แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 ”
แพร่ พะเยา น่าน (รวม 53 กองทุน )
หัวหน้าโครงการ
นายสุวิทย์ สมบัติ
ชื่อโครงการ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1
ที่อยู่ แพร่ พะเยา น่าน (รวม 53 กองทุน ) จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน แพร่ พะเยา น่าน (รวม 53 กองทุน )
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 " ดำเนินการในพื้นที่ แพร่ พะเยา น่าน (รวม 53 กองทุน ) รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 มิถุนายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,200,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พื้นที่ดำเนินการภาคเหนือเขต1 ใน 3 จังหวัด 4 อำเภอคือ อำเภอสูงเม่นและร้องกวาง จังหวัดแพร่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยาและอำเภอเวียงสาจังหวัดน่าน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน,พี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลและให้ผู้เสนอโครงการมีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- เพื่อพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการ บันทึกกิจกรรม การติดตามประเมินคุณค่าโครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด (Online 2 ครั้ง Onsite 2 ครั้ง)
- 2.พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลพื้นที่ แพร่ น่าน พะเยา (53 กองทุน ) จำนวน 4 ครั้ง
- 3. ติดตามเสริมศักยภาพกองทุน 53 กองทุน จำนวน 2 ครั้ง
- 4. พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ 30 กองทุน 2 ครั้ง
- 1.1 พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด ออนไลน์
- 1.2พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัดในพื้นที่จ.แพร่ น่าน พะเยา
- 2.2 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่ ครั้งที่ 1 อำเภอเมืองพะเยา
- 2.3 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอ ร้องกวาง จ.แพร่
- 1.3 ประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขต จังหวัดและพื้นที่ online
- 1.4 ประชุมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดแพร่และคณะทำงาน
- 2.4 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอสูงเม่น จ.แพร่
- 3.4 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่1
- 2.5 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอเวียงสา จ.น่าน (ออนไลน์)
- 3.1 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ครั้งที่ 2
- 3.2 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ครั้งที่ 1-2
- 3.3ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงพื้นที่อำเภอเมืองพะเยา
- 3.6 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย กองทุนสุขภาพตำบลบ้านเหล่า
- 3.5 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.สูงเม่น จ.แพร่ ครั้งที่ 1
- 3.7 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยง อำเภอเวียงสา
- 3.8 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.เวียงสา จ.น่าน ครั้งที่ 1 (ออนไลน์)
- 3.10 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุน กองทุนอำเภอร้องกวาง โดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่2
- 3.9 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ครั้งที่ 3
- 1.5ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน
- 3.11 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
- 3.12 ประชุมการติดตามและคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบ
- 3.13 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
- 3.14 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอ ร้องกวาง จังหวัดแพร่
- 4.1 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ 32 กองทุน
- 4.1.2 ประชุมทีมพี่เลี้ยงอำเภอสูงเม่นและอำเภอร้องกวางจังหวัดแพร่เพื่อสรุปการพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ
- 4.1.1 ประชุมกองทุนต้นแบบ กองทุนสุขภาพท้องถิ่นในพื้นที่ เขต อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
- 4.2.1 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
- 4.2.2 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
- 4.2.3 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
- 4.1.3 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
- 4.1.4 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
- 4.1.5 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
- 4.1.6 ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อสรุปการติดตามพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ
- 4.1.7การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
- 4.2การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน (มิถุนายน 2565)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ยกรัะดับเป็นแผนพัฒนากิจกรรมทางกายรดับอำเภอร่วมกับพชอ.
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.1 พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด ออนไลน์
วันที่ 17 ตุลาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
กำหนดการประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด ครั้งที่ 1
ประชุมทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ZOOM)
วัตถุประสงค์
1) เพื่อชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ
2) เพื่อวางแผนการจัดแผนปฏิบัติการกิจกรรมของโครงการในพื้นที่ เขต1
08.30 - 09.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าสู่ระบบ ZOOM / เตรียมความพร้อม ซักซ้อมระบบ
09.00 - 10.20 น. ทิศทางสำคัญของการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1/ชี้แจงแนวทาง และขั้นตอนการดำเนินงานโครงการชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ของการประชุม
โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
10.20 – 10.30 น.พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
10.30 – 11.00 น.ทิศทาง ระเบียบและข้อกำหนดกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ปี2564 โดย นางสาวมนัสชนก ณ มงคล สปสช.1
11.00 – 12.00 น.แผนการบริหารจัดการโครงการฯ แนวทางสำคัญของการการติดตามงานโครงการฯในพื้นที่แลกเปลี่ยน แนวทาง แผนการดำเนินงานโครงการฯ
โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.30 น.แลกเปลี่ยนแผนการบริหารงานโครงการฯในพื้นที่โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด
13.00 – 14.30 น.พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
14.30 –16.00น.สรุปผลและปิดการประชุม โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คณะทำงานกลางประชุม onsite จำนวน 4 คน และเข้าร่วมประชุม on line จำนวน 15 คน ประกอบด้วยพี่เลี้ยงระดับเขต 1 คน จากสปสช.1 และพี่เลี้ยงจังหวัดแพร่ น่าน พะเยาจำนวน 4 คนจากสาธารณสุขอำเภอ 2 คนและเทศบาล 2 คน พี่เลี้ยงพื้นที่ อำเภอสูงเม่น 3 คน ผอ.รสสต. 2 คนและอบต.1 คน อำเภอร้องกวาง 2 คน จากสสอ.รพสต . อำเภอเมืองพะเยา 2 คน จากเทศบาล และอำเภอเวียงสา 3 คนจากรพสต.และเทศบาล ร่วมการแลกเปลี่ยนแนวทางการจัดทำแผนกิจกรรมทางกายและร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติการของ 4 อำเภอเป้าหมาย
15
0
2. 1.2พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัดในพื้นที่จ.แพร่ น่าน พะเยา
วันที่ 31 ตุลาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
การประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด ครั้งที่ 2 onsiteและon zoom
วัตถุประสงค์
1) เพื่อวางแผนการจัดแผนปฏิบัติการกิจกรรมของโครงการในพื้นที่ เขต1
2) เพื่อเสริมศักยภาพทีมพี่เลี้ยงในการจัดทำแผนงาน โครงการกองทุนตำบลส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
กิจกรรม 1.ชี้แจงแนวทาง เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดและขั้นตอน การดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 ทบทวนสถานการณ์การจัดทำแผนกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมาย ภ อำเภอคือสูงเม่น และร้องกวาง จังหวัดแพร่ อำเภอเวียงสาจังหวัดน่านและอำเภอเมืองพะเยา
แนวทางการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
2.ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย แนวคิดการจัดทำโครงการฯ แนวทางสำคัญ ของการติดตามงานโครงการฯในพื้นที่แลกเปลี่ยน แนวทาง แผนการดำเนินงานโครงการฯ
โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
3.ฝึกบันทึกการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายและการพัฒนาโครงการในโปรแกรม
โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด
4.จัดทำแผนปฏิบัติการดำเนินงานในแต่ละพื้นที่ สรุปแผนการติดตามเสริมพลังในแต่ละพื้นที่และปิดการประชุม
โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีพี่เลี้ยงเข้าร่วมประชุมครอบคลุมทุกพื้นที่ จังหวัดแพร่และพะเยาร่วมประชุมonsite จำนวน 12 คน และพี่เลี้ยงจังหวัดน่านและอำเภอเวียงสาประชุม
on zoom จำนวน 6 คน 2. แลกเปลี่ยนแนวทางการจัดทำทำแผนกิจกรรมทางกายเสนอแนะควรมีการจัดทำแบบประเมินกิจกรรมทางกายและแบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูลกิจกรรมทางกายรายบุคคลและรวบรวมบันทึกในโปแกรมเพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดทำแผนรายพื้นที่ 3.วิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ในการดำเนินการคัดเลือกพื้นที่และ4.กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมพัฒนาศักยภาพในรอบแรกโดยแต่ละกองทุนคัดเลือกคณะกรรมการกองทุน ผู้สนใจรับทุนพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกาย เจ้าหน้าที่รพสต.และผู้รับผิดชอบคนกองทุน นัดหมายการปฏิบัติงานในพื้นที่
47
0
3. 2.2 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่ ครั้งที่ 1 อำเภอเมืองพะเยา
วันที่ 19 พฤศจิกายน 2564กิจกรรมที่ทำ
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
วันที่18 พฤศจิกายน2564 ณ ห้องประชุม สาธารณสุขอำเภอเมืองพะเยา อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
กิจกรรม 1.ชี้แจงการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ทบทวนสถานการณ์การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
3. ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมในระบบออน์ไลน์ และตรวจสอบการบันทึกแผนงานและโครงการในภาพรวมที่ฝึกบันทึก โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที่
4.การจัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการและการติดตามเสริมพลังการดำเนินงานของพื้นที่ อ.เมืองพะเยา สรุปแผนการติดตามเสริมพลังของละพื้นที่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นทีกำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 43คน ประกอบด้วยพี่เลี้ยงจังหวัดและพื้นที่ ตัวแทนจากรพสต.ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯและผู้สนใจรับทุน อาสาสมัครสาธารณสุข 2-3 คน จาก 14 กองทุนในอำเภอพะเยา ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจในกระบวนการทำแผนและฝึกบันทึกการทำแผนกิกรรมทางกายลงในโปรแกรม จำนวน10 แผน
40
0
4. 1.3 ประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขต จังหวัดและพื้นที่ online
วันที่ 28 มกราคม 2565กิจกรรมที่ทำ
การประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่
วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 09.00-16.00 น.
ณ ห้องประชุมสมาคมภาคีพัฒนาจังหวัดแพร่ ตำบลป่าแมต อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ และ
ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Zoom meeting
……………………………………………………………
เวลา 09.00 – 09.15 น. ลงทะเบียน/เตรียมระบบ
เวลา 09.15- 11.00 น. ชี้แจงการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกแผนงานโครงการ เกณฑ์การประเมินผล
โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
เวลา 11.00 -11.15 น. แจ้งเรื่องกองทุน กปท. ทุกแห่งในการเปิดใช้โปรแกรมใหม่
โดย นางสาวมนัสชนก ณ มงคล
เวลา 11.15 – 12.00 น. แจ้งเรื่องผลการประชุมจากทีมกลาง /
การทดลองใช้แบบการประเมินตนเองด้านกิจกรรมทางกาย และสุขภาวะประกอบด้วยการประเมิน 3 ส่วน ดังนี้
1) การประเมินด้านกิจกรรมทางกาย (Physical Activity; PA)
2) การประเมินพฤติกรรมเนือยนิ่ง (Sedentary Behavior; SB)
3) การประเมินพฤติกรรมหน้าจอ (Screen Time; ST)
โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
เวลา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 – 15.30 น. - ทวนสอบการบันทึกแผนงานโครงการออนไลน์ของพื้นที่
- กำหนดพื้นที่การติดตามกองทุนของพี่เลี้ยง (แห่งละ 3-4 กองทุนต่อคน)
- จัดทำแผนปฏิบัติการการติดตาม หนุนเสริมพื้นที่ใน 2 ระดับคือ
1. พื้นที่เดิม 2 แห่ง คือ อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ และอ.เวียงสา จ.น่าน (จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำ)
2. พื้นที่ 2 แห่ง คือ อ.เมือง พะเยา และอ.ร้องกวาง (จัดทำแผนการติดตามในพื้นที่)
โดยนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ และ ทีมพี่เลี้ยง
เวลา 15.30 – 16.00 น. สรุป/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
โดยนายสุวิทย์ สมบัติ,นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์และ ทีมพี่เลี้ยง
หมายเหตุ: 10.30 น. และ 14.30 น. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
เวลาอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทีมพี่เลี้ยงเข้าประชุมครอบคลุม 100% คือ
ทีมประสานงานประชุม onsite 4 คน
ทีมพี่เลี้ยงระดับเขตเขต ระดับจังหวัด และระดับพื้นที่ จำนวน 15 คน
มีแผนปฏิบัติการการจัดกิจกรรมใน 2 ระดับ คือ
1. พื้นที่เดิม 2 แห่ง คือ อ.สูงเม่น จ.แพร่ และอ.เวียงสา จ.น่าน จำนวน 29 กองทุน (จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำ)
2. พื้นที่ 2 แห่ง คือ อ.เมือง จ.พะเยา และอ.ร้องกวาง จ.แพร่ จำนวน 24 กองทุน (จัดทำแผนการติดตามในพื้นที่)
มอบหมายพี่เลี้ยงจังหวัดและพื้นที่จำนวน 14 คนๆละ 3-4 กองทุน(53 กองทุน)
จากการตรวจสอบการบันทึกข้อมูลออนไลน์ พบ การบันทึกสถานการณ์ และการบันทึกโครงการยังงไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ บันทึกเพียง 24/53 กองทุน
เกณฑ์การตรวจสอบพื้นที่เรียนรู้หรือพื้นที่ต้นแบบประกอบด้วย กรบันมทึกสถานการณ์ ครอบคลุมทั้ง 8 สถานการณ์ การกำหนดเป้าหมายสอดคล้องกับปัญหาของพื้นที่ โครงการที่ควรดำเนินการสอดคล้องกับเป้าหมายที่เป็นปัญหาของพื้นที่ และมีการพัฒนาโครงกาารอย่างน้อย พื้นที่ละ 1 โครงการ
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานมีความรู้ความเข้าใจและสามารถถ่ายทอดการบันทึกหรือจัดทำแผงานโครงการกิจกรรมทางกายได้
19
0
5. 1.4 ประชุมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดแพร่และคณะทำงาน
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำ
ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ และเป้าหมายการดำเนินงานโครงการแก่ทีมพี่เลี้ยงจังหวัดแพร่และคณะทำงาน แนวทางการสนับสนุนกิจกรรม และการจัดทำแผนปฏิบัติการดครงการในพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมประชุม10 คนและมีการการจัดทำแผนปฏิบัติการโครงการในพื้นที่ การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณืในการสนับสนุนการจัดกิจกรรมให้แต่ละพื้นที่
1.ชี้แจงวัตถุประสงค์และกิจกรรมโครงการในพื้นที่ เขต 1
2.จัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการ
3.ทบทวนการโปรแกรมในการบันทึกข้อมูลแผนงานและโครงการในการดำเนินงานโครงการฯ
4.แลกเปลี่ยนรูปแบบพัฒนาศักยภาพทีมและแกนนำ
5.สรุปผล
12
0
6. 2.4 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอสูงเม่น จ.แพร่
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
กิจกรรม 1.ชี้แจงการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ทบทวนสถานการณ์การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
3. ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมในระบบออน์ไลน์ และตรวจสอบการบันทึกแผนงานและโครงการในภาพรวมที่ฝึกบันทึก โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที่
4.การจัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการและการติดตามเสริมพลังการดำเนินงานของพื้นที่ อ.สูงเม่น สรุปแผนการติดตามเสริมพลังของละพื้นที่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 45 คน ประกอบด้วยพี่เลี้ยงจังหวัดและพื้นที่ ตัวแทนจากรพสต. 16 แห่ง กองทุนฯ 1-2 คนจาก 13 กองทุน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาล และนักวิชาการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ จากปท.และเทศบาล ในอำเภอสูงเม่น
มีการบันทึกข้อมูลแผนงาน 12 โครงการ/13 แห่ง ยกเว้น ต.ร่องกาศ (อยู่ระหว่างการดำเนินงาน)
มีโครงการพัฒนา 5 โครงการ
37
0
7. 2.5 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอเวียงสา จ.น่าน (ออนไลน์)
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องประชุมสมาคมภาคีพัฒนาจังหวัดแพร่และประชุมทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
กิจกรรม 1.ชี้แจงการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ทบทวนสถานการณ์การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
3. ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมในระบบออน์ไลน์ และตรวจสอบการบันทึกแผนงานและโครงการในภาพรวมที่ฝึกบันทึก โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที่
4.การจัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการและการติดตามเสริมพลังการดำเนินงานของพื้นที่ อ.เวียงสา จ.น่าน สรุปแผนการติดตามเสริมพลังของละพื้นที่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 34 คน ประกอบด้วยพี่เลี้ยงจังหวัดและพื้นที่ ตัวแทนจากรพสต. กองทุนฯ 1-2 คนจาก 16 กองทุน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาล และนักวิชาการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ จากอปท.และเทศบาล ในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
45
0
8. 3.4 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่1
วันที่ 3 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ (3-26 เมษายน 2565) จำนวน 51 กองทุน โดยทีมพี่เลี้ยงเขต(ส่วนกลาง)
กิจกรรม ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ ในสถานการณ์ปัญหา ทบทวนการจัดทำแผน บรรยายความเชื่อมโยงการทำแผนการพัฒนาโครงการ ฝึกปฏิบัติการ
บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ การพัฒนาโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผนงานและโครงการที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่ ที่มีการบันทึกผ่านเว็บไซด์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทีมพี่เลี้ยงระดับเขต พี่เลี้ยงระดับอำเภอ/จังหวัด ประกอบด้วย สาธารณสุขอำเภอ , ผู้รับผิดชอบงานกองทุนจาก สสอ. ทีมประเมินกองทุนระดับเขตจากอปท. และตัวแทนกองทุน ประกอบด้วย จนท.กองทุนตำบล ,กรรมการกองทุน,ผู้เสนอโครงการ เป้าหมายกองทุนละ 2 -3 คน
การบันทึกแผนจำนวน 51 แผน พัฒนาโครงการ 24 โครงการ
112
0
9. 3.7 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยง อำเภอเวียงสา
วันที่ 17 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ (14-17 มีนาคม 2565) จำนวน 16 กองทุน วันละ 4 แห่งทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ
ทบทวนการบันทึกสถานการณ์ การทำแผนการพัฒนาโครงการและการบันทึกข้อมูลออนไลน์
โดยพี่เลี้ยงพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 1ุ6 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 14 แผน
มีการบันทึกพัฒนาโครงการได้ 12 โครงการ
32
0
10. 3.2 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ครั้งที่ 1-2
วันที่ 19 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
ครั้งที่ 1 วันที่ 19 มีนาคม 2565
ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ
บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอเมืองพะเยา
ทดลองบันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและเขต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 10 แผน
มีการบันทึกพัฒนาโครงการได้ 13 โครงการ
40
0
11. 3.1 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ครั้งที่ 2
วันที่ 22 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
เข้าเยี่ยมพื้นที่ ทบทวนการจัดทำสถานการณ์ การทำแผนกิจกรรมทางกายการพัฒนาโครงการและการบันทึกข้อมูลในพื้นที่ จำนวน 10 กองทุน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สามารถเข้าเยี่ยม กองทุนได้วันละ 3 กองทุน รวม 4 วัน การบันทึกแผนรวม 10 แผน
30
0
12. 3.3ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงพื้นที่อำเภอเมืองพะเยา
วันที่ 24 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
20-24มีนาคม 2565 เยี่ยม กองทุน ทบทวนการทำแผน บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอเมืองพะเยา ให้คำแนะนำการบันทึกแผน โครงการ การบันทึกกิจกรรม ตาวจสอบรายละเอียดโครงการ
บันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและกองทุนฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เยี่ยม กองทุน วันละ3 แห่ง 5 วัน มีการบันทึกแผน13 แผน พัฒนาโครงการ 10 โครงการ
89
0
13. 3.6 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย กองทุนสุขภาพตำบลบ้านเหล่า
วันที่ 4 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 31 มีนาคม 2565 จัดประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินงาน ทบทวนสถานการณ์ของกองทุน
นัดหมาย กลุ่มเป้าหมายในการเข้าร่วมประชุม และเตรียมความพร้อมร่วมกิจกรรมการขับเคลื่อนตำบลภาวะสุขภาพผ่านกระบวนการกิจกรรมทางกาย ในวันที่ 7-9 เมษายน 2565
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทีมบริหาร ตัวแทน เครือข่าย กลุ่มเป้าหมายที่ขอรับการสนับสนุนกองทุนฯ ตัวแทน แกนนำชุมชน เข้าร่วมรารือ และให้ข้อคิดเห็นและเเลกเปลี่ยนกระบวนการในการจัดงานและมีการนัดหมายกิจกรรมที่จะจัดในวันที่ 7-9 เมษายน 2565 โดยมีข้อเสนอให้ เรียนเชิญ นายอำเภอและสาธารณสุขอำเภอ ทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง จังหวัด และพื้นที่ เข้าร่วมกิจกรรมในวันดังกล่าว
20
0
14. 3.5 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.สูงเม่น จ.แพร่ ครั้งที่ 1
วันที่ 4 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำ
ครั้งที่ 1 วันที่ 1 เมษายน 2565
ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ
บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
ทดลองบันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและเขต จำนวน 3 กองทุน
ครั้งที่ 2 วันที่ 2 เมษายน 2565
ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ
บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
ทดลองบันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและเขต จำนวน 3 กองทุน
ครั้งที่ 3-5 วันที่ 3,5,6 เมษายน 2565 ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่
ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ
บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอเมืองพะเยา
บันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและกองทุนฯ จำนวน 7 กองทุน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 10 แผน
มีการบันทึกพัฒนาโครงการได้ 8 โครงการ
42
0
15. 1.5ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน
วันที่ 30 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำ
ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานวัตถุประสงค์
1) เพื่อติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
2) เพื่อวางแผนการจัดแผนปฏิบัติการกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพและติดตามพื้นที่กองทุนของโครงการในพื้นที่ เขต1
เวลา กิจกรรม
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 - 10.20 น. ทบทวนแนวทาง เป้าหมายและขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ แผนการบริหารจัดการโครงการฯ ทวนสอบข้อมูลในโปรแกรมของแต่ละพื้นที่
โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
10.20 – 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
10.30 – 12.00 น. ทบทวนการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมในระบบออน์ไลน์ และตรวจสอบการบันทึกแผนงานและโครงการในแผนการดำเนินงานโครงการฯ การติดตามในแต่ละพื้นที่
โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.30 น. แลกเปลี่ยนรูปแบบการติดตาม ผลการติดตามในแต่ละพื้นที่ สูงเม่น ร้องกวางสูงเม่น ร้องกวาง อำเภอเมืองพะเยาและเวียงสา และจัดทำแผนการติดตามพื้นที่กองทุน
โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด
13.00 – 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
14.30 – 16. 00 น. สรุปผลและปิดการประชุม
โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ เข้าร่วมประชุมครบทุกพื้นที่
พี่เลี้ยงส่วนกลางให้คำแนะนำการทำแผน การทบทวนนิยาม บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ พร้อมให้คำแนะนำการบันทึกแผน โครงการ การบันทึกกิจกรรม ตรวจสอบรายละเอียดโครงการ
พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ สามารถเข้าเยี่ยม กองทุนสุขภาพตำบลได้วันละ 3 กองทุน
แกนนำกองทุนสุขภาพตำบลมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการบันทึกแผนงาน /โครงการที่พัฒนาเกี่ยวกับกิจกรรมการทางกายมากขึ้น
แกนนำกองทุนฯ พื้นที่สูงเม่น ร้องกวาง และเมืองพะเยา ส่วนใหญ่สามารถพัฒนาแผนได้ อำเภอเวียงสายังไม่สามารถลงบันทึกได้เนื่องจากผู้รับผิดชอบงานมีภารกิจเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการและบางส่วนยังไม่ได้อนุมัติงบกองทุน
20
0
16. 3.8 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.เวียงสา จ.น่าน ครั้งที่ 1 (ออนไลน์)
วันที่ 1 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
กำหนดการประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด แกนนำกองทุน
ประชุมทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ZOOM)
วัตถุประสงค์
1) เพื่อทบทวนการดำเนินงานโครงการ
2) เพื่อวางแผนการจัดแผนปฏิบัติการกิจกรรมของโครงการในพื้นที่ เขต1
08.30 - 09.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าสู่ระบบ ZOOM / เตรียมความพร้อม ซักซ้อมระบบ
09.00 - 10.20 น. ทบทวนแนวทาง และขั้นตอนการดำเนินงานโครงการชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ของการประชุม
โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
10.20 – 10.30 น.พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
10.30 – 11.00 น.ทิศทาง ระเบียบและข้อกำหนดกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ปี2565 โดย นางสาวมนัสชนก ณ มงคล สปสช.1
11.00 – 12.00 น ทบทวนการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการฯ การบันทึกกิจกรรม และการติดตามงานโครงการฯในพื้นที่ แลกเปลี่ยน แนวทาง แผนการดำเนินงานของพื้นที่
โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.30 น.ปฏิบัติการบันทึกข้อมูลในระบบ
13.00 – 14.30 น.พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
14.30 –16.00น.แลกเปลี่ยนแผนการบริหารงานโครงการฯในพื้นที่โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัสรุปผลและปิดการประชุม โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 12 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 12 แผน
มีการบันทึกพัฒนาโครงการได้ 4 โครงการ
34
0
17. 3.9 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ครั้งที่ 3
วันที่ 4 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
ครั้งที่ 3 วันที่ 29 เมษายน 2565 ติดตามการดำเนินงานและปัญหาการบันทึกข้อมูลของพื้นที่จำนวน 14 กองทุน ทั้ง 8 หัวข้อ บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอเมืองพะเยา บันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและกองทุนฯ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 26 คน
มีการบันทึกพัฒนาโครงการได้ 30 โครงการ
34
0
18. 3.11 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
วันที่ 4 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 2 พฤษภาคม 2565 ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินงาน ทบทวนสถานการณ์ของกองทุน
นัดหมาย กลุ่มเป้าหมายในการเข้าร่วมประชุม และเตรียมความพร้อมร่วมกิจกรรมการขับเคลื่อนตำบลภาวะสุขภาพผ่านกระบวนการกิจกรรมทางกาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทีมบริหาร ตัวแทน เครือข่าย กลุ่มเป้าหมายที่ขอรับการสนับสนุนกองทุนฯ ตัวแทน แกนนำชุมชน เข้าร่วมรารือ และให้ข้อคิดเห็นและเเลกเปลี่ยนกระบวนการในการจัดงาน
20
0
19. 2.3 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอ ร้องกวาง จ.แพร่
วันที่ 4 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลร้องกวาง ตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
กิจกรรม 1.ชี้แจงการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ทบทวนสถานการณ์การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
3. ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมในระบบออน์ไลน์ และตรวจสอบการบันทึกแผนงานและโครงการในภาพรวมที่ฝึกบันทึก โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที่
4.การจัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการและการติดตามเสริมพลังการดำเนินงานของพื้นที่ อ.ร้องกวาง สรุปแผนการติดตามเสริมพลังของละพื้นที่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมประชุม 37 คน สามารถบันทึกกิจกรรมทางกายจำนวน 10 แผน การจัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการและการติดตามเสริมพลังการดำเนินงานของพื้นที่ อ.ร้องกวาง
37
0
20. 3.10 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุน กองทุนอำเภอร้องกวาง โดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่2
วันที่ 4 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
เยี่ยม กองทุน ทบทวนการทำแผน การพัฒนาโครงการให้คำแนะนำการบันทึกแผน โครงการ การบันทึกกิจกรรม โดยตรวจสอบรายละเอียดโครงการพี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ติดตามการดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและสรุปผลการทำงานพื้นที่เขต 1 ครั้งที่ 2 ในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบล ใน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โดยทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ ในสถานการณ์ปัญหา ทบทวนการจัดทำแผน บรรยายความเชื่อมโยงการทำแผนการพัฒนาโครงการ ฝึกปฏิบัติการ บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ การพัฒนาโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผนงานและโครงการที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่ ที่มีการบันทึกผ่านเว็บไซด์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ติดตามการดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและสรุปผลการทำงานพื้นที่เขต 1 ครั้งที่ 2 ในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ดังนี้ ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนวันละ 3 กองทุน จำนวน 10 แห่ง จำนวน 18 ครั้ง
7 เม.ย. 65 - อบต.แม่ยางตาล
11 เม.ย. 65 - อบต.แม่ทราย
18 เม.ย. 65 - อบต.ร้องกวาง- อบต.น้ำเลา
21 เม.ย. 65 - อบต.ไผ่โทน- อบต.ห้วยโรง
22 เม.ย. 65 - อบต.แม่ยางร้อง
26 เม.ย. 65 - ทต.บ้านเวียง-อบต.แม่ยางฮ่อ
38
0
21. 4.1 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ 32 กองทุน
วันที่ 10 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
พี่เลี้ยงเขต 1 คนและจังหวัด 1 คน ร่วมเสริมพลังในการพัฒนาให้แต่ละกองทุนสามารถบันทึกแผน พัฒนาดครงการและติดตามโครงการในโปรแกรม รวมทั้งเสริมศักยภาพพื้นที่ให้สามารถเป็นพื้นที่เรียนรู้ได้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอสูงเม่น อำเภอร้องกวาง เมืองพะเยา อำเภอละ10 กองทุนและเวียงสา4กองทุน รวม34 กองทุนระหว่างวันที่ 10 พค.ถึง28พค65
202
0
22. 3.12 ประชุมการติดตามและคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบ
วันที่ 11 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
ประชุมการติดตามและคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบ เพื่อคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบในแต่ละพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงระดับเขต พี่เลี้ยงระดับจังหวัด พี่เลี้ยงระดับพื้นที่เข้าร่วมประชุม on-site จำนวน 10 คน ร่วมประชุม Online จำนวน 8 คน
19
0
23. 3.13 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
วันที่ 16 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 9 พฤษภาคม 2565 พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่
มีการบันทึกวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่กองทุนฯ ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ บันทึกโครงการที่พัฒนา โครงการที่ติดตาม โดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และกองทุนฯ จำนวน 13 กองทุน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก รพสต. อบต.และเทศบาลจำนวน 13 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 13 แผน
บันทึกโครงการที่พัฒนาได้จำนวน 44 โครงการและ บันทึกโครงการที่ติดตามได้จำนวน 16 โครงการ
32
0
24. 3.14 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอ ร้องกวาง จังหวัดแพร่
วันที่ 16 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่
มีการบันทึกวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่กองทุนฯ ในอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ บันทึกโครงการที่พัฒนา โครงการที่ติดตาม โดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และกองทุนฯ จำนวน 10 กองทุน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 10 แผน
บันทึกโครงการที่พัฒนาได้จำนวน 20 โครงการและ บันทึกโครงการที่ติดตามได้จำนวน 11 โครงการ
26
0
25. 4.1.2 ประชุมทีมพี่เลี้ยงอำเภอสูงเม่นและอำเภอร้องกวางจังหวัดแพร่เพื่อสรุปการพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ
วันที่ 21 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
วัตถุประสงค์
1) เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานพื้นที่กองทุน
2) เพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานของโครงการในพื้นที่ เขต1
า กิจกรรม
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 - 10.20 น. ทบทวนแนวทางการดำเนินงานของโครงการ และทวนสอบข้อมูลในโปรแกรมของแต่ละพื้นที่
โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
10.20 – 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
10.30 – 12.00 น. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลแผนงานและโครงการในแผนการดำเนินงานโครงการฯ การติดตามในแต่ละพื้นที่ สูงเม่น ร้องกวาง อำเภอเมืองพะเยาและเวียงสา
โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.30 น. แลกเปลี่ยนรูปแบบการติดตาม ผลการติดตามในแต่ละพื้นที่ สูงเม่น ร้องกวางอำเภอเมืองพะเยาและเวียงสา และสรุปผลการติดตามพื้นที่กองทุน ข้อเสนอ
โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด
13.00 – 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
14.30 – 16. 00 น. สรุปผลและปิดการประชุม
โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ เข้าร่วมประชุมครบทุกพื้นที่
พี่เลี้ยงส่วนกลางให้คำแนะนำการทำแผน การทบทวนนิยาม บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ พร้อมให้คำแนะนำการบันทึกแผน โครงการ การบันทึกกิจกรรม ตรวจสอบรายละเอียดโครงการ
พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ สามารถเข้าเยี่ยม กองทุนสุขภาพตำบลได้วันละ 3 กองทุน
แกนนำกองทุนสุขภาพตำบลมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการบันทึกแผนง
20
0
26. 4.1.1 ประชุมกองทุนต้นแบบ กองทุนสุขภาพท้องถิ่นในพื้นที่ เขต อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
วันที่ 24 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่
มีการบันทึกวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่กองทุนฯ ในอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา บันทึกโครงการที่พัฒนา โครงการที่ติดตาม โดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และกองทุนฯ จำนวน 14 กองทุน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 14 แผน
บันทึกโครงการที่พัฒนาได้จำนวน 50 โครงการและ บันทึกโครงการที่ติดตามได้จำนวน 20 โครงการ
20
0
27. 4.2.1 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
วันที่ 29 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 29 พฤษภาคม 2565 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โดยมีกิจกรรมดังนี้
1. สรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ สถานการณ์การทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
3. พัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทางการถอดบทเรียนกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
4. สรุปบทเรียนการดำเนินงานการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และแกนนำกองทุนนสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ ๆ ละ 1-2 คน รวมจำนวน 24 คนร่วมกันแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน สะท้อนถึงปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน พร้อมให้ข้อเสนอแนะร่วมกับพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่
20
0
28. 4.1.3 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
วันที่ 1 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำ
พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ลงพื้นที่ร่วมกับพี่เลี้ยงจังหวัดหรือพี่เลี้ยงพื้นที่ พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม การติดตามโครงการและการสร้างยกระดับกองทุนให้เป็นศูนย์เรียนรู้การทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่ดีของพื้นที่เขต 1 กองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ลงพื้นที่พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย โดยบันทึกโครงการที่พัฒนา กิจกรรมที่ดำเนินการ การติดตามโครงการลงในโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) โดยทีมพี่เลี้ยงและตัวแทนผู้รับผิดชอบกองทุนร่วมบันทึก แก้ไขเพิ่มเติมและลบข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง จำนวน 4 กองทุน มีแผนงาน 4 แผน และ โครงการที่พัฒนา 7 โครงการ
ครั้งที่ 2 เยี่ยม 1 มิ.ย. 65 - ทต.เวียงสา - อบต.แม่สาคร - ทต.ขึ่ง
2 มิ.ย. 65 - ทต.กลางเวียง
ครั้งที่ 3 เยี่ยม
26 มิ.ย. 65 - ทต.เวียงสา - อบต.แม่สาคร - ทต.ขึ่ง
27 มิ.ย. 65 - ทต.กลางเวียง
40
0
29. 4.2.3 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
วันที่ 2 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ดยมีกิจกรรมดังนี้
1. สรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ สถานการณ์การทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
3. พัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทางการถอดบทเรียนกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
4. สรุปบทเรียนการดำเนินงานการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และแกนนำกองทุนนสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมจำนวน 32 คนร่วมกันแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน สะท้อนถึงปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน พร้อมให้ข้อเสนอแนะร่วมกับพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่
30
0
30. 4.2.2 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
วันที่ 2 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 30 พฤษภาคม 2565 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โดยมีกิจกรรมดังนี้
1. สรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ สถานการณ์การทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
3. พัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทางการถอดบทเรียนกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
4. สรุปบทเรียนการดำเนินงานการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และแกนนำกองทุนนสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วม ร่วมกันแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน สะท้อนถึงปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน พร้อมให้ข้อเสนอแนะร่วมกับพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่
20
0
31. 4.1.4 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
วันที่ 6 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำ
พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ลงพื้นที่ร่วมกับพี่เลี้ยงจังหวัดหรือพี่เลี้ยงพื้นที่ พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม การติดตามโครงการและการสร้างยกระดับกองทุนให้เป็นศูนย์เรียนรู้การทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่ดีของพื้นที่เขต 1 กองทุนสุขภาพตำบล อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ โดยให้บันทึกโครงการที่พัฒนา กิจกรรมที่ดำเนินการ การติดตามโครงการลงในโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล ( https://localfund.happynetwork.org/) พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผนงานและโครงการที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ลงพื้นที่ร่วมกับพี่เลี้ยงจังหวัดหรือพี่เลี้ยงพื้นที่ พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม การติดตามโครงการและการสร้างยกระดับกองทุนให้เป็นศูนย์เรียนรู้การทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่ดีของพื้นที่เขต 1 กองทุนสุขภาพตำบล อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ครั้งที่ 2
20
0
32. 4.1.5 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
วันที่ 12 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำ
พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต พื้นที่ ติดตามการดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและสรุปผลการทำงานพื้นที่เขต 1 ครั้งที่ 3 ในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ อำเภอร้องกวางลงพื้นที่ติดตาม หนุนเสริมการจัดทำแผนปัจจัยเสี่ยงและแผนตามบริบทพื้นที่แก้ไขข้อมูลสถานการณ์ แนะนำแหล่งที่มาของข้อมูลในการบันทึกการการตรวจสอบข้อมูล โดยทีมพี่เลี้ยงและตัวแทนผู้รับผิดชอบกองทุนในแต่ละพื้นที่ ร่วมดำเนินการในการบันทึก การแก้ไขเพิ่มเติมและลบข้อมูลที่ไม่ถูกต้องในโปรแกรมออนไลน์ จำนวน10 กองทุน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ติดตามการดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและสรุปผลการทำงานพื้นที่เขต 1 ครั้งที่ 3 ในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ดังนี้ จำนวน10 กองทุน
1 12 มิ.ย. 65 - อบต.ห้วยโรง -อบต.แม่ทราย - อบต.แม่ยางฮ่อ
2 13 มิ.ย.65- อบต.ไผ่โทน- อบต.น้ำเลา-อบต.แม่ยางร้อง
3 14 มิ.ย.65 - อบต.ร้องกวาง
4 15 มิ.ย.65- เทศบาลตำบลร้องกวาง-เทศบาลตำบลบ้านเวียง -อบต.แม่ยางตาล
แผนตามบริบทพื้นที่จำนวน 10 แผน
50
0
33. 4.1.6 ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อสรุปการติดตามพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ
วันที่ 18 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำ
วัตถุประสงค์
1) เพื่อสรุปการติดตามผลการดำเนินงานพื้นที่ต้นแบบ
2) เพื่อสรุปการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ เขต1
เวลา กิจกรรม
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 - 10.20 น. สรุปการดำเนินงานโครงการ และทวนสอบข้อมูลในโปรแกรมของแต่ละพื้นที่
โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
10.20 – 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
10.30 – 12.00 น. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลแผนงานและโครงการในแผนการดำเนินงานโครงการฯ การติดตามในแต่ละพื้นที่ สูงเม่น ร้องกวาง อำเภอเมืองพะเยาและเวียงสา
โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.30 น. แลกเปลี่ยนรูปแบบการติดตาม ผลการติดตามในแต่ละพื้นที่ สูงเม่น ร้องกวางอำเภอเมืองพะเยาและเวียงสา และสรุปผลการติดตามพื้นที่กองทุน ข้อเสนอ
โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด
13.00 – 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
14.30 – 16. 00 น. สรุปผลและปิดการประชุม
โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ เข้าร่วมประชุมครบทุกพื้นที่
กระบวนการดำเนินงาน 1พัฒนากลไกคณะทำงาน ภาคประชาสังคม สธ. สปสช. อปท. และกขป.
2.พัฒนาความร่วมมือกลไกคณะทำงานระดับเขตและพื้นที่ เพื่ออกแบบการทำงานและการกำหนดเป้าหมายของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เชื่อมโยงกับการสร้างเสริมสุขภาพในระดับอำเภอ
3.พัฒนาขีดความสามารถการจัดทำแผน และ คุณภาพของแผนการสร้างเสริมกิจกรรมทางกายของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น สร้างความเข้าใจในกระบวนการจัดทำแผน โครงการ การปฏิบัติตามแผน และ การติดตาม ประเมินผล
4.หนุนเสริมการขัดทำแผน/โครงการ และการติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.ทีมวิชาการ พัฒนาคู่มือ เครื่องมือ เพื่อใช้ในการทำแผน การพัฒนาโครงการ การติดตามประเมินผล ประเด็นการสร้างเสริมกิจกรรมทางกาย
2.การประชุมร่วมกับแต่ละพชอ. เพื่อบูรณาการทำงานร่วมกัน
3.การพัฒนากลไกพี่เลี้ยงระดับเขตและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ เพื่อไปพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบกองทุน กรรมการกองทุน ผู้เสนอ/รับทุนโครงการ
4.การพัฒนาแผนสุขภาพแต่ละกองทุน โดยการช่วยเหลือของพี่เลี้ยง
5.การพัฒนาโครงการตามแผนการสร้างเสริมกิจกรรมทางกาย โดยการช่วยเหลือของพี่เลี้ยง
6.การติดตาม ประเมินผล หลังโครงการได้รับการสนับสนุน เพื่อการจัดทำรายงานผลโครงการ การประเมินผล และการถอดบทเรียนกระบวนการทำแผน จะได้รับรู้ข้อมูลสถานการณ์แต่ละปัญหา และ เป้าหมายของการแก้ปัญหา ทั้งระดับ เขต จังหวัด อำเภอ ตำบล
เกิดแผนสุขภาพในประเด็นกิจกรรมทางกายภาพรวมของอำเภอ โดยเป็นแผนที่เกิดจากแผนของกองทุนต่างๆในอำเภอ
โครงการที่กองทุนสนับสนุนมีคุณภาพมากขึ้น สามารถแก้ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ได้เป็นรูปธรรมมากขึ้น สามารถสังเคราะห์ผลและคุณค่าและนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากแผนและการดำเนินโครงการสามารถเป็นศูนย์เรียนรู้และขยายผลได้
20
0
34. 4.1.7การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
วันที่ 21 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำ
พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ลงพื้นที่ร่วมกับพี่เลี้ยงจังหวัดหรือพี่เลี้ยงพื้นที่ พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม การติดตามยกระดับกองทุนให้เป็นศูนย์เรียนรู้การทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่ดีของพื้นที่เขต 1 กองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โดยให้บันทึกโครงการที่พัฒนา กิจกรรมที่ดำเนินการ การติดตามโครงการลงในโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล ( https://localfund.happynetwork.org/) พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผนงานและโครงการที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ลงพื้นที่พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย โดยบันทึกโครงการที่พัฒนา กิจกรรมที่ดำเนินการ การติดตามโครงการลงในโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) โดยทีมพี่เลี้ยงและตัวแทนผู้รับผิดชอบกองทุนร่วมบันทึก แก้ไขเพิ่มเติมและลบข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง จำนวน 10 กองทุน มีแผนงาน 10 แผน โครงการที่พัฒนา 52 โครง และโครงการที่ติดตาม 24 โครงการ
21 มิ.ย. 65 - ทต.ท่าจำปี- ทต.ท่าวังทอง- ทต.บ้านต๋อม
22 มิ.ย. 65 - ทต.บ้านต๊ำ- ทต.บ้านใหม่- ทต. แม่กา
23 มิ.ย. 65 - ทต.แม่ปืม- อบต.แม่ใส- ทต.สันป่าม่วง
24 มิ.ย. 65 - เทศบาลเมืองพะเยา
40
0
35. 4.2การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน (มิถุนายน 2565)
วันที่ 29 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 29 มิถุนายน 2565 จัดกิจกรรมการประชุมการประชุมการแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน กองทุนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพเขตพื้นที่ 1
ณ โรงแรม มูสโฮเทล เชียงใหม่ ตำบลฟ้าฮ่าม อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีกิจกรรมดังนี้
เวลา 09. 00 – 09.30 น.ลงทะเบียน
เวลา 09.30 – 10.00 น. กล่าวต้อนรับและสรุปกิจกรรมการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับ สรุปสถานการณ์การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
เวลา 10.00- 12.00 น. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ สร้างการเรียนรู้ทักษะการจัดการความรู้ พื้นที่ต้นแบบกองทุนสุขภาพตำบลเขตพื้นที่ 1โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์
เวลา12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00-14.30 น. (ต่อ) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ สร้างการเรียนรู้ทักษาะการจัดการความรู้ พื้นที่ต้นแบบเขตพื้นที่ 1
เวลา 14.30 -14.45 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
เวลา 14.45 - 15.30 น. นำเสนอและสรุปบทเรียนกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ สร้างการเรียนรู้ทักษะการจัดการความรู้ พื้นที่ต้นแบบกองทุนสุขภาพตำบลเขตพื้นที่ 1
- พื้นที่ อ.สูงเม่น อ.ร้องกวาง จ.แพร่
- พื้นที่ อ.เวียงสา จ.น่าน
- พื้นที่ อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา
สรุปแผนการติดตามเสริมพลังของละพื้นที่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที่
เวลา 15.30 น.เป็นต้นไป สรุปและปิดการประชุม โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วม 20 คน ครบทุกพื้นที่
25
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน,พี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลและให้ผู้เสนอโครงการมีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ตัวชี้วัด : 1.พี่เลี้ยงมีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
2.คณะทำงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผล
116.00
2
เพื่อพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการ บันทึกกิจกรรม การติดตามประเมินคุณค่าโครงการ
ตัวชี้วัด : 1.มีศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอ โครงการกิจกรรมทางกาย ไม่น้อยกว่า 30 กองทุน
30.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุวิทย์ สมบัติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 ”
แพร่ พะเยา น่าน (รวม 53 กองทุน )หัวหน้าโครงการ
นายสุวิทย์ สมบัติ
ชื่อโครงการ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1
ที่อยู่ แพร่ พะเยา น่าน (รวม 53 กองทุน ) จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน แพร่ พะเยา น่าน (รวม 53 กองทุน )
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 " ดำเนินการในพื้นที่ แพร่ พะเยา น่าน (รวม 53 กองทุน ) รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 มิถุนายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,200,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พื้นที่ดำเนินการภาคเหนือเขต1 ใน 3 จังหวัด 4 อำเภอคือ อำเภอสูงเม่นและร้องกวาง จังหวัดแพร่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยาและอำเภอเวียงสาจังหวัดน่าน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน,พี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลและให้ผู้เสนอโครงการมีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
- เพื่อพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการ บันทึกกิจกรรม การติดตามประเมินคุณค่าโครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด (Online 2 ครั้ง Onsite 2 ครั้ง)
- 2.พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลพื้นที่ แพร่ น่าน พะเยา (53 กองทุน ) จำนวน 4 ครั้ง
- 3. ติดตามเสริมศักยภาพกองทุน 53 กองทุน จำนวน 2 ครั้ง
- 4. พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ 30 กองทุน 2 ครั้ง
- 1.1 พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด ออนไลน์
- 1.2พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัดในพื้นที่จ.แพร่ น่าน พะเยา
- 2.2 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่ ครั้งที่ 1 อำเภอเมืองพะเยา
- 2.3 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอ ร้องกวาง จ.แพร่
- 1.3 ประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขต จังหวัดและพื้นที่ online
- 1.4 ประชุมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดแพร่และคณะทำงาน
- 2.4 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอสูงเม่น จ.แพร่
- 3.4 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่1
- 2.5 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอเวียงสา จ.น่าน (ออนไลน์)
- 3.1 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ครั้งที่ 2
- 3.2 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ครั้งที่ 1-2
- 3.3ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงพื้นที่อำเภอเมืองพะเยา
- 3.6 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย กองทุนสุขภาพตำบลบ้านเหล่า
- 3.5 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.สูงเม่น จ.แพร่ ครั้งที่ 1
- 3.7 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยง อำเภอเวียงสา
- 3.8 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.เวียงสา จ.น่าน ครั้งที่ 1 (ออนไลน์)
- 3.10 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุน กองทุนอำเภอร้องกวาง โดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่2
- 3.9 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ครั้งที่ 3
- 1.5ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน
- 3.11 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
- 3.12 ประชุมการติดตามและคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบ
- 3.13 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
- 3.14 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอ ร้องกวาง จังหวัดแพร่
- 4.1 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ 32 กองทุน
- 4.1.2 ประชุมทีมพี่เลี้ยงอำเภอสูงเม่นและอำเภอร้องกวางจังหวัดแพร่เพื่อสรุปการพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ
- 4.1.1 ประชุมกองทุนต้นแบบ กองทุนสุขภาพท้องถิ่นในพื้นที่ เขต อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
- 4.2.1 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
- 4.2.2 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
- 4.2.3 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
- 4.1.3 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
- 4.1.4 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
- 4.1.5 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
- 4.1.6 ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อสรุปการติดตามพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ
- 4.1.7การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
- 4.2การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน (มิถุนายน 2565)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ยกรัะดับเป็นแผนพัฒนากิจกรรมทางกายรดับอำเภอร่วมกับพชอ.
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.1 พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด ออนไลน์ |
||
วันที่ 17 ตุลาคม 2564กิจกรรมที่ทำกำหนดการประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด ครั้งที่ 1
ประชุมทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ZOOM)
วัตถุประสงค์
1) เพื่อชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ
2) เพื่อวางแผนการจัดแผนปฏิบัติการกิจกรรมของโครงการในพื้นที่ เขต1
08.30 - 09.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าสู่ระบบ ZOOM / เตรียมความพร้อม ซักซ้อมระบบ
09.00 - 10.20 น. ทิศทางสำคัญของการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1/ชี้แจงแนวทาง และขั้นตอนการดำเนินงานโครงการชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ของการประชุม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะทำงานกลางประชุม onsite จำนวน 4 คน และเข้าร่วมประชุม on line จำนวน 15 คน ประกอบด้วยพี่เลี้ยงระดับเขต 1 คน จากสปสช.1 และพี่เลี้ยงจังหวัดแพร่ น่าน พะเยาจำนวน 4 คนจากสาธารณสุขอำเภอ 2 คนและเทศบาล 2 คน พี่เลี้ยงพื้นที่ อำเภอสูงเม่น 3 คน ผอ.รสสต. 2 คนและอบต.1 คน อำเภอร้องกวาง 2 คน จากสสอ.รพสต . อำเภอเมืองพะเยา 2 คน จากเทศบาล และอำเภอเวียงสา 3 คนจากรพสต.และเทศบาล ร่วมการแลกเปลี่ยนแนวทางการจัดทำแผนกิจกรรมทางกายและร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติการของ 4 อำเภอเป้าหมาย
|
15 | 0 |
2. 1.2พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัดในพื้นที่จ.แพร่ น่าน พะเยา |
||
วันที่ 31 ตุลาคม 2564กิจกรรมที่ทำการประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด ครั้งที่ 2 onsiteและon zoom วัตถุประสงค์ 1) เพื่อวางแผนการจัดแผนปฏิบัติการกิจกรรมของโครงการในพื้นที่ เขต1 2) เพื่อเสริมศักยภาพทีมพี่เลี้ยงในการจัดทำแผนงาน โครงการกองทุนตำบลส่งเสริมกิจกรรมทางกาย กิจกรรม 1.ชี้แจงแนวทาง เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดและขั้นตอน การดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 ทบทวนสถานการณ์การจัดทำแผนกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมาย ภ อำเภอคือสูงเม่น และร้องกวาง จังหวัดแพร่ อำเภอเวียงสาจังหวัดน่านและอำเภอเมืองพะเยา แนวทางการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 2.ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย แนวคิดการจัดทำโครงการฯ แนวทางสำคัญ ของการติดตามงานโครงการฯในพื้นที่แลกเปลี่ยน แนวทาง แผนการดำเนินงานโครงการฯ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 3.ฝึกบันทึกการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายและการพัฒนาโครงการในโปรแกรม โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด 4.จัดทำแผนปฏิบัติการดำเนินงานในแต่ละพื้นที่ สรุปแผนการติดตามเสริมพลังในแต่ละพื้นที่และปิดการประชุม โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีพี่เลี้ยงเข้าร่วมประชุมครอบคลุมทุกพื้นที่ จังหวัดแพร่และพะเยาร่วมประชุมonsite จำนวน 12 คน และพี่เลี้ยงจังหวัดน่านและอำเภอเวียงสาประชุม on zoom จำนวน 6 คน 2. แลกเปลี่ยนแนวทางการจัดทำทำแผนกิจกรรมทางกายเสนอแนะควรมีการจัดทำแบบประเมินกิจกรรมทางกายและแบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูลกิจกรรมทางกายรายบุคคลและรวบรวมบันทึกในโปแกรมเพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดทำแผนรายพื้นที่ 3.วิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ในการดำเนินการคัดเลือกพื้นที่และ4.กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมพัฒนาศักยภาพในรอบแรกโดยแต่ละกองทุนคัดเลือกคณะกรรมการกองทุน ผู้สนใจรับทุนพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกาย เจ้าหน้าที่รพสต.และผู้รับผิดชอบคนกองทุน นัดหมายการปฏิบัติงานในพื้นที่
|
47 | 0 |
3. 2.2 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่ ครั้งที่ 1 อำเภอเมืองพะเยา |
||
วันที่ 19 พฤศจิกายน 2564กิจกรรมที่ทำกำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
วันที่18 พฤศจิกายน2564 ณ ห้องประชุม สาธารณสุขอำเภอเมืองพะเยา อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
กิจกรรม 1.ชี้แจงการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ทบทวนสถานการณ์การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 43คน ประกอบด้วยพี่เลี้ยงจังหวัดและพื้นที่ ตัวแทนจากรพสต.ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯและผู้สนใจรับทุน อาสาสมัครสาธารณสุข 2-3 คน จาก 14 กองทุนในอำเภอพะเยา ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจในกระบวนการทำแผนและฝึกบันทึกการทำแผนกิกรรมทางกายลงในโปรแกรม จำนวน10 แผน
|
40 | 0 |
4. 1.3 ประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขต จังหวัดและพื้นที่ online |
||
วันที่ 28 มกราคม 2565กิจกรรมที่ทำการประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่
วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 09.00-16.00 น.
ณ ห้องประชุมสมาคมภาคีพัฒนาจังหวัดแพร่ ตำบลป่าแมต อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ และ
ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Zoom meeting
……………………………………………………………
เวลา 09.00 – 09.15 น. ลงทะเบียน/เตรียมระบบ
เวลา 09.15- 11.00 น. ชี้แจงการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกแผนงานโครงการ เกณฑ์การประเมินผล
โดย นายสุวิทย์ สมบัติ หมายเหตุ: 10.30 น. และ 14.30 น. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทีมพี่เลี้ยงเข้าประชุมครอบคลุม 100% คือ มีแผนปฏิบัติการการจัดกิจกรรมใน 2 ระดับ คือ มอบหมายพี่เลี้ยงจังหวัดและพื้นที่จำนวน 14 คนๆละ 3-4 กองทุน(53 กองทุน)
จากการตรวจสอบการบันทึกข้อมูลออนไลน์ พบ การบันทึกสถานการณ์ และการบันทึกโครงการยังงไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ บันทึกเพียง 24/53 กองทุน เกณฑ์การตรวจสอบพื้นที่เรียนรู้หรือพื้นที่ต้นแบบประกอบด้วย กรบันมทึกสถานการณ์ ครอบคลุมทั้ง 8 สถานการณ์ การกำหนดเป้าหมายสอดคล้องกับปัญหาของพื้นที่ โครงการที่ควรดำเนินการสอดคล้องกับเป้าหมายที่เป็นปัญหาของพื้นที่ และมีการพัฒนาโครงกาารอย่างน้อย พื้นที่ละ 1 โครงการ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานมีความรู้ความเข้าใจและสามารถถ่ายทอดการบันทึกหรือจัดทำแผงานโครงการกิจกรรมทางกายได้
|
19 | 0 |
5. 1.4 ประชุมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดแพร่และคณะทำงาน |
||
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ และเป้าหมายการดำเนินงานโครงการแก่ทีมพี่เลี้ยงจังหวัดแพร่และคณะทำงาน แนวทางการสนับสนุนกิจกรรม และการจัดทำแผนปฏิบัติการดครงการในพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมประชุม10 คนและมีการการจัดทำแผนปฏิบัติการโครงการในพื้นที่ การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณืในการสนับสนุนการจัดกิจกรรมให้แต่ละพื้นที่
1.ชี้แจงวัตถุประสงค์และกิจกรรมโครงการในพื้นที่ เขต 1
2.จัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการ
3.ทบทวนการโปรแกรมในการบันทึกข้อมูลแผนงานและโครงการในการดำเนินงานโครงการฯ
4.แลกเปลี่ยนรูปแบบพัฒนาศักยภาพทีมและแกนนำ
|
12 | 0 |
6. 2.4 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ |
||
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 45 คน ประกอบด้วยพี่เลี้ยงจังหวัดและพื้นที่ ตัวแทนจากรพสต. 16 แห่ง กองทุนฯ 1-2 คนจาก 13 กองทุน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาล และนักวิชาการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ จากปท.และเทศบาล ในอำเภอสูงเม่น มีการบันทึกข้อมูลแผนงาน 12 โครงการ/13 แห่ง ยกเว้น ต.ร่องกาศ (อยู่ระหว่างการดำเนินงาน) มีโครงการพัฒนา 5 โครงการ
|
37 | 0 |
7. 2.5 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอเวียงสา จ.น่าน (ออนไลน์) |
||
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องประชุมสมาคมภาคีพัฒนาจังหวัดแพร่และประชุมทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
กิจกรรม 1.ชี้แจงการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ทบทวนสถานการณ์การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 34 คน ประกอบด้วยพี่เลี้ยงจังหวัดและพื้นที่ ตัวแทนจากรพสต. กองทุนฯ 1-2 คนจาก 16 กองทุน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาล และนักวิชาการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ จากอปท.และเทศบาล ในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
|
45 | 0 |
8. 3.4 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่1 |
||
วันที่ 3 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ (3-26 เมษายน 2565) จำนวน 51 กองทุน โดยทีมพี่เลี้ยงเขต(ส่วนกลาง) กิจกรรม ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ ในสถานการณ์ปัญหา ทบทวนการจัดทำแผน บรรยายความเชื่อมโยงการทำแผนการพัฒนาโครงการ ฝึกปฏิบัติการ บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ การพัฒนาโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผนงานและโครงการที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่ ที่มีการบันทึกผ่านเว็บไซด์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทีมพี่เลี้ยงระดับเขต พี่เลี้ยงระดับอำเภอ/จังหวัด ประกอบด้วย สาธารณสุขอำเภอ , ผู้รับผิดชอบงานกองทุนจาก สสอ. ทีมประเมินกองทุนระดับเขตจากอปท. และตัวแทนกองทุน ประกอบด้วย จนท.กองทุนตำบล ,กรรมการกองทุน,ผู้เสนอโครงการ เป้าหมายกองทุนละ 2 -3 คน การบันทึกแผนจำนวน 51 แผน พัฒนาโครงการ 24 โครงการ
|
112 | 0 |
9. 3.7 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยง อำเภอเวียงสา |
||
วันที่ 17 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ (14-17 มีนาคม 2565) จำนวน 16 กองทุน วันละ 4 แห่งทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 1ุ6 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 14 แผน
|
32 | 0 |
10. 3.2 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ครั้งที่ 1-2 |
||
วันที่ 19 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำครั้งที่ 1 วันที่ 19 มีนาคม 2565
ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 10 แผน
|
40 | 0 |
11. 3.1 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 22 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำเข้าเยี่ยมพื้นที่ ทบทวนการจัดทำสถานการณ์ การทำแผนกิจกรรมทางกายการพัฒนาโครงการและการบันทึกข้อมูลในพื้นที่ จำนวน 10 กองทุน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสามารถเข้าเยี่ยม กองทุนได้วันละ 3 กองทุน รวม 4 วัน การบันทึกแผนรวม 10 แผน
|
30 | 0 |
12. 3.3ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงพื้นที่อำเภอเมืองพะเยา |
||
วันที่ 24 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำ20-24มีนาคม 2565 เยี่ยม กองทุน ทบทวนการทำแผน บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอเมืองพะเยา ให้คำแนะนำการบันทึกแผน โครงการ การบันทึกกิจกรรม ตาวจสอบรายละเอียดโครงการ บันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและกองทุนฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเยี่ยม กองทุน วันละ3 แห่ง 5 วัน มีการบันทึกแผน13 แผน พัฒนาโครงการ 10 โครงการ
|
89 | 0 |
13. 3.6 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย กองทุนสุขภาพตำบลบ้านเหล่า |
||
วันที่ 4 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำวันที่ 31 มีนาคม 2565 จัดประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินงาน ทบทวนสถานการณ์ของกองทุน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทีมบริหาร ตัวแทน เครือข่าย กลุ่มเป้าหมายที่ขอรับการสนับสนุนกองทุนฯ ตัวแทน แกนนำชุมชน เข้าร่วมรารือ และให้ข้อคิดเห็นและเเลกเปลี่ยนกระบวนการในการจัดงานและมีการนัดหมายกิจกรรมที่จะจัดในวันที่ 7-9 เมษายน 2565 โดยมีข้อเสนอให้ เรียนเชิญ นายอำเภอและสาธารณสุขอำเภอ ทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง จังหวัด และพื้นที่ เข้าร่วมกิจกรรมในวันดังกล่าว
|
20 | 0 |
14. 3.5 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.สูงเม่น จ.แพร่ ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 4 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำครั้งที่ 1 วันที่ 1 เมษายน 2565 ครั้งที่ 2 วันที่ 2 เมษายน 2565 ครั้งที่ 3-5 วันที่ 3,5,6 เมษายน 2565 ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 10 แผน
|
42 | 0 |
15. 1.5ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน |
||
วันที่ 30 เมษายน 2565กิจกรรมที่ทำประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานวัตถุประสงค์ 1) เพื่อติดตามผลการดำเนินงานโครงการ 2) เพื่อวางแผนการจัดแผนปฏิบัติการกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพและติดตามพื้นที่กองทุนของโครงการในพื้นที่ เขต1 เวลา กิจกรรม 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 10.20 น. ทบทวนแนวทาง เป้าหมายและขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ แผนการบริหารจัดการโครงการฯ ทวนสอบข้อมูลในโปรแกรมของแต่ละพื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 10.20 – 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
10.30 – 12.00 น. ทบทวนการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมในระบบออน์ไลน์ และตรวจสอบการบันทึกแผนงานและโครงการในแผนการดำเนินงานโครงการฯ การติดตามในแต่ละพื้นที่ 13.00 – 14.30 น. แลกเปลี่ยนรูปแบบการติดตาม ผลการติดตามในแต่ละพื้นที่ สูงเม่น ร้องกวางสูงเม่น ร้องกวาง อำเภอเมืองพะเยาและเวียงสา และจัดทำแผนการติดตามพื้นที่กองทุน โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด 13.00 – 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 14.30 – 16. 00 น. สรุปผลและปิดการประชุม โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ เข้าร่วมประชุมครบทุกพื้นที่
พี่เลี้ยงส่วนกลางให้คำแนะนำการทำแผน การทบทวนนิยาม บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ พร้อมให้คำแนะนำการบันทึกแผน โครงการ การบันทึกกิจกรรม ตรวจสอบรายละเอียดโครงการ
พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ สามารถเข้าเยี่ยม กองทุนสุขภาพตำบลได้วันละ 3 กองทุน
|
20 | 0 |
16. 3.8 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.เวียงสา จ.น่าน ครั้งที่ 1 (ออนไลน์) |
||
วันที่ 1 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำกำหนดการประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด แกนนำกองทุน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 12 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 12 แผน
|
34 | 0 |
17. 3.9 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 4 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำครั้งที่ 3 วันที่ 29 เมษายน 2565 ติดตามการดำเนินงานและปัญหาการบันทึกข้อมูลของพื้นที่จำนวน 14 กองทุน ทั้ง 8 หัวข้อ บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอเมืองพะเยา บันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและกองทุนฯ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 26 คน มีการบันทึกพัฒนาโครงการได้ 30 โครงการ
|
34 | 0 |
18. 3.11 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา |
||
วันที่ 4 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำวันที่ 2 พฤษภาคม 2565 ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินงาน ทบทวนสถานการณ์ของกองทุน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทีมบริหาร ตัวแทน เครือข่าย กลุ่มเป้าหมายที่ขอรับการสนับสนุนกองทุนฯ ตัวแทน แกนนำชุมชน เข้าร่วมรารือ และให้ข้อคิดเห็นและเเลกเปลี่ยนกระบวนการในการจัดงาน
|
20 | 0 |
19. 2.3 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอ ร้องกวาง จ.แพร่ |
||
วันที่ 4 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลร้องกวาง ตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมประชุม 37 คน สามารถบันทึกกิจกรรมทางกายจำนวน 10 แผน การจัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการและการติดตามเสริมพลังการดำเนินงานของพื้นที่ อ.ร้องกวาง
|
37 | 0 |
20. 3.10 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุน กองทุนอำเภอร้องกวาง โดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่2 |
||
วันที่ 4 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำเยี่ยม กองทุน ทบทวนการทำแผน การพัฒนาโครงการให้คำแนะนำการบันทึกแผน โครงการ การบันทึกกิจกรรม โดยตรวจสอบรายละเอียดโครงการพี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ติดตามการดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและสรุปผลการทำงานพื้นที่เขต 1 ครั้งที่ 2 ในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบล ใน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โดยทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ ในสถานการณ์ปัญหา ทบทวนการจัดทำแผน บรรยายความเชื่อมโยงการทำแผนการพัฒนาโครงการ ฝึกปฏิบัติการ บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ การพัฒนาโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผนงานและโครงการที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่ ที่มีการบันทึกผ่านเว็บไซด์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ติดตามการดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและสรุปผลการทำงานพื้นที่เขต 1 ครั้งที่ 2 ในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ดังนี้ ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนวันละ 3 กองทุน จำนวน 10 แห่ง จำนวน 18 ครั้ง 7 เม.ย. 65 - อบต.แม่ยางตาล 11 เม.ย. 65 - อบต.แม่ทราย 18 เม.ย. 65 - อบต.ร้องกวาง- อบต.น้ำเลา 21 เม.ย. 65 - อบต.ไผ่โทน- อบต.ห้วยโรง 22 เม.ย. 65 - อบต.แม่ยางร้อง 26 เม.ย. 65 - ทต.บ้านเวียง-อบต.แม่ยางฮ่อ
|
38 | 0 |
21. 4.1 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ 32 กองทุน |
||
วันที่ 10 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำพี่เลี้ยงเขต 1 คนและจังหวัด 1 คน ร่วมเสริมพลังในการพัฒนาให้แต่ละกองทุนสามารถบันทึกแผน พัฒนาดครงการและติดตามโครงการในโปรแกรม รวมทั้งเสริมศักยภาพพื้นที่ให้สามารถเป็นพื้นที่เรียนรู้ได้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอสูงเม่น อำเภอร้องกวาง เมืองพะเยา อำเภอละ10 กองทุนและเวียงสา4กองทุน รวม34 กองทุนระหว่างวันที่ 10 พค.ถึง28พค65
|
202 | 0 |
22. 3.12 ประชุมการติดตามและคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบ |
||
วันที่ 11 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำประชุมการติดตามและคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบ เพื่อคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบในแต่ละพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงระดับเขต พี่เลี้ยงระดับจังหวัด พี่เลี้ยงระดับพื้นที่เข้าร่วมประชุม on-site จำนวน 10 คน ร่วมประชุม Online จำนวน 8 คน
|
19 | 0 |
23. 3.13 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำวันที่ 9 พฤษภาคม 2565 พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก รพสต. อบต.และเทศบาลจำนวน 13 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 13 แผน
|
32 | 0 |
24. 3.14 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอ ร้องกวาง จังหวัดแพร่ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำวันที่ 10 พฤษภาคม 2565 พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 10 แผน
|
26 | 0 |
25. 4.1.2 ประชุมทีมพี่เลี้ยงอำเภอสูงเม่นและอำเภอร้องกวางจังหวัดแพร่เพื่อสรุปการพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ |
||
วันที่ 21 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำวัตถุประสงค์
1) เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานพื้นที่กองทุน
2) เพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานของโครงการในพื้นที่ เขต1
า กิจกรรม
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 - 10.20 น. ทบทวนแนวทางการดำเนินงานของโครงการ และทวนสอบข้อมูลในโปรแกรมของแต่ละพื้นที่
โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
10.20 – 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
10.30 – 12.00 น. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลแผนงานและโครงการในแผนการดำเนินงานโครงการฯ การติดตามในแต่ละพื้นที่ สูงเม่น ร้องกวาง อำเภอเมืองพะเยาและเวียงสา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ เข้าร่วมประชุมครบทุกพื้นที่
พี่เลี้ยงส่วนกลางให้คำแนะนำการทำแผน การทบทวนนิยาม บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ พร้อมให้คำแนะนำการบันทึกแผน โครงการ การบันทึกกิจกรรม ตรวจสอบรายละเอียดโครงการ
พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ สามารถเข้าเยี่ยม กองทุนสุขภาพตำบลได้วันละ 3 กองทุน
|
20 | 0 |
26. 4.1.1 ประชุมกองทุนต้นแบบ กองทุนสุขภาพท้องถิ่นในพื้นที่ เขต อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา |
||
วันที่ 24 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 14 แผน
|
20 | 0 |
27. 4.2.1 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ |
||
วันที่ 29 พฤษภาคม 2565กิจกรรมที่ทำวันที่ 29 พฤษภาคม 2565 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. สรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ สถานการณ์การทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 3. พัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทางการถอดบทเรียนกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 4. สรุปบทเรียนการดำเนินงานการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และแกนนำกองทุนนสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ ๆ ละ 1-2 คน รวมจำนวน 24 คนร่วมกันแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน สะท้อนถึงปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน พร้อมให้ข้อเสนอแนะร่วมกับพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่
|
20 | 0 |
28. 4.1.3 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำพี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ลงพื้นที่ร่วมกับพี่เลี้ยงจังหวัดหรือพี่เลี้ยงพื้นที่ พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม การติดตามโครงการและการสร้างยกระดับกองทุนให้เป็นศูนย์เรียนรู้การทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่ดีของพื้นที่เขต 1 กองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นลงพื้นที่พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย โดยบันทึกโครงการที่พัฒนา กิจกรรมที่ดำเนินการ การติดตามโครงการลงในโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) โดยทีมพี่เลี้ยงและตัวแทนผู้รับผิดชอบกองทุนร่วมบันทึก แก้ไขเพิ่มเติมและลบข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง จำนวน 4 กองทุน มีแผนงาน 4 แผน และ โครงการที่พัฒนา 7 โครงการ ครั้งที่ 2 เยี่ยม 1 มิ.ย. 65 - ทต.เวียงสา - อบต.แม่สาคร - ทต.ขึ่ง 2 มิ.ย. 65 - ทต.กลางเวียง ครั้งที่ 3 เยี่ยม 26 มิ.ย. 65 - ทต.เวียงสา - อบต.แม่สาคร - ทต.ขึ่ง 27 มิ.ย. 65 - ทต.กลางเวียง
|
40 | 0 |
29. 4.2.3 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ |
||
วันที่ 2 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำวันที่ 31 พฤษภาคม 2565 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. สรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ สถานการณ์การทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 3. พัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทางการถอดบทเรียนกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 4. สรุปบทเรียนการดำเนินงานการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และแกนนำกองทุนนสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมจำนวน 32 คนร่วมกันแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน สะท้อนถึงปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน พร้อมให้ข้อเสนอแนะร่วมกับพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่
|
30 | 0 |
30. 4.2.2 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา |
||
วันที่ 2 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำวันที่ 30 พฤษภาคม 2565 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. สรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ สถานการณ์การทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 3. พัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทางการถอดบทเรียนกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 4. สรุปบทเรียนการดำเนินงานการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และแกนนำกองทุนนสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วม ร่วมกันแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน สะท้อนถึงปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน พร้อมให้ข้อเสนอแนะร่วมกับพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่
|
20 | 0 |
31. 4.1.4 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ |
||
วันที่ 6 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำพี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ลงพื้นที่ร่วมกับพี่เลี้ยงจังหวัดหรือพี่เลี้ยงพื้นที่ พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม การติดตามโครงการและการสร้างยกระดับกองทุนให้เป็นศูนย์เรียนรู้การทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่ดีของพื้นที่เขต 1 กองทุนสุขภาพตำบล อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ โดยให้บันทึกโครงการที่พัฒนา กิจกรรมที่ดำเนินการ การติดตามโครงการลงในโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล ( https://localfund.happynetwork.org/) พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผนงานและโครงการที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ลงพื้นที่ร่วมกับพี่เลี้ยงจังหวัดหรือพี่เลี้ยงพื้นที่ พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม การติดตามโครงการและการสร้างยกระดับกองทุนให้เป็นศูนย์เรียนรู้การทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่ดีของพื้นที่เขต 1 กองทุนสุขภาพตำบล อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ครั้งที่ 2
|
20 | 0 |
32. 4.1.5 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ |
||
วันที่ 12 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำพี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต พื้นที่ ติดตามการดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและสรุปผลการทำงานพื้นที่เขต 1 ครั้งที่ 3 ในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ อำเภอร้องกวางลงพื้นที่ติดตาม หนุนเสริมการจัดทำแผนปัจจัยเสี่ยงและแผนตามบริบทพื้นที่แก้ไขข้อมูลสถานการณ์ แนะนำแหล่งที่มาของข้อมูลในการบันทึกการการตรวจสอบข้อมูล โดยทีมพี่เลี้ยงและตัวแทนผู้รับผิดชอบกองทุนในแต่ละพื้นที่ ร่วมดำเนินการในการบันทึก การแก้ไขเพิ่มเติมและลบข้อมูลที่ไม่ถูกต้องในโปรแกรมออนไลน์ จำนวน10 กองทุน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ติดตามการดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและสรุปผลการทำงานพื้นที่เขต 1 ครั้งที่ 3 ในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ดังนี้ จำนวน10 กองทุน
1 12 มิ.ย. 65 - อบต.ห้วยโรง -อบต.แม่ทราย - อบต.แม่ยางฮ่อ
|
50 | 0 |
33. 4.1.6 ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อสรุปการติดตามพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ |
||
วันที่ 18 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำวัตถุประสงค์
1) เพื่อสรุปการติดตามผลการดำเนินงานพื้นที่ต้นแบบ
2) เพื่อสรุปการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ เขต1
เวลา กิจกรรม
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 - 10.20 น. สรุปการดำเนินงานโครงการ และทวนสอบข้อมูลในโปรแกรมของแต่ละพื้นที่
โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
10.20 – 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
10.30 – 12.00 น. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลแผนงานและโครงการในแผนการดำเนินงานโครงการฯ การติดตามในแต่ละพื้นที่ สูงเม่น ร้องกวาง อำเภอเมืองพะเยาและเวียงสา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ เข้าร่วมประชุมครบทุกพื้นที่
กระบวนการดำเนินงาน 1พัฒนากลไกคณะทำงาน ภาคประชาสังคม สธ. สปสช. อปท. และกขป.
|
20 | 0 |
34. 4.1.7การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำพี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ลงพื้นที่ร่วมกับพี่เลี้ยงจังหวัดหรือพี่เลี้ยงพื้นที่ พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม การติดตามยกระดับกองทุนให้เป็นศูนย์เรียนรู้การทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่ดีของพื้นที่เขต 1 กองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โดยให้บันทึกโครงการที่พัฒนา กิจกรรมที่ดำเนินการ การติดตามโครงการลงในโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล ( https://localfund.happynetwork.org/) พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผนงานและโครงการที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นลงพื้นที่พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย โดยบันทึกโครงการที่พัฒนา กิจกรรมที่ดำเนินการ การติดตามโครงการลงในโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) โดยทีมพี่เลี้ยงและตัวแทนผู้รับผิดชอบกองทุนร่วมบันทึก แก้ไขเพิ่มเติมและลบข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง จำนวน 10 กองทุน มีแผนงาน 10 แผน โครงการที่พัฒนา 52 โครง และโครงการที่ติดตาม 24 โครงการ 21 มิ.ย. 65 - ทต.ท่าจำปี- ทต.ท่าวังทอง- ทต.บ้านต๋อม 22 มิ.ย. 65 - ทต.บ้านต๊ำ- ทต.บ้านใหม่- ทต. แม่กา 23 มิ.ย. 65 - ทต.แม่ปืม- อบต.แม่ใส- ทต.สันป่าม่วง 24 มิ.ย. 65 - เทศบาลเมืองพะเยา
|
40 | 0 |
35. 4.2การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน (มิถุนายน 2565) |
||
วันที่ 29 มิถุนายน 2565กิจกรรมที่ทำวันที่ 29 มิถุนายน 2565 จัดกิจกรรมการประชุมการประชุมการแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน กองทุนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพเขตพื้นที่ 1
ณ โรงแรม มูสโฮเทล เชียงใหม่ ตำบลฟ้าฮ่าม อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีกิจกรรมดังนี้
เวลา 09. 00 – 09.30 น.ลงทะเบียน
เวลา 09.30 – 10.00 น. กล่าวต้อนรับและสรุปกิจกรรมการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับ สรุปสถานการณ์การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วม 20 คน ครบทุกพื้นที่
|
25 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน,พี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลและให้ผู้เสนอโครงการมีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ตัวชี้วัด : 1.พี่เลี้ยงมีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2.คณะทำงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผล |
116.00 | |||
2 | เพื่อพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการ บันทึกกิจกรรม การติดตามประเมินคุณค่าโครงการ ตัวชี้วัด : 1.มีศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอ โครงการกิจกรรมทางกาย ไม่น้อยกว่า 30 กองทุน |
30.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุวิทย์ สมบัติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......