สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

diversity_2

โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อยกระดับคุณภาพโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของเครือข่ายแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สสส.
ตัวชี้วัด : 1) ผู้เสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สสส.อย่างน้อย 100 คน มีทักษะทำแผน การเขียนข้อเสนอโครงการ ใช้ระบบติดตามและประเมินผล 2) ได้ข้อมูล Mapping ของเครือข่าย สสส.อย่างน้อย 4 ชุด 3) ได้ข้อเสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ สอดคล้องแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพและเป็นโครงการที่มีคุณภาพ จำนวน 50 โครงการ 4) ได้ระบบสารสนเทศ online ที่ใช้ในพัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผล จำนวน 1 ระบบ
0.00

 

 

 

2 เพื่อขยายและยกระดับการดำเนินงานกิจกรรมทางกายในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1) พี่เลี้ยง 200 คน มีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2) ผู้เสนอโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผล อย่างน้อยจำนวน 1,500 คน 3) ร้อยละ 90 ของกองทุนฯ ในอำเภอที่มีศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอ โครงการกิจกรรมทางกาย 4) เกิดสื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องกิจกรรมทางกาย กับกลุ่มเป้าหมายของโครงการที่ได้รับทุน อย่างน้อย 50,000 คน 5) ได้กองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้การดำเนินการจัดทำแผนโครงการระดับอำเภอ จำนวน 120 กองทุน 6) ได้คู่มือการพัฒนาโครงการจำนวน 1 ชุด 7) คู่มือการติดตามประเมินผลโครงการจำนวน 1 ชุด 8) ได้ระบบสารสนเทศ online ที่ใช้ในพัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผล จำนวน 1 ระบบ 9) ได้ข้อมูลองค์ความรู้ถอดบทเรียนการส่งเสริมกิจกรรมทางกายจำนวน 10 กรณีศึกษา 10) ได้สื่อวิดีโอ บทความวิชาการ เอกสารชุดความรู้เพื่อเผยแพร่การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย อย่างน้อยรวมกัน 5 ชุด
0.00

 

 

 

3 เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ตัวชี้วัด : 1) ได้ข้อมูลการออกแบบและการใช้พื้นที่เส้นทางการสัญจรทั้งในเมืองและชุมชน และพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย จำนวน 1 ชุด 2) นโยบาย มาตรการหรือข้อตกลงในการใช้พื้นที่สาธารณะ 3) เกิดองค์กรต้นแบบด้านกิจกรรมทางกายในการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จำนวน 8 แห่ง 4) นโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายกับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคส่วนกลาง 5) เกิดการสื่อสารให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ผลักดันให้เกิดนโยบายและสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อ กับเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ ภาคีเครือข่าย สสส. และกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จำนวน 10,000 คน 6) ชุดความรู้ (1) การผลักดันนโยบายสาธารณะ จากพื้นที่ต้นแบบสู่นโยบายสาธารณะ (2) การวิเคราะห์ความคุ้มทุนของการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายกับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
0.00