แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส ”
จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอิมรอน หะยีสามะ 080-1381286
ชื่อโครงการ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส
ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 00127817 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 00127817 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ระบบอาหาร ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย ซึ่งสามารถอธิบายความหมายดังต่อไปนี้ ความมั่นคงทางอาหาร หมายถึง คนทุกคนมีความสามารถในการเข้าถึงอาหารที่เพียงพอ ปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการได้ตลอดเวลา (พรรณภัทร ปลั่งศรีเจริญสุข, 2560) อาหารปลอดภัย คือ อาหารที่ครัวเรือนผลิตได้หรือซื้อมาจากภายนอกจะต้องปลอดสารพิษ ย่าฆ่าแมลง และสารปนเปื้อน ทั้งที่อยู่ในรูปของเชื้อโรค และสารเคมีที่เป็นพิษต่าง ๆ รวมทั้งสามารถถนอมอาหารไว้บริโภคไว้ในเมื่อยามจำเป็น (อภิญญา ตันทวีวงศ์, 2556) โภชนาการสมวัย หมายถึง อาหารที่เข้าสู่ร่างกายมนุษย์แล้วร่างกายสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการเจริญเติบโต การค้ำจุน และซ่อมแซมส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ดังนั้น การได้รับประทานอาหารที่เพียงพอและถูกสัดส่วน จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่สุดสำหรับมนุษย์ เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรง (สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557)
องค์การบริหารส่วนตำบลยะรังมีพื้นที่ความรับผิดชอบทั้งหมด 6.46 ตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็น 6 หมู่ มีประชากรทั้งหมด 6,560 คน แบ่งเป็นเพศชาย 3,298 คน เพศหญิง 3,262 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตร รองลงมาอาชีพรับจ้าง จากอาชีพหลักของประชากรในพื้นที่ตำบลยะรัง จะเห็นได้ว่า วิถีชีวิตแบบชาวเกษตรกร ยังเป็นวิถีชีวิตหลักของคนในพื้นที่ ซึ่งสามารถต่อยอดกระบวนปลูก การผลิต รวมถึงการจัดจำหน่ายที่มีคุณภาพ แต่ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต และการประกอบอาชีพประจำวันของชาวเกษตรกรในพื้นที่ ในด้านการส่งออกผลผลิตทางการเกษตร การใช้วัตถุดิบทางการเกษตร เช่น ปุ๋ยเคมี สารกำจัดศัตรูพืช อาหารสัตรสำเร็จรูปแบบอัดเม็ดซึ่งมีส่วนผสมของยาหรือสารเคมีอื่นๆ
จากสถานการณ์ภาวะโภชนาการ ในเด็กอายุ 0-12 ปี ในพื้นที่ตำบลยะรัง มีจำนวนเด็กประมาณ 1,585 คน ซึ่งมีภาวะสูงดีสมส่วน 713 คน คิดเป็นร้อยละ 44.98 (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะรัง,2564) ซึ่งจะเห็นได้ว่ายังมีเด็กที่ขาดภาวะโภชนาการที่สมส่วนอีกมากมาย ทั้งนี้จึงจำเป็นที่จะดำเนินการจัดกระบวนการเกี่ยวกับเรื่องอาหาร ที่ต้นน้ำ (การปลูกพืชผักที่ปลอดภัย การเลี้ยงสัตว์ ไร้สารเคมี ยาฆ่าแมลง ฯลฯ ) กลางน้ำ (การนำพืชผัก ไปปรุงให้ครบหลักโภชนาการ 5 หมู่) ปลายน้ำ (การเลือกบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ) จึงจะเกิดการจัดการระบบอหารที่ครอบคลุม ทั้ง ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย
องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ตำบลยะรัง ในเรื่องของระบบอาหาร ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย จึงได้จัดโครงการส่งเสริมศักยภาพชุมชนในการขับเคลื่อนระบบอาหารตำบลยะรัง ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ให้กับเกษตรกรในพื้นที่ตำบลยะรัง
- เพื่อส่งเสริมแหล่งอาหารประเภทปศุสัตว์เลี้ยงไก่ไข่ เป็ดไข่
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคน หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในการขับเคลื่อนงานระบบอาหารในพื้นที่ตำบลยะรัง
- เพื่อส่งเสริมการขับเคลื่อนระบบอาหารในพื้นที่ ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพระบบอาหารปลอดภัย
- กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพชุมชน ครัวเรือนต้นแบบในการจัดการระบบอาหาร
- กิจกรรมถอดบทเรียน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดการส่งเสริมอาชีพกลุ่มเกษตรกร ปศุสัตว์ ประชาชนผู้ว่างงานที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
- เกิดแผนงานการขับเคลื่อนระบบอาหาร ที่ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ทีได้รับการสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายในพื้นที่ตำบลยะรัง
- ชุมชนมีพื้นที่ผลิตอาหารทั้งการเกษตร ปศุสัตว์ ที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้คนในชุมชนสามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพ มีอาหารที่บริโภคตลอด แม้อยู่ในภาวะวิกฤต
- โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีการจัดการเรื่องอาหารกลางวันโดยมีการเชื่อมโยงกับแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดภัยถูกหลักโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพชุมชน ครัวเรือนต้นแบบในการจัดการระบบอาหาร
วันที่ 30 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพชุมชน ครัวเรือนต้นแบบในการจัดการระบบอาหาร ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
- ส่งเสริมครัวเรือนต้นแบบ โดยการดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนพันธุ์ไก่ไข่ เป็ดไข่ อาหาร และวัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยงสัตว์ต่างๆ
- ส่งมอบไก่ไข่ และเป็ดไข่ และวัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยง
- ติดตามการเลี้ยงสัตว์ 2 สัปดาห์ครั้ง โดยผ่านกลุ่มไลน์ ภาคีเครือข่ายการจัดการระบบอาหารตำบลยะรัง
- กลุ่มเยาวชนบ้านตรอซัน มีการจัดทำบัญชี รายรับรายจ่าย และบัญชีผลผลิตในการเลี้ยงสัตว์
- กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง จัดทำบัญชีรายรับรายจ่าย การปลูกผักปลอดสารพิษ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครัวเรือนและชุมชนมีพื้นที่ผลิตทั้งการเกษตร ปศุสัตว์ ที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้คนในชุมชนสามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพมีอาหารที่บริโภคตลอดแม้อยู่ในภาวะวิกฤต
0
0
2. กิจกรรมถอดบทเรียน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
วันที่ 30 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม และภาคีเครือข่าย
- ครั้งที่ 1 การติดตามความคืบหน้าการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เกิดผลผลิตจากไก่ไข่ และเป็ดไข่
- การวางแผน สร้างแนวทางการดำเนินงานหลังจากที่ได้ผลผลิต เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กยังไม่สามารถเปิดการเรียนการสอนได้ ทางกลุ่มและทีมงานได้วางแผน ปรับการดำเนินงาน ให้กลุ่มมีรายได้ในการจัดซื้ออาหารสัตว์ต่อไป
20
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ให้กับเกษตรกรในพื้นที่ตำบลยะรัง
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อส่งเสริมแหล่งอาหารประเภทปศุสัตว์เลี้ยงไก่ไข่ เป็ดไข่
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคน หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในการขับเคลื่อนงานระบบอาหารในพื้นที่ตำบลยะรัง
ตัวชี้วัด :
0.00
4
เพื่อส่งเสริมการขับเคลื่อนระบบอาหารในพื้นที่ ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 00127817
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอิมรอน หะยีสามะ 080-1381286 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส ”
จังหวัดปัตตานีหัวหน้าโครงการ
นายอิมรอน หะยีสามะ 080-1381286
ชื่อโครงการ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส
ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 00127817 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 00127817 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ระบบอาหาร ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย ซึ่งสามารถอธิบายความหมายดังต่อไปนี้ ความมั่นคงทางอาหาร หมายถึง คนทุกคนมีความสามารถในการเข้าถึงอาหารที่เพียงพอ ปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการได้ตลอดเวลา (พรรณภัทร ปลั่งศรีเจริญสุข, 2560) อาหารปลอดภัย คือ อาหารที่ครัวเรือนผลิตได้หรือซื้อมาจากภายนอกจะต้องปลอดสารพิษ ย่าฆ่าแมลง และสารปนเปื้อน ทั้งที่อยู่ในรูปของเชื้อโรค และสารเคมีที่เป็นพิษต่าง ๆ รวมทั้งสามารถถนอมอาหารไว้บริโภคไว้ในเมื่อยามจำเป็น (อภิญญา ตันทวีวงศ์, 2556) โภชนาการสมวัย หมายถึง อาหารที่เข้าสู่ร่างกายมนุษย์แล้วร่างกายสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการเจริญเติบโต การค้ำจุน และซ่อมแซมส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ดังนั้น การได้รับประทานอาหารที่เพียงพอและถูกสัดส่วน จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่สุดสำหรับมนุษย์ เพื่อให้มีสุขภาพที่แข็งแรง (สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557)
องค์การบริหารส่วนตำบลยะรังมีพื้นที่ความรับผิดชอบทั้งหมด 6.46 ตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็น 6 หมู่ มีประชากรทั้งหมด 6,560 คน แบ่งเป็นเพศชาย 3,298 คน เพศหญิง 3,262 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตร รองลงมาอาชีพรับจ้าง จากอาชีพหลักของประชากรในพื้นที่ตำบลยะรัง จะเห็นได้ว่า วิถีชีวิตแบบชาวเกษตรกร ยังเป็นวิถีชีวิตหลักของคนในพื้นที่ ซึ่งสามารถต่อยอดกระบวนปลูก การผลิต รวมถึงการจัดจำหน่ายที่มีคุณภาพ แต่ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต และการประกอบอาชีพประจำวันของชาวเกษตรกรในพื้นที่ ในด้านการส่งออกผลผลิตทางการเกษตร การใช้วัตถุดิบทางการเกษตร เช่น ปุ๋ยเคมี สารกำจัดศัตรูพืช อาหารสัตรสำเร็จรูปแบบอัดเม็ดซึ่งมีส่วนผสมของยาหรือสารเคมีอื่นๆ
จากสถานการณ์ภาวะโภชนาการ ในเด็กอายุ 0-12 ปี ในพื้นที่ตำบลยะรัง มีจำนวนเด็กประมาณ 1,585 คน ซึ่งมีภาวะสูงดีสมส่วน 713 คน คิดเป็นร้อยละ 44.98 (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยะรัง,2564) ซึ่งจะเห็นได้ว่ายังมีเด็กที่ขาดภาวะโภชนาการที่สมส่วนอีกมากมาย ทั้งนี้จึงจำเป็นที่จะดำเนินการจัดกระบวนการเกี่ยวกับเรื่องอาหาร ที่ต้นน้ำ (การปลูกพืชผักที่ปลอดภัย การเลี้ยงสัตว์ ไร้สารเคมี ยาฆ่าแมลง ฯลฯ ) กลางน้ำ (การนำพืชผัก ไปปรุงให้ครบหลักโภชนาการ 5 หมู่) ปลายน้ำ (การเลือกบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ) จึงจะเกิดการจัดการระบบอหารที่ครอบคลุม ทั้ง ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย
องค์การบริหารส่วนตำบลยะรัง จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ตำบลยะรัง ในเรื่องของระบบอาหาร ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย จึงได้จัดโครงการส่งเสริมศักยภาพชุมชนในการขับเคลื่อนระบบอาหารตำบลยะรัง ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ให้กับเกษตรกรในพื้นที่ตำบลยะรัง
- เพื่อส่งเสริมแหล่งอาหารประเภทปศุสัตว์เลี้ยงไก่ไข่ เป็ดไข่
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคน หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในการขับเคลื่อนงานระบบอาหารในพื้นที่ตำบลยะรัง
- เพื่อส่งเสริมการขับเคลื่อนระบบอาหารในพื้นที่ ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพระบบอาหารปลอดภัย
- กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพชุมชน ครัวเรือนต้นแบบในการจัดการระบบอาหาร
- กิจกรรมถอดบทเรียน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดการส่งเสริมอาชีพกลุ่มเกษตรกร ปศุสัตว์ ประชาชนผู้ว่างงานที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
- เกิดแผนงานการขับเคลื่อนระบบอาหาร ที่ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ทีได้รับการสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายในพื้นที่ตำบลยะรัง
- ชุมชนมีพื้นที่ผลิตอาหารทั้งการเกษตร ปศุสัตว์ ที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้คนในชุมชนสามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพ มีอาหารที่บริโภคตลอด แม้อยู่ในภาวะวิกฤต
- โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีการจัดการเรื่องอาหารกลางวันโดยมีการเชื่อมโยงกับแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดภัยถูกหลักโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพชุมชน ครัวเรือนต้นแบบในการจัดการระบบอาหาร |
||
วันที่ 30 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพชุมชน ครัวเรือนต้นแบบในการจัดการระบบอาหาร ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
- ส่งเสริมครัวเรือนต้นแบบ โดยการดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนพันธุ์ไก่ไข่ เป็ดไข่ อาหาร และวัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยงสัตว์ต่างๆ
- ส่งมอบไก่ไข่ และเป็ดไข่ และวัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยง
- ติดตามการเลี้ยงสัตว์ 2 สัปดาห์ครั้ง โดยผ่านกลุ่มไลน์ ภาคีเครือข่ายการจัดการระบบอาหารตำบลยะรัง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครัวเรือนและชุมชนมีพื้นที่ผลิตทั้งการเกษตร ปศุสัตว์ ที่ปลอดภัยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้คนในชุมชนสามารถเข้าถึงอาหารที่มีคุณภาพมีอาหารที่บริโภคตลอดแม้อยู่ในภาวะวิกฤต
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมถอดบทเรียน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน |
||
วันที่ 30 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม และภาคีเครือข่าย - ครั้งที่ 1 การติดตามความคืบหน้าการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเกิดผลผลิตจากไก่ไข่ และเป็ดไข่
|
20 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ ให้กับเกษตรกรในพื้นที่ตำบลยะรัง ตัวชี้วัด : |
0.00 | |||
2 | เพื่อส่งเสริมแหล่งอาหารประเภทปศุสัตว์เลี้ยงไก่ไข่ เป็ดไข่ ตัวชี้วัด : |
0.00 | |||
3 | เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคน หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในการขับเคลื่อนงานระบบอาหารในพื้นที่ตำบลยะรัง ตัวชี้วัด : |
0.00 | |||
4 | เพื่อส่งเสริมการขับเคลื่อนระบบอาหารในพื้นที่ ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย ตัวชี้วัด : |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ยะรัง ต.ยะรัง จ.นราธิวาส จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 00127817
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอิมรอน หะยีสามะ 080-1381286 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......