แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทต.รือเสาะ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส ”
จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอดุลย์เดชา แก้วกระเศรษฐ โทรศัพท์ 081-9633564
ชื่อโครงการ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทต.รือเสาะ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส
ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทต.รือเสาะ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทต.รือเสาะ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทต.รือเสาะ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมการพัฒนารอบด้าน อาหารและโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการของเด็กทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะเด็กแรกเกิดถึง 6 ขวบ ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวการณ์เจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุที่สำคัญจากการไม่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วน ทำให้ร่างกายไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควร
เทศบาลตำบลรือเสาะ มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด 1 แห่ง มีเด็กทั้งหมด 48 คน มีเด็กที่มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 79.17 และมีเด็กที่มีปัญหาเรื่องน้ำหนักที่ไม่อยู่ในเกณฑ์สมส่วน อ้วนไปหรือผอมