สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.พัทลุง ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
คุณพงศ์ไพโรจน์ ฆังคะรัตน์

ชื่อโครงการ เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.พัทลุง

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง สชต.นศ.005

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 ตุลาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.พัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.พัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.พัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 ตุลาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. สนับสนุนการผลิตสื่อและจัดรายการเพื่อการสื่อสารสาธารณะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย 2. ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสื่อที่มีคุณภาพและรูปแบบการสื่อสารกับประเด็นขับเคลื่อนสุขภาวะทางสังคม 3.กำหนดแนวปฏิบัติด้านจริยธรรมการสื่อสาร กับการขับเคลื่อนสังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดรายการวิทยุและถ่ายทอดสัญญาณวิทยุกินอิ่มนอนอุ่นบนแผ่นดินใต้

    วันที่ 13 มกราคม 2561 เวลา 09:00-10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดรายการวิทยุ กินอิ่ม นอนอุ่น บนแผ่นดินใต้  ออกอากาศทางสถานีวิทยุพัทลุงซิตี้เรดิโอ99.75 / ป่าบอนซิตี้เรดิโอ107.25   

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดรายการวิทยุกินอิ่มนอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ ประเด็น  ท่องเที่ยวชุมชนเชิงนิเวศทะเลน้อย พัทลุง      จากการสนทนากับเครือข่ายสมาคมสื่อมวลชนเพื่อการท่องเที่ยวพัทลุง เน้นมิติส่งเสริมการมีส่วนร่วมด้านการประชาสัมพันธ์แนะนำแหล่งท่องเที่ยว เพื่อเชื่อมโยงสานต่อนโยบายชาติ ที่กล่าวว่า รายได้จากการท่องเที่ยว ครองอับดับ 3 ของประเทศ  กลวิธีสร้างความเชื่อถือและความมั่นใจต่อนักท่องเที่ยว(ลูกค้า) คือ คนในพื้นที่ ชวนคนนอกเข้ามาในพื้นที่ ด้วย รอยยิ้ม คำพูดสุภาพ ความจริงใจ ประเด็นปัญหาท้าทาย การส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน รัฐและชุมชน จะต้องร่วมใช้ร่วมรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ระบบการจัดการป้องกัน บำบัดขยะและมลพิษให้มีความยั่งยืน ได้อย่างไร ?

     

    500 500

    2. ร่วมเวทีเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้ปี 2561 ห้องย่อยการท่องเที่ยวโดยชุมชนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโซนอันดามัน

    วันที่ 19 มกราคม 2561 เวลา 09:00-16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เวทีประชุมนำเสนอสถานการณ์การดำเนินงานท่องเที่ยวโดยชุมชน โซนอันดามัน ร่วมแลกเปลี่ยน  ความคิดเห็นปัญหาอุปสรรคและแนวทางในอนาคต
    2.รับชมการถ่ายทอดสดเวทีสาธารณะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้ข้อมูลการท่องเที่ยวโดยชุมชน ที่ผ่านการวิเคราะห์กลั่นกรอง  สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ได้ 2.เนื้อหาการสื่อสารที่มีความชัดเจนและเห็นถึงบริบทของผู้ทำการขับเคลื่อนประเด็น 3.เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นที่พูดคุย

     

    3 3

    3. จัดรายการวิทยุและถ่ายทอดสัญญาณวิทยุ กินอิ่ม นอนอุ่น บนแผ่นดินใต้

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00-10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดรายการวิทยุโดยทีมสื่อ จังหวัดพัทลุง และเชื่อมถ่ายทอดสัญญาณจากสถานีเครือข่าย  ทางสถานีวิทยุพัทลุงซิตี้เรดิโอ 99.75 และป่าบอนซิตี้เรดิโอ 107.25 จังหวัดพัทลุง  พูดคุยในประเด็นท่องเที่ยวชุมชนพื้นที่พัทลุง 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวนาเมืองลุงเจ๋งพัฒนาสายพันธุ์ “ข้าวเล็บนกดำ” สำเร็จ นายอำนาจ เกตุขาว อายุ 52 ปี เกษตรกรชาวนาในพื้นที่ ต.แหลมโตนด อ.ควนขนุน จ.พัทลุง ซึ่งใช้เวลาในการปลูก 5 รอบ และไม่ใช้สารเคมีในการปลูกเพื่อเป็นข้าวอินทรีย์จนกระทั่งได้สายพันธุ์ที่นิ่งในปัจจุบัน สายพันธุ์ “ข้าวเล็บนกดำพัทลุง” จนสำเร็จ มีคุณค่าทางอาหารสูง มีวิตามิน แคลเซียม และธาตุเหล็ก รสชาตินุ่ม หอมอร่อยน่ารับประทาน ตลอดชีวิตความเป็นชาวนาบรรลุสู่ปราชญ์ชาวบ้าน  ศึกษา และพัฒนาสายพันธุ์ข้าวเป็นของตัวเอง จากต้นข้าวที่เป็นข้าวเหนียวดำ มาปรับปรุงพันธุ์เป็นข้าวเจ้า โดยเอาจุดเด่นของสีดำมาเป็นตัวกระตุ้นให้ข้าวสีขาวเป็นสีดำ จนกลายมาเป็นข้าวเล็บนกดำพัทลุงในที่สุด
    เมื่อถึงช่วงฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิตที่ได้ก็ได้มีสูงกว่าข้าวสายพันธุ์พื้นเมืองอื่นๆ ในรวงจะมีเม็ดข้าวเยอะ ซึ่งไร่หนึ่งจะตกอยู่ที่ 750-800 กิโลกรัม ล่าสุด หลังจากที่สายพันธุ์ข้าวเล็บนกดำที่คัดสายพันธุ์มาได้ ก็ได้นำไปพิสูจน์ในห้องแล็บเพื่อหาคุณค่าทางโภชนาการในอาหาร พบว่า มีคุณค่าทางอาหารที่สูงกว่าข้าวพื้นเมืองสายพันธุ์อื่นๆ ซึ่งตัวเองรู้สึกดีใจ ภูมิใจที่เป็นชาวนาพัฒนาสายพันธุ์ข้าวเองจนสำเร็จ

     

    500 500

    4. จัดรายการ “ท่องเที่ยวชุมชน” ทาง face book live

    วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00-10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดรายการวิทยุโดยทีมสื่อ จังหวัดพัทลุง เชื่อมสัญญาณถ่ายทอดออกอากาศและจัดรายการเผยแพร่ผ่านทาง face book live ในประเด็นท่องเที่ยวชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

              การจัดกิจกรรมวันแห่งความรัก โดยเครือข่ายหลายภาคส่วนร่วมจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และการสร้างความสัมพันธ์สานรักสามัคคี โดยใช้การจดทะเบียนสมรส สำหรับคู่แต่งงาน
    ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2561 ถ้าพูดถึงพัทลุงในตอนนี้ หลายคนคงนึกถึงการท่องเที่ยวที่ออกแนวธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็น ล่องแก่ง น้ำตก หรือเลน้อย และยังมีวิถีบ้านๆเช่น หลาดใต้โหนด สวนไผ่ขวัญใจ ซึ่งที่เป็นสถานที่ๆทำให้พัทลุงมีชื่อเสียง และเรียกนักท่องเที่ยวเข้ามาได้อย่างดีที่เดียว  แต่วันนี้เราไม่ขอพูดถึงสถานที่ดังกล่าวกัน เพราะที่ดังมันก็ดังไปแล้ว ที่สวยงามคนก็รู้จักและแวะมาเที่ยวอยู่เรื่อยๆ วันนี้ #ที่นี่พัทลุงขอแนะนำอีกสถานที่ท่องเที่ยวที่คาดว่า พลาดไม่ได้เลยทีเดียว นั่นคือ “นาโปแก”เอ๋! อะไรนะ นา โป แก มันคืออะไร ชื่อแปลกๆ พิลึกชอบกล หลายคนที่ได้ยินในตอนนี้ก็คงคิดไม่ต่างกัน เพราะตอนนี้ทีมงานเค้ากำลังก่อร่างสร้างฝันทำให้มันเป็นอีกจุดที่เมื่อมาพัทลุงแล้ว ต้องมาให้ถึงจริงๆ นาโปแก คาดว่าเป็นภาษาพื้นบ้านท้องถิ่น #นา คือนาข้าว #โปแก เป็นสำเนียงพูดของคนพัทลุงที่หมายถึงพ่อของแม่ หรือพ่อแก่ นั่นก็คือคุณตานั่นเอง #โป คำเดียวสั้นๆหมายถึงปู่ในภาษาถิ่นของคนพัทลุง เมื่อรวมความหมายที่เข้าใจได้คือ ที่นาของคุณตา นั่นเองแล้วเราจะไปเที่ยวอะไรที่นาของคนอื่นละ? นั่นไง ขี้สงสัยจัง อธิบายให้ฟังละกัน นาโปแก เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สร้างขึ้นเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้ได้มาสัมผัสกลิ่นอายของธรรมชาติท้องไร่ท้องนา ชมการสาธิตการปลูกข้าว การสีข้าวของคนรุ่นปู่รุ่นย่าของเรา ชมวิถีชีวิตเด็กเลี้ยงวัว นอกจากนี้ เค้ายังมีสิ่งก่อสร้างแบบอินดี้เพื่อให้สามารถใช้เป็นจุดดึงดูดให้ใครต่อใครมาถ่ายรูป มาเซลฟี่ อวดโฉมกันในโลกออนไลน์อีกด้วย แต่ต้องขอโทษทีที่เราจะบอกว่า ตอนนี้ยังเปิดแบบไม่เป็นทางการ เพราะอยู่ในระหว่างการปรับสถานที่ให้รองรับนักท่องเที่ยว เปิดให้เข้าชมฟรีทุกวัน ถ้าจะมาให้ได้บรรยากาศให้มาช่วงเย็นๆ

     

    500 500

    5. จัดรายการวิทยุและถ่ายทอดสัญญาณวิทยุกินอิ่มนอนอุ่นบนแผ่นดินใต้

    วันที่ 4 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดรายการวิทยุโดยทีมสื่อ จังหวัดพัทลุง และเชื่อมถ่ายทอดสัญญาณจากสถานีเครือข่าย  ทางสถานีวิทยุพัทลุงซิตี้เรดิโอ 99.75 และป่าบอนซิตี้เรดิโอ 107.25  จังหวัดพัทลุง พูดคุยในประเด็นท่องเที่ยวชุมชนพื้นที่พัทลุง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

              ตลาดต้องชม “กรีนมุ้งมิ้งแบบไทย” ซึ่งอยู่ริมถนนสายเพชรเกษม ตำบลท่าแค อำเภอเมืองพัทลุง ห่างจากตัวเมืองจังหวัดพัทลุงประมาณ 4 กม. ในภายตลาดมีสินค้าพื้นบ้าน ประเภทอาหาร และสินค้าอื่นๆ เป็นตลาดที่เปิดให้ประชาชนในพื้นที่นำสินค้าพื้นที่เข้ามาจำหน่ายโดยเปิดเฉพาะวันอาทิตย์  ขณะเดียวกันตลาดแห่งนี้มีนักท่องเที่ยวได้เข้าเที่ยวชมสินค้าซึ่งสร้างรายได้ให้กับผู้ขาย         ตลาดกรีนมุ้งมิ้งแบบไทย เป็นตลาดชุมชนที่เกิดจากความร่วมมือกันของคนในชุมชน ที่มีจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือ การสร้างสุขภาพที่ดี ความเป็นอยู่ที่ดี บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย ภายใต้สโลแกน “สุขภาพ ธรรมชาติ วิถีธรรม วิถีไทย” โดยมีเครือข่ายผู้ผลิต ผู้จำหน่ายหัวใจสีเขียว จาก 200 ครัวเรือน บนพื้นที่ร้านแบบไทยจิระพัฒน์วู๊ด  มีกระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้ค้าทุกคน เปิดทำการซื้อขายทุกวันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 12.00 – 20.00 น. สินค้าจำหน่ายจากชุมชน ได้แก่ พืช ผัก ผลไม้พื้นบ้านตามฤดูกาล ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ อาหารแบบไทย อาหารพื้นบ้านปลอดผงชูรส และปลอดเนื้อสัตว์ใหญ่ งานหัตถกรรมทำมือ และบริการนวดแผนไทย จำนวน ๖๐ ราย มีการแสดงหนังตะลุง ดนตรีในสวน และมโนราห์ ทุกวันที่เปิดซื้อขาย มีประชาชนเดินเข้าซื้อขายสินค้าพื้นบ้านเป็นจำนวนมาก ขณะสินค้าส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่ดีต่อสุภาพ ปลอดสารพิษ

     

    500 500

    6. จัดรายการ “ท่องเที่ยวชุมชน” ทาง face book live

    วันที่ 10 มีนาคม 2561 เวลา 09:00-10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดรายการวิทยุโดยทีมสื่อ จังหวัดพัทลุง เชื่อมสัญญาณถ่ายทอดออกอากาศและจัดรายการเผยแพร่ผ่านทาง face book live ในประเด็นท่องเที่ยวชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมประเด็นการท่องเที่ยวชุมชนที่เที่ยวผจญภัยสุดฮิตของจังหวัดพัทลุง ไปเที่ยวพัทลุงต้องไม่พลาดไปล่องแก่งลานข่อย สุดสนุกบนสายน้ำสุดเย็นฉ่ำ เที่ยวได้ตลอดทั้งปี สนุกสนานได้ทั้งครอบครัว  จังหวัดพัทลุง เป็นอีกหนึ่งจังหวัดของภาคใต้ที่มีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมให้เราได้ไปสัมผัสมากมาย ซึ่งความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติในจังหวัดพัทลุงนี่เองที่ก่อเกิดสถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงามและน่าสนใจมากมาย ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือการล่องแก่ง โดยเฉพาะในท้องที่ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม ที่คนทั่วไปมักจะรู้จักกันในชื่อ ล่องแก่งหนานมดแดง ล่องแก่งหนานท่าส้าน, ล่องแก่งชมดาว เป็นต้น การล่องแก่งลานข่อย มีระยะทางทั้งหมดประมาณ 5-6.5 กิโลเมตร ใช้เวลาประมาณ 1.30-2 ชั่วโมง สามารถมาเที่ยวได้ตลอดทั้งปี เพราะน้ำจะมาจากอ่างเก็บน้ำห้วยน้ำใส ซึ่งสามารถบังคับให้น้ำไหลมากน้อยได้ และไม่มีอันตรายจากน้ำป่าไหลหลาก อีกทั้งแต่ละรีสอร์ทจะมีเจ้าหน้าที่คอยดูแลอย่างใกล้ชิด ใครพายเรือคายักไม่เป็นก็จะมีเจ้าหน้าที่พายให้ สำหรับค่าบริการล่องแก่งนั้น จะอยู่ที่ประมาณคนละ 200 บาท มีอุปกรณ์ทั้งเสื้อชูชีพ หมวกกันน็อกให้พร้อม คนที่พายเรือไม่เป็นก็จะมีเจ้าหน้าที่ไปพายให้โดยที่ไม่ต้องจ่ายเพิ่ม   

     

    500 500

    7. ประชุมคณะทำงานเครือข่ายสื่อสร้างสุข จังหวัดพัทลุง

    วันที่ 10 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 - 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ 2.ร่วมกันกำหนดประเด็นที่ใช้ในการสื่อสาร 3.วิเคราะห์  เนื้อหา/รูปแบบการสื่อสารเพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษาแนวปฏิบัติจริยธรรมสื่อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เนื้อหาการขับเคลื่อนชุมชนเรื่อง  การท่องเที่ยวชุมชน สิ่งแวดล้อม  อาหาร และอื่นๆได้สื่อสารผ่านรูปแบบต่างๆให้สังคมได้รับรู้ทั้งภายในจังหวัดและเครือข่ายภาคใต้ 2.เพื่อให้เกิดการสนับสนุนและให้เกิดการทำงานแบบบูรณาการเชื่อมร้อยเพื่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดกับกลุ่มคนที่ได้ใช้ประโยชน์ กับเครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ในทุกระดับกลุ่มคน

     

    5 5

    8. จัดรายการวิทยุและถ่ายทอดสัญญาณวิทยุกินอิ่มนอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ รายการวิทยุ

    วันที่ 8 เมษายน 2561 เวลา 09:00-10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดรายการวิทยุ จำนวน 2 ครั้ง/ชั่วโมง  เชื่อมสัญญาณถ่ายทอดออกอากาศ จำนวน 8 ครั้ง/ชั่วโมง
    เนื้อหาการจัดกิจกรรมประเด็น  เฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงเทศกาลสงกรานต์ โดยนายชนม์ชนันท์  โต๊ะเจ๊ะ ผู้อำนวยการ คปภ.จังหวัดพัทลุง เป็นวิทยากรจัดรายการร่วมให้ความรู้ หน้าที่การกำกับและส่งเสริมกิจการประกันภัย อาทิ 1)คนทุกคนมีประกันชีวิต รถทุกคันมีประกันภัย  2)คนขับรถทุกคนมีสติทำตามกฎจราจร  รถทุกคันอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ถนนทุกเส้นทางมีป้ายสัญญาณจราจร คนร่วมทางไม่ประมาทและคึกคะนอง 4.ในช่วงเทศกาลสงกรานต์มีแบบประกันภัยรายย่อย ไมโครอินชัวรันส์ 100 และ 222  เป็นหลักประกันราคาพิเศษสำหรับผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    องค์ความรู้ ที่สื่อสาร 1)ประเด็น ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น โดยวัดจากจำนวนพาหนะเดินทาง(รถโดยสาร รถยนต์ส่วนบุคคล)รายได้ของลานรับฝากจอดรถ เพิ่มขี้นวันละ 10,000-20,000 บาท 2)ประเด็นเฝ้าระวังป้องกันปัจจัยเสี่ยง มีระบบการจัดการขยะที่ดี มีการสร้างถังแยกขยะ 3)ประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน มีการใช้พลังงานทดแทน ใช้เตาถ่านแทนเตาแก๊ส ป้องกันการปนเปื้อน ในการหุงอบปิ้งย่างปรุงอาหาร

     

    500 500

    9. จัดรายการวิทยุและถ่ายทอดสัญญาณวิทยุกินอิ่มนอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ ทางFacebook Live

    วันที่ 28 เมษายน 2561 เวลา 12:00-13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดรายการวิทยุ จำนวน 2 ครั้ง/ชั่วโมง  เชื่อมสัญญาณถ่ายทอดออกอากาศ จำนวน 8 ครั้ง/ชั่วโมง และจัดรายการเผยแพร่ผ่านface book live  จำนวน 2 ครั้ง /ชั่วโมง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

        องค์ความรู้ ที่สื่อสาร
    1)ประเด็น ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน
    จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น โดยวัดจากจำนวนพาหนะเดินทาง(รถโดยสาร รถยนต์ส่วนบุคคล)รายได้ของลานรับฝากจอดรถ เพิ่มขี้นวันละ 10,000-20,000 บาท 2)ประเด็นเฝ้าระวังป้องกันปัจจัยเสี่ยง มีระบบการจัดการขยะที่ดี มีการสร้างถังแยกขยะ 3)ประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน
    มีการใช้พลังงานทดแทน ใช้เตาถ่านแทนเตาแก๊ส ป้องกันการปนเปื้อน ในการหุงอบปิ้งย่างปรุงอาหาร

     

    500 500

    10. จัดรายการวิทยุและถ่ายทอดสัญญาณวิทยุกินอิ่มนอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ รายการวิทยุ

    วันที่ 6 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:00-10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดรายการวิทยุ จำนวน 2 ครั้ง/ชั่วโมง  เชื่อมสัญญาณถ่ายทอดออกอากาศ จำนวน 8 ครั้ง/ชั่วโมง และจัดรายการเผยแพร่ผ่านfacebook live  จำนวน 2 ครั้ง /ชั่วโมง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    องค์ความรู้ ที่สื่อสาร
    1)ประเด็น ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น โดยวัดจากจำนวนพาหนะเดินทาง(รถโดยสาร รถยนต์ส่วนบุคคล)รายได้ของลานรับฝากจอดรถ เพิ่มขี้นวันละ 10,000-20,000 บาท 2)ประเด็นเฝ้าระวังป้องกันปัจจัยเสี่ยง มีระบบการจัดการขยะที่ดี มีการสร้างถังแยกขยะ 3)ประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน มีการใช้พลังงานทดแทน ใช้เตาถ่านแทนเตาแก๊ส ป้องกันการปนเปื้อน ในการหุงอบปิ้งย่างปรุงอาหาร

     

    500 500

    11. จัดรายการวิทยุและถ่ายทอดสัญญาณวิทยุกินอิ่มนอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ ทางFacebook Live

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2561 เวลา 12:00-13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดรายการวิทยุ จำนวน 2 ครั้ง/ชั่วโมง  เชื่อมสัญญาณถ่ายทอดออกอากาศ จำนวน 8 ครั้ง/ชั่วโมง และจัดรายการเผยแพร่ผ่านface book live  จำนวน 2 ครั้ง /ชั่วโมง - การส่งเสริมเทคโนโลยีบ่อแก๊สชีวภาพ ขนาด 4 ลบ.ม. ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหนึ่งไร่หนึ่งแสน ค่ายอภัยบริรักษ์ ช.402 ตำบลชุมพล อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง  มีการแบ่งพื้นที่สร้างอาคารโรงเรือนขนาด 7+8+4.5 ม. 1 หลัง คอกวัว 10 ตัว คอกหมูหลุม 20 ตัว โรงเรือนขนาด  3+6 ม.สำหรับเก็บวัสดุ 1 หลัง  บ่อแก๊สชีวภาพขนาด 4 ลบ.ม. 1 ระบบ การผลิตแก๊สชีวภาพ  วันหนึ่งๆจะได้วัตถุดิบจากขี้หมูและขี้วัว ประมาณ 5-10 กก. ได้แก๊สเพื่อการหุงต้มเพียงพอบ่อเลี้ยงปลาขนาด 10+10+3 ม. 1 บ่อ บ่อคอนกรีตเลี้ยงปลาดุก ขนาด 3+12 +.90 ม.1 บ่อ บ่อเลี้ยงกบขนาด  2+12+.90 ม. 1 บ่อ แปลงปลูกพืชสวนครัวตะไคร้ ผักชี พริก มะเขือ ขมิ้น ถั่วฝักยาว แตงกวา มะระ บวบ หม่อน กระเจี๊ยบ  มะนาว เนื้อที่ประมาณ 1 งาน และปลูกกล้วยน้ำว้า กล้วยหอม กล้วยไข่ กล้วยหิน ประมาณ 2 ไร่  ใช้แรงงานทหารเกณฑ์หมุนเวียนดูแล 1 กองร้อย โดยผลที่ได้รับคือ ทหารเกณฑ์มี ความรู้ มีทักษะ สามารถประกอบอาชีพได้เมื่อปลดประจำการ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

        องค์ความรู้ ที่สื่อสาร 1)ประเด็น ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น โดยวัดจากจำนวนพาหนะเดินทาง(รถโดยสาร รถยนต์ส่วนบุคคล)รายได้ของลานรับฝากจอดรถ เพิ่มขี้นวันละ 10,000-20,000 บาท 2)ประเด็นเฝ้าระวังป้องกันปัจจัยเสี่ยง มีระบบการจัดการขยะที่ดี มีการสร้างถังแยกขยะ 3)ประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน มีการใช้พลังงานทดแทน ใช้เตาถ่านแทนเตาแก๊ส ป้องกันการปนเปิ้อน ในการหุงอบปิ้งย่างปรุงอาหาร

     

    500 500

    12. จัดรายการวิทยุและถ่ายทอดสัญญาณวิทยุกินอิ่มนอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ รายการวิทยุ

    วันที่ 17 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00-10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดรายการวิทยุ จำนวน 2 ครั้ง/ชั่วโมง  เชื่อมสัญญาณถ่ายทอดออกอากาศ จำนวน 8 ครั้ง/ชั่วโมง และจัดรายการเผยแพร่ผ่านface book live  จำนวน 2 ครั้ง /ชั่วโมง สาระสำคัญที่นำเสนอใน รายการวิทยุ ใครที่เคยเดินทางมาจังหวัดตรัง แล้วใช้เส้นทางเขาพับผ้า เพื่อไปยังจังหวัดพัทลุง เคยสงสัยกันใช่ไม่ว่าทำไมมีทั้งคนบีบแตรรถหรือจอดรถลงไปไหว้พ่อทวดหลักเขต ...     ตามประวัติเล่าว่า พ่อทวดหลักเขตเดิมเป็นชาวพัทลุง อยู่บ้านลำไน ได้ย้ายมาอยู่บ้านช่องในเขตหมู่ที่ 4 ตำบลช่อง อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง ปัจจุบันนี้ (หลังค่ายลูกเสือรัษฎานุประดิษฐ์) พ่อทวดหลักเขตมีชื่อว่า พ่อทวดบุญ ชื่อภรรยา สืบไม่ได้ เป็นต้นสกุล บุญเอียด ในสมัยที่มีการปักปันเขตแดนระหว่างจังหวัดตรังกับจังหวัดพัทลุง ปี พ.ศ. ใด สืบไม่ได้ ทางกรมการเมืองพัทลุงและเมืองตรังได้เลือก สถานที่ ซึ่งเป็นสันเขาที่สูงสุดและมีน้ำปัน คือ น้ำในลำธารไหลแยกเป็นคนละทิศ น้ำที่ไหลไปทางทิศตะวันออกไปลงจังหวัดพัทลุง น้ำที่ไหลไปทางทิศตะวันตกไปลงจังหวัดตรัง กำหนดให้ที่ตรงนั้นเป็นที่ปักหลักเขต แล้วจึงเกณฑ์ให้ชาวบ้านให้ช่วยกันตัดแกนไม้แคข่อยขนาดใหญ่ต้นหนึ่ง ซึ่งอยู่บริเวณทุ่งนาเหนือ (ตรงข้ามบ้านขุนช่อง ปัจจุบันนี้) ทำเป็นหลัก เมื่อทำหลักเสร็จแล้วเอาเชือกผูกให้ชาวบ้านทั้งตำบลเข้าชักลาก เพื่อนำไปฝั่งที่ ๆ ที่ได้กำหนดไว้ ตามประวัติเล่าว่าชาวบ้านทั้งตำบลไม่สามารถชักลากเสาหลักนั้นได้ ในจำนวนชาวบ้านเหล่านั้นมีคนหนึ่งได้เสนอแนะให้ไปตามทวดบุญ มาช่วยลาก ซึ่งท่านมีความรู้เกี่ยวกับวิชาไสยศาสตร์ขลังมากในเวลานั้น เมื่อไปตามท่านมาถึง ท่านก็จับเสาหลักนั้นเข้าและบอกให้ชาวบ้านเข้าลากพร้อม ๆ กัน แล้วบอกว่า "ลากไปได้แล้ว" นั่นแหละจึงสามารถลากเสาหลักไปได้ เมื่อถึงพิธีฝังเสาหลักไม่มีใครสามารถยกเสาหลักให้ตั้งยืนบนหลุมได้ พ่อทวดบุญสามารถยกเสาหลักลงฝังได้แต่ผู้เดียว ต่อแต่นั้นมาชาวบ้านก็พากันเชื่อว่าท่านเป็นผู้วิเศษ เมื่อท่านตายไปก็ได้นำกระดูกของท่านไปฝังไว้ที่หลักเขตแห่งนั้น และชาวบ้านเชื่อว่า วิญญาณอันศักดิ์สิทธิ์ของท่านคงสิงสถิติอยู่ ณ ที่นั้น ชาวบ้านทั่วไปจึงบนบานศาลกล่าวให้ขับรถเดินทางถึงป้าหมายด้วยความคลาดแคล้วปลอดภัยกันมิได้ขาด ทุกวันนี้มีคนแก้บน ด้วยการจุดปะทัด และเซ่นไหว้ด้วยเครื่องสังเวยต่างๆ เช่น เหล้า ไก่ หัวหมู เป็นต้น เกือบทุกวัน รู้ไว้ได้ปัญญา..เชื่อไว้บ้างไม่เสียหาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      องค์ความรู้ ที่สื่อสาร 1)ประเด็น ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น โดยวัดจากจำนวนพาหนะเดินทาง(รถโดยสารรับจ้าง  รถยนต์ส่วนบุคคล)รายได้ของลานรับฝากจอดรถ เพิ่มขี้นวันละ 10,000-20,000 บาท 2)ประเด็นเฝ้าระวังป้องกันปัจจัยเสี่ยง ผู้ประกอบการและหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการจัดการขยะที่ดี มีการสร้างถังแยกขยะ 3)ประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน ผู้ประกอบการในพื้นที่ท่องเที่ยว มีการใช้พลังงานทดแทน ใช้เตาถ่านแทนเตาแก๊ส ป้องกันการปนเปื้อน ในการหุงอบปิ้งย่างปรุงอาหาร

     

    500 500

    13. จัดรายการวิทยุและถ่ายทอดสัญญาณวิทยุกินอิ่มนอนอุ่นบนแผ่นดินใต้ ทางFacebook Live

    วันที่ 17 มิถุนายน 2561 เวลา 12:00-13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดรายการวิทยุ จำนวน 2 ครั้ง/ชั่วโมง  เชื่อมสัญญาณถ่ายทอดออกอากาศ จำนวน 8 ครั้ง/ชั่วโมง และจัดรายการเผยแพร่ผ่านface book live  จำนวน 2 ครั้ง /ชั่วโมง สาระสำคัญที่นำเสนอใน เดือนนี้ คือ ที่นี่พัทลุง .. ช่วงนี้พัทลุงกำลังอยู่ในความสนใจของนักท่องเที่ยวและผู้เดินทางทั่วไปในด้านการท่องเที่ยวเมืองรอง ให้เกิดผลให้นักท่องเที่ยวเข้ามายังพัทลุงจำนวนมาก  ไม่ว่าจะเที่ยวชมธรรมชาติ  ภูเขา  น้ำตก  บ่อน้ำร้อน  ย้อนยุคการทำนา  ตลาดขายของ  ล่องแก่ง  ทะเลหมอก  ตะวันตกดิน  ตามรอยสมเสร็จเขาเจ็ดยอด  แหล่งท่องเที่ยวหลายแห่งกำลังเกิดขึ้น  และหลายแห่งกำลังได้รับการพัฒนา  มาพัทลุงอยู่กิน  7  วัน เที่ยวไม่หมด  เป็นโอกาสดีของคนเมืองลุงที่นักท่องเที่ยวกระจายไปยังเมืองรองหรือระดับชุมชนมากขึ้น  ส่งผลให้กระจายรายได้สู่ประชาชนชาวพัทลุงเพิ่มขึ้น แต่อย่าลืม...เป็นเจ้าบ้านที่ดีในการต้อนรับนักท่องเที่ยวนะครับ เจ้าบ้าน หมายถึงบุคคลผู้เป็นเจ้าของบ้านเรือน ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ?เจ้าบ้าน? หมายรวมถึง ประชาชน พ่อค้า แม่ค้า นักเรียน และผู้ประกอบการอาชีพใดๆ ที่อาศัยอยู่ในท่องถิ่นที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ การเป็นเจ้าบ้านที่ดี จึงหมายถึงกลุ่มบุคคลเหล่านี้มีความเป็นมิตร มีความเชื่อมั่น รอบรู้เรื่องราวในท้องถิ่น ให้การตอบรับ ดูแลผู้มาเยือนหรือนักท่องเที่ยวให้มีความสุข และรู้สึกปลอดภัยเพราะเมื่อผู้มาเยือนได้รับความมีอัธยาศัยไมตรี และเจ้าบ้านให้การตอบรับอย่างอบอุ่น ย่อมทำให้ผู้มาเยือนเกิดความประทับใจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    องค์ความรู้ ที่สื่อสาร
    1)ประเด็น ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน จำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น โดยวัดจากจำนวนพาหนะเดินทาง(รถโดยสาร รถรับจ้าง รถยนต์ส่วนบุคคล)รายได้ของลานรับฝากจอดรถ เพิ่มขึ้นวันละ 10,000-20,000 บาท 2)ประเด็นเฝ้าระวังป้องกันปัจจัยเสี่ยง ผู้ประกอบการและหน่วยงานที่รับผิดชอบ มีระบบการจัดการขยะที่ดี มีการสร้างถังแยกขยะ 3)ประเด็นการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน สำนักงานพลังงานจังหวัด มีการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการใช้พลังงานทางเลือก โซลาเซล  แก็สชีวมวล  ตู้อบพลังงานแสงแดด ผู้ประกอบการมีการใช้พลังงานทดแทน ลดค่าใช้จ่าย ใช้เตาถ่านแทนเตาแก๊ส ป้องกันการปนเปื้อน ในการหุงอบปิ้งย่างปรุงอาหาร

     

    100 100

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. สนับสนุนการผลิตสื่อและจัดรายการเพื่อการสื่อสารสาธารณะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย 2. ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสื่อที่มีคุณภาพและรูปแบบการสื่อสารกับประเด็นขับเคลื่อนสุขภาวะทางสังคม 3.กำหนดแนวปฏิบัติด้านจริยธรรมการสื่อสาร กับการขับเคลื่อนสังคม
    ตัวชี้วัด : 1. อธิบายกระบวนการสื่อสารและเนื้อหาในการสื่อสารสร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างไร 2. ได้รูปแบบการสื่อสารที่เหมาะสมกับปะเด็นที่ขับเคลื่อนในพื้นที่ 3. มีแนวปฏิบัติเรื่องจริยธรรมของนักสื่อสารชุมชน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. สนับสนุนการผลิตสื่อและจัดรายการเพื่อการสื่อสารสาธารณะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย 2. ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสื่อที่มีคุณภาพและรูปแบบการสื่อสารกับประเด็นขับเคลื่อนสุขภาวะทางสังคม 3.กำหนดแนวปฏิบัติด้านจริยธรรมการสื่อสาร กับการขับเคลื่อนสังคม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.พัทลุง

    รหัสสัญญา สชต.นศ.005 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2561 - 31 ตุลาคม 2561

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.พัทลุง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( คุณพงศ์ไพโรจน์ ฆังคะรัตน์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด