกองทุนฯ สามารถใช้โปรแกรมในการบันทึกข้อมูลแผนงาน พัฒนาการโครงการและติดตามโครงการกิจกรรทางกายได้เป็นอย่างดี โดยมีแกนนำกองทุนจำนวน 9 กองทุน ประกอบด้วย 1) อบต.นาตำ 2) อบต.กู่จาน 3) อบต.สงเปือย 4) ทต.คำเขื่อนแก้ว 5) อบต.เหล่าไฮ 6) อบต.โพนทัน 7) อบต.ย่อ 8) อบต.กุดกุง 9)อบต.ดงเจริญ
  2. การพัฒนาโครงการให้เป็นโครงการที่มีคุณภาพ ข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ และสามารถบันทึกเป็นโครงการที่ติตดามได้ จำนวน 15 โครงการ
  3. มีการบันทึกข้อมูลการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมาางกาย
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

35 0

17. การติดตามหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของกองทุนฯ กองทุนฯ อ.เขื่องใน

วันที่ 24 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

  1. ทบทวนขั้นตอนและข้อมูลการจัดทำแผนงาน การพัฒนาโครงการ และโครงการที่ติดตาม
  2. ตรวจสอบข้อมูลรายละเอียดการพัฒนาโครงการให้มีข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์และเป็นโครงการที่มีคุณภาพ ในระบบเว็บไซต์
  3. ขั้นตอนการบันทึกข้อมูลติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  4. สรุปผลการดำเนินงาน วางแผนและนัดหมายกิจกรรมต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำกองทุนฯ สามารถใช้โปรแกรมในการบันทึกข้อมูลแผนงาน พัฒนาการโครงการและติดตามโครงการกิจกรรทางกายได้เป็นอย่างดี โดยมีแกนนำกองทุนจำนวน 7 กองทุน ประกอบด้วย 1) อบต.โนนรัง 2) อบต.สร้างถ่อ 3) อบต.หัวดอน 4) อบต.ก่อเอ้ 5) อบต.สหธาตุ 6) อบต.ธาตุน้อย 7) อบต.หนองเหล่า
  2. การพัฒนาโครงการให้เป็นโครงการที่มีคุณภาพ ข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ และสามารถบันทึกเป็นโครงการที่ติตดามได้ จำนวน 12 โครงการ
  3. มีการบันทึกข้อมูลการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมาางกาย

 

35 0

18. การติดตามหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของกองทุนฯ กองทุนฯ อ.กันทรลักษ์

วันที่ 25 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

  1. ทบทวนขั้นตอนและข้อมูลการจัดทำแผนงาน การพัฒนาโครงการ และโครงการที่ติดตาม
  2. ตรวจสอบข้อมูลรายละเอียดการพัฒนาโครงการให้มีข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์และเป็นโครงการที่มีคุณภาพ ในระบบเว็บไซต์
  3. ขั้นตอนการบันทึกข้อมูลติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  4. สรุปผลการดำเนินงาน วางแผนและนัดหมายกิจกรรมต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำกองทุนฯ สามารถใช้โปรแกรมในการบันทึกข้อมูลแผนงาน พัฒนาการโครงการและติดตามโครงการกิจกรรทางกายได้เป็นอย่างดี โดยมีแกนนำกองทุนจำนวน 10 กองทุน ประกอบด้วย 1) อบต.หนองหญ้าลาด 2) อบต.ซำ 3) อบต.ขนุน 4) อบต.บึงมะลู 5) อบต.รุง 6) อบต.โนนสำราญ 7) อบต.เวียงเหนือ 8) อบต.เมือง 9)อบต.น้ำอ้อม 10) ทต.สวนกล้วย
  2. การพัฒนาโครงการให้เป็นโครงการที่มีคุณภาพ ข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ และสามารถบันทึกเป็นโครงการที่ติตดามได้ จำนวน 14 โครงการ
  3. มีการบันทึกข้อมูลการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

 

35 0

19. ประชุมทีมคณะทำงานระดับเขตเพื่อออกแบบและวางแผนแนวทางการยกระดับโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบล ครั้งที่ 4

วันที่ 4 เมษายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด/อำเภอ ทีมพี่เลี้ยงกองทุนที่มีศักยภาพ เพื่อออกแบบ วางแผนการยกระดับโครงการกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพให้เป็นโครงการต้นแบบการเรียนรู้ระดับอำเภอ และกลไกการติดตามหนุนเสริมโครงการต้นแบบ โดยได้จัดประชุมแต่ละอำเภอ 3 อำเภอ
เวทีครั้งที่ 1 ประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด/อำเภอ ทีมพี่เลี้ยงกองทุนที่มีศักยภาพ อ.คำเขื่อนแก้ว วันที่ 4 เมษายน 2565
เวทีครั้งที่ 2 ประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด/อำเภอ ทีมพี่เลี้ยงกองทุนที่มีศักยภาพ อ.กันทรลักษ์ วันที่ 5 เมษายน 2565 เวทีครั้งที่ 3 ประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด/อำเภอ ทีมพี่เลี้ยงกองทุนที่มีศักยภาพ อ.เขื่องใน วันที่ 7 เมษายน 2565

