แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส ”
จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอดุลย์ ยีดิง โทรศัพท์ 08 1277 5263
ชื่อโครงการ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส
ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยสถานการณ์ด้านอาหารจังหวัดนราธิวาส ที่มีสัดส่วนพื้นที่การทำเกษตรส่วนใหญ่เป็นการปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยวประมาณร้อยละ 74 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด ขณะที่พื้นที่เกษตรที่เป็นพืชอาหาร เช่น ข้าว ผัก ผลไม้ มีประมาณร้อยละ 20 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด (ยุทธศาสตร์ระบบอาหาร จังหวัดนราธิวาส พ.ศ.2563-2567, 2563) เช่นเดียวกับพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ที่มีพื้นที่ทำการเกษตรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 60 เป็นการปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยว ขณะที่พื้นที่ทำเกษตรที่เป็นพืชอาหารมีประมาณร้อยละ 15 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด ทำให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะมีความสามารถในการผลิตอาหารสำหรับการบริโภคในครัวเรือนและชุมชนได้น้อยกว่าความต้องการ จึงจำเป็นต้องนำเข้าวัตถุดิบด้านการเกษตรจากพื้นที่ข้างเคียงซึ่งเสี่ยงต่อการปนเปื้อนของสารเคมี โดยเฉพาะในพืชผัก เป็นผลทำให้คนในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะสูญเสียโอกาสในการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพื่อสุขภาพ ด้วยเหตุดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กในวัยต่าง ๆ วัยเด็กถือเป็นวัยที่ร่างกายมีการเจริญเติบโตและมีพัฒนาการการเรียนรู้ที่สำคัญ อาหารที่ดีและปลอดภัยจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตที่สมวัย สำหรับข้อมูลภาวะโภชนาการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ปี พ.ศ.2562 พบว่า เด็กอายุ 0-5 ปี ในพื้นที่อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส มีภาวะเตี้ยเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 38.13 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 10) มีภาวะผอมเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 9.24 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 5) มีภาวะอ้วนเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 20.29 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 10) และพบว่า เด็กอายุ 6-14 ปี มีภาวะสมส่วนต่ำกว่าค่า
มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 49.98 (ค่ามาตรฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 54) จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าอำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส กำลังประสบกับปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก ซึ่งมีความสอดคล้องกับข้อมูลภาวะโภชนาการในระดับท้องถิ่น จากข้อมูลภาวะโภชนาการเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดด้วยสถานการณ์ด้านอาหารจังหวัดนราธิวาส ที่มีสัดส่วนพื้นที่การทำเกษตรส่วนใหญ่เป็นการปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยวประมาณร้อยละ 74 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด ขณะที่พื้นที่เกษตรที่เป็นพืชอาหาร เช่น ข้าว ผัก ผลไม้ มีประมาณร้อยละ 20 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด (ยุทธศาสตร์ระบบอาหาร จังหวัดนราธิวาส พ.ศ.2563-2567, 2563) เช่นเดียวกับพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ที่มีพื้นที่ทำการเกษตรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 60 เป็นการปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยว ขณะที่พื้นที่ทำเกษตรที่เป็นพืชอาหารมีประมาณร้อยละ 15 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด ทำให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะมีความสามารถในการผลิตอาหารสำหรับการบริโภคในครัวเรือนและชุมชนได้น้อยกว่าความต้องการ จึงจำเป็นต้องนำเข้าวัตถุดิบด้านการเกษตรจากพื้นที่ข้างเคียงซึ่งเสี่ยงต่อการปนเปื้อนของสารเคมี โดยเฉพาะในพืชผัก เป็นผลทำให้คนในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะสูญเสียโอกาสในการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพื่อสุขภาพ ด้วยเหตุดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กในวัยต่าง ๆ วัยเด็กถือเป็นวัยที่ร่างกายมีการเจริญเติบโตและมีพัฒนาการการเรียนรู้ที่สำคัญ อาหารที่ดีและปลอดภัยจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตที่สมวัย สำหรับข้อมูลภาวะโภชนาการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ปี พ.ศ.2562 พบว่า เด็กอายุ 0-5 ปี ในพื้นที่อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส มีภาวะเตี้ยเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 38.13 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 10) มีภาวะผอมเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 9.24 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 5) มีภาวะอ้วนเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 20.29 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 10) และพบว่า เด็กอายุ 6-14 ปี มีภาวะสมส่วนต่ำกว่าค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 49.98 (ค่ามาตรฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 54) จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าอำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส กำลังประสบกับปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก ซึ่งมีความสอดคล้องกับข้อมูลภาวะโภชนาการในระดับท้องถิ่น จากข้อมูลภาวะโภชนาการเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส พบว่า เด็กอายุ 0-5 ปี ในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส มีภาวะเตี้ยเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 10.98 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 10) มีภาวะผอมเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 8.06 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 5) ส่วนเด็กอายุ 6-14 ปี พบว่า มีภาวะสมส่วนต่ำกว่าค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 53.12 (ค่ามาตรฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 54) ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-14 ปี ในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส มีภาวะโภชนาการที่ดีเติบโตสมวัย องค์การบริหารส่วนตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จึงมีแนวคิดริเริ่มโครงการเกษตรปลอดสารพิษในสถานศึกษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนสามารถเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัยสำหรับการบริโภคอาหารกลางวันจากวัตถุดิบที่สามารถผลิตได้เองในท้องถิ่น นอกจากเด็กนักเรียนจะกินอิ่มและมีสุขภาวะที่ดีแล้วยังถือเป็นการสร้างการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านวิชาเกษตรให้เด็กได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ ถือเป็นการปลูกฝังค่านิยมหลักการพึ่งพาตนเองให้แก่เด็กนักเรียนในการเรียนรู้การพึ่งพาตนเองลดการพึ่งพิงจากผู้อื่น ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีเติบโตสมวัย
- เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านอาหาร มีวัตถุดิบที่ปลอดภัยสำหรับการจัดการอาหารกลางวันภายในสถานศึกษา
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยสำหรับการบริโภค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานโครงการ/ผู้ร่วมโครงการ
- กิจกรรมโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ
- กิจกรรมการจัดการผลผลิตจากโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ
- ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1
- ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 2
- ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะมีภาวะโภชนาการที่ดีเติบโตสมวัย
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านอาหาร มีวัตถุดิบที่ปลอดภัยสำหรับการจัดการอาหารกลางวันภายในสถานศึกษา
- เด็กนักเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยสำหรับการบริโภค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1
วันที่ 3 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 เพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรมโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ดังนี้
-เตรียมความพร้อมของสถานที่
-การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินกิจกรรม เสนอเมล็ดพันธุ์ผักที่ต้องการเพาะปลูก
-การเตรียมความพร้อมในเรื่องของแหล่งน้ำ
-การเตรียมบุคลากรที่จะดำเนินงานในแต่ละที่มีใครบ้าง ดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 มีมติในเรื่องของสถานที่ที่พิจารณาเป็นโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ จำนวน 5 แห่ง และได้แผนการดำเนินกิจกรรมโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ
30
0
2. กิจกรรมโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ
วันที่ 10 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกา มีการดำเนินการจัดเตรียมพื้นที่เพาะปลูก เตรียมดิน ยกร่อง และเพาะปลูก โดยองค์การบริหารส่วนตำบลปะลุกาสาเมาะเป็นผู้สนับสนุนเมล็ดพันธุ์และวัสดุอุปกรณ์ตามโครงการ ซึ่งรูปแบบการดำเนินงานกิจกรรมโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/โรงเรียน/โรงเรียนตาดีการ่วมกับชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ มีวัตถุดิบทางการเกษตรที่ปลอดภัยสำหรับให้เด็กได้บริโภค
2.เกิดการรวมกลุ่มเป็นภาคีเครือข่ายระหว่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
3.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ มีรายได้จากการจำหน่ายผลผลิตแกชุมชนเพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนในโครงการ
2,000
0
3. กิจกรรมการจัดการผลผลิตจากโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ
วันที่ 30 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
โรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ทั้ง 5 แห่ง ดำเนินการกระจายโดยการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตได้ไปยังภาคีเครือข่ายของตนเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับเมนูอาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ศพด. โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ มีวัตถุดิบทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษให้นักเรียนบริโภค
2.ศพด. โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกา ที่มีแปลงเกษตรปลอดสารพิษสามารถกระจายวัตถุดิบเพื่อสร้างเงินทุนหมุนเวียนในโครงการให้เกิดเป็นโครงการที่ยั่งยืนต่อไป
0
0
4. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 2
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2564กิจกรรมที่ทำ
คณะทำงานโครงการประชุมติดตามผลการปฏิบัติงานระหว่างการดำเนินงานโครงการ ณ องค์การบริหารส่วนตำบลปะลุกาสาเมาะ เพื่อให้ ศพด. โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกา ชี้แจ้งผลการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค เพื่อรายงานต่อที่ประชุมทราบ และร่วมวางแผนแก้ปัญหา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ทราบปัญหา/อุปสรรค ที่เกิดขึ้นในระหว่างการดำเนินงาน
2.มีแนวทางแก้ไขปัญหา
30
0
5. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำ
คณะทำงานโครงการประชุมประเมินผลการดำเนินงานโครงการ เพื่อขับเคลื่อนโครงการให้เกิดความยั่งยืน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.เกิดการร่วมกลุ่มภาคีเครือข่ายเกษตรปลอดสารพิษใน ศพด. โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ
2.ศพด. โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ สามารถผลิตวัตถุดิบทางการเกษตรให้นักเรียนและชุมชนบริโภค
30
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีเติบโตสมวัย
ตัวชี้วัด : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ทุกแห่ง มีการใช้วัตถุดิบที่ปลอดภัยในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับให้เด็กนักเรียนบริโภค
0.00
2
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านอาหาร มีวัตถุดิบที่ปลอดภัยสำหรับการจัดการอาหารกลางวันภายในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีการในพื้นที่ได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย มีภาวะโภชนาการที่ดีเติบโตสมวัย
0.00
3
เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยสำหรับการบริโภค
ตัวชี้วัด : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาสามารถสร้างเงินทุนหมุนเวียนในโครงการอาหารกลางวันจากการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอดุลย์ ยีดิง โทรศัพท์ 08 1277 5263 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส ”
จังหวัดนราธิวาสหัวหน้าโครงการ
นายอดุลย์ ยีดิง โทรศัพท์ 08 1277 5263
ชื่อโครงการ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส
ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยสถานการณ์ด้านอาหารจังหวัดนราธิวาส ที่มีสัดส่วนพื้นที่การทำเกษตรส่วนใหญ่เป็นการปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยวประมาณร้อยละ 74 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด ขณะที่พื้นที่เกษตรที่เป็นพืชอาหาร เช่น ข้าว ผัก ผลไม้ มีประมาณร้อยละ 20 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด (ยุทธศาสตร์ระบบอาหาร จังหวัดนราธิวาส พ.ศ.2563-2567, 2563) เช่นเดียวกับพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ที่มีพื้นที่ทำการเกษตรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 60 เป็นการปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยว ขณะที่พื้นที่ทำเกษตรที่เป็นพืชอาหารมีประมาณร้อยละ 15 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด ทำให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะมีความสามารถในการผลิตอาหารสำหรับการบริโภคในครัวเรือนและชุมชนได้น้อยกว่าความต้องการ จึงจำเป็นต้องนำเข้าวัตถุดิบด้านการเกษตรจากพื้นที่ข้างเคียงซึ่งเสี่ยงต่อการปนเปื้อนของสารเคมี โดยเฉพาะในพืชผัก เป็นผลทำให้คนในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะสูญเสียโอกาสในการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพื่อสุขภาพ ด้วยเหตุดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กในวัยต่าง ๆ วัยเด็กถือเป็นวัยที่ร่างกายมีการเจริญเติบโตและมีพัฒนาการการเรียนรู้ที่สำคัญ อาหารที่ดีและปลอดภัยจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตที่สมวัย สำหรับข้อมูลภาวะโภชนาการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ปี พ.ศ.2562 พบว่า เด็กอายุ 0-5 ปี ในพื้นที่อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส มีภาวะเตี้ยเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 38.13 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 10) มีภาวะผอมเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 9.24 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 5) มีภาวะอ้วนเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 20.29 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 10) และพบว่า เด็กอายุ 6-14 ปี มีภาวะสมส่วนต่ำกว่าค่า
มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 49.98 (ค่ามาตรฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 54) จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าอำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส กำลังประสบกับปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก ซึ่งมีความสอดคล้องกับข้อมูลภาวะโภชนาการในระดับท้องถิ่น จากข้อมูลภาวะโภชนาการเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดด้วยสถานการณ์ด้านอาหารจังหวัดนราธิวาส ที่มีสัดส่วนพื้นที่การทำเกษตรส่วนใหญ่เป็นการปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยวประมาณร้อยละ 74 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด ขณะที่พื้นที่เกษตรที่เป็นพืชอาหาร เช่น ข้าว ผัก ผลไม้ มีประมาณร้อยละ 20 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด (ยุทธศาสตร์ระบบอาหาร จังหวัดนราธิวาส พ.ศ.2563-2567, 2563) เช่นเดียวกับพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ที่มีพื้นที่ทำการเกษตรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 60 เป็นการปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยว ขณะที่พื้นที่ทำเกษตรที่เป็นพืชอาหารมีประมาณร้อยละ 15 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด ทำให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะมีความสามารถในการผลิตอาหารสำหรับการบริโภคในครัวเรือนและชุมชนได้น้อยกว่าความต้องการ จึงจำเป็นต้องนำเข้าวัตถุดิบด้านการเกษตรจากพื้นที่ข้างเคียงซึ่งเสี่ยงต่อการปนเปื้อนของสารเคมี โดยเฉพาะในพืชผัก เป็นผลทำให้คนในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะสูญเสียโอกาสในการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยเพื่อสุขภาพ ด้วยเหตุดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กในวัยต่าง ๆ วัยเด็กถือเป็นวัยที่ร่างกายมีการเจริญเติบโตและมีพัฒนาการการเรียนรู้ที่สำคัญ อาหารที่ดีและปลอดภัยจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตที่สมวัย สำหรับข้อมูลภาวะโภชนาการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ปี พ.ศ.2562 พบว่า เด็กอายุ 0-5 ปี ในพื้นที่อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส มีภาวะเตี้ยเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 38.13 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 10) มีภาวะผอมเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 9.24 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 5) มีภาวะอ้วนเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 20.29 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 10) และพบว่า เด็กอายุ 6-14 ปี มีภาวะสมส่วนต่ำกว่าค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 49.98 (ค่ามาตรฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 54) จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าอำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส กำลังประสบกับปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก ซึ่งมีความสอดคล้องกับข้อมูลภาวะโภชนาการในระดับท้องถิ่น จากข้อมูลภาวะโภชนาการเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส พบว่า เด็กอายุ 0-5 ปี ในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส มีภาวะเตี้ยเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 10.98 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 10) มีภาวะผอมเกินค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 8.06 (ค่ามาตรฐานไม่เกินร้อยละ 5) ส่วนเด็กอายุ 6-14 ปี พบว่า มีภาวะสมส่วนต่ำกว่าค่ามาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 53.12 (ค่ามาตรฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 54) ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กอายุ 0-14 ปี ในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส มีภาวะโภชนาการที่ดีเติบโตสมวัย องค์การบริหารส่วนตำบลปะลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จึงมีแนวคิดริเริ่มโครงการเกษตรปลอดสารพิษในสถานศึกษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนสามารถเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัยสำหรับการบริโภคอาหารกลางวันจากวัตถุดิบที่สามารถผลิตได้เองในท้องถิ่น นอกจากเด็กนักเรียนจะกินอิ่มและมีสุขภาวะที่ดีแล้วยังถือเป็นการสร้างการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้านวิชาเกษตรให้เด็กได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ ถือเป็นการปลูกฝังค่านิยมหลักการพึ่งพาตนเองให้แก่เด็กนักเรียนในการเรียนรู้การพึ่งพาตนเองลดการพึ่งพิงจากผู้อื่น ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีเติบโตสมวัย
- เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านอาหาร มีวัตถุดิบที่ปลอดภัยสำหรับการจัดการอาหารกลางวันภายในสถานศึกษา
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยสำหรับการบริโภค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงานโครงการ/ผู้ร่วมโครงการ
- กิจกรรมโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ
- กิจกรรมการจัดการผลผลิตจากโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ
- ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1
- ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 2
- ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะมีภาวะโภชนาการที่ดีเติบโตสมวัย
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านอาหาร มีวัตถุดิบที่ปลอดภัยสำหรับการจัดการอาหารกลางวันภายในสถานศึกษา
- เด็กนักเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยสำหรับการบริโภค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 3 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 เพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรมโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ดังนี้ -เตรียมความพร้อมของสถานที่ -การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินกิจกรรม เสนอเมล็ดพันธุ์ผักที่ต้องการเพาะปลูก -การเตรียมความพร้อมในเรื่องของแหล่งน้ำ -การเตรียมบุคลากรที่จะดำเนินงานในแต่ละที่มีใครบ้าง ดึงชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 มีมติในเรื่องของสถานที่ที่พิจารณาเป็นโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ จำนวน 5 แห่ง และได้แผนการดำเนินกิจกรรมโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ
|
30 | 0 |
2. กิจกรรมโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 10 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำกิจกรรมโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกา มีการดำเนินการจัดเตรียมพื้นที่เพาะปลูก เตรียมดิน ยกร่อง และเพาะปลูก โดยองค์การบริหารส่วนตำบลปะลุกาสาเมาะเป็นผู้สนับสนุนเมล็ดพันธุ์และวัสดุอุปกรณ์ตามโครงการ ซึ่งรูปแบบการดำเนินงานกิจกรรมโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/โรงเรียน/โรงเรียนตาดีการ่วมกับชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ มีวัตถุดิบทางการเกษตรที่ปลอดภัยสำหรับให้เด็กได้บริโภค 2.เกิดการรวมกลุ่มเป็นภาคีเครือข่ายระหว่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 3.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ มีรายได้จากการจำหน่ายผลผลิตแกชุมชนเพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนในโครงการ
|
2,000 | 0 |
3. กิจกรรมการจัดการผลผลิตจากโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 30 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำโรงเรียนแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ทั้ง 5 แห่ง ดำเนินการกระจายโดยการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตได้ไปยังภาคีเครือข่ายของตนเพื่อเป็นวัตถุดิบสำหรับเมนูอาหารกลางวัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ศพด. โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ มีวัตถุดิบทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษให้นักเรียนบริโภค
|
0 | 0 |
4. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2564กิจกรรมที่ทำคณะทำงานโครงการประชุมติดตามผลการปฏิบัติงานระหว่างการดำเนินงานโครงการ ณ องค์การบริหารส่วนตำบลปะลุกาสาเมาะ เพื่อให้ ศพด. โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกา ชี้แจ้งผลการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค เพื่อรายงานต่อที่ประชุมทราบ และร่วมวางแผนแก้ปัญหา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ทราบปัญหา/อุปสรรค ที่เกิดขึ้นในระหว่างการดำเนินงาน
|
30 | 0 |
5. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำคณะทำงานโครงการประชุมประเมินผลการดำเนินงานโครงการ เพื่อขับเคลื่อนโครงการให้เกิดความยั่งยืน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.เกิดการร่วมกลุ่มภาคีเครือข่ายเกษตรปลอดสารพิษใน ศพด. โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ 2.ศพด. โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ตำบลปะลุกาสาเมาะ สามารถผลิตวัตถุดิบทางการเกษตรให้นักเรียนและชุมชนบริโภค
|
30 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีเติบโตสมวัย ตัวชี้วัด : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่ทุกแห่ง มีการใช้วัตถุดิบที่ปลอดภัยในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับให้เด็กนักเรียนบริโภค |
0.00 | |||
2 | เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาในพื้นที่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านอาหาร มีวัตถุดิบที่ปลอดภัยสำหรับการจัดการอาหารกลางวันภายในสถานศึกษา ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีการในพื้นที่ได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย มีภาวะโภชนาการที่ดีเติบโตสมวัย |
0.00 | |||
3 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีอาหารที่ปลอดภัยสำหรับการบริโภค ตัวชี้วัด : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และโรงเรียนตาดีกาสามารถสร้างเงินทุนหมุนเวียนในโครงการอาหารกลางวันจากการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตร |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอดุลย์ ยีดิง โทรศัพท์ 08 1277 5263 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......