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครั้งที่ 1

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

11 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน,พี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลและให้ผู้เสนอโครงการมีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ตัวชี้วัด : 1) พี่เลี้ยงมีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2) ผู้เสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผลอย่างน้อยจำนวน150 คน
0.00

 

2 2) เพื่อพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอ โครงการกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : 1) ในอำเภอมีศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอ โครงการกิจกรรมทางกาย ไม่น้อยกว่า 10 กองทุน และร่วมกันดำเนินการจัดทำแผนโครงการระดับอำเภอ 2) เกิดสื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจและร่วมกิจกรรมทางกายกับกลุ่มเป้าหมายของโครงการที่ได้รับทุน ไม่น้อยกว่า5,400 คน 3) ได้ข้อมูลองค์ความรู้ถอดบทเรียนการส่งเสริมกิจกรรมทางกายจำนวน 2 กรณีศึกษา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน,พี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลและให้ผู้เสนอโครงการมีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (2) 2) เพื่อพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอ โครงการกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แผนการสนับสนุนกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงาน (2) แผนพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบลเพื่อยกระดับคุณภาพโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (3) แผนการติดตามหนุนเสริมกองทุนฯ เพื่อยกระดับเป็นศูนย์การเรียนรู้โครงการ PA (4) แผนการสรุปผลการดำเนินงาน (5) (ลงพื้นที่) ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกับทีมพี่เลี้ยง พชอ.ในระดับอำเภอทั้ง 3 อำเภอพื้นที่เป้าหมาย (6) ประชุมทีมคณะทำงานระดับเขตเพื่อออกแบบและวางแผนแนวทางการยกระดับโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบล ครั้งที่ 1 (7) เวทีชี้แจงเป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน และสร้างการรับรู้แนวคิดการส่งเสริมกิกจรรมทางกาย (PA Literacy) และวางแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ (8) เวทีชี้แจงเป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน และสร้างการรับรู้แนวคิดการส่งเสริมกิกจรรมทางกาย (PA Literacy) และวางแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร (9) เวทีชี้แจงเป้าหมาย แนวทางการดำเนินงาน และสร้างการรับรู้แนวคิดการส่งเสริมกิกจรรมทางกาย (PA Literacy) และวางแผนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี (10) สนับสนุนให้กองทุนฯ จัดเวทีประชาคมจัดทำแผนกิจกรรมทางกายระดับตำบล (PA) กองทุนละ 1 เวที (11) ประชุมทีมคณะทำงาน,พี่เลี้ยงระดับอำเภอ/จังหวัด เพื่อวางแผนการดำเนินงานการจัดทำแผนงานโครงการ ทั้ง 3 อำเภอ (12) ประชุมทีมคณะทำงานระดับเขตเพื่อออกแบบและวางแผนแนวทางการยกระดับโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบล ครั้งที่ 2 (13) เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการจัดทำแผน พัฒนาโครงการ PA ผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี (14) เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการจัดทำแผน พัฒนาโครงการ PA ผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ (15) เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการจัดทำแผน พัฒนาโครงการ PA ผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร (16) เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการติดตามประเมินผลผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ (17) เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการติดตามประเมินผลผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร (18) เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนฯ ด้านการติดตามประเมินผลผ่านระบบบริหารกองทุนตำบล (ผ่านหน้าเว็บไซต์) พื้นที่ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี (19) ประชุมทีมคณะทำงานระดับเขตเพื่อออกแบบและวางแผนแนวทางการยกระดับโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบล ครั้งที่ 3 (20) การติดตามหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของกองทุนฯ  กองทุนฯ อ.คำเขื่อนแก้ว (21) การติดตามหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของกองทุนฯ  กองทุนฯ อ.เขื่องใน (22) การติดตามหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของกองทุนฯ  กองทุนฯ อ.กันทรลักษ์ (23) ประชุมทีมคณะทำงานระดับเขตเพื่อออกแบบและวางแผนแนวทางการยกระดับโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนสุขภาพตำบล ครั้งที่ 4 (24) เวทีถอดบทเรียน/ยกระดับศูนย์การเรียนรู้ PA กองทุนตำบลพื้นที่ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ (25) เวทีถอดบทเรียน/ยกระดับศูนย์การเรียนรู้ PA กองทุนตำบลพื้นที่ อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร (26) เวทีถอดบทเรียน/ยกระดับศูนย์การเรียนรู้ PA กองทุนตำบลพื้นที่ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี (27) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และหาแนวทางการผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้เป็นนโยบายสาธารณะในระดับอำเภอและระดับอื่นๆ (28) เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานระดับเขต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 10 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจงกลนี ศิริรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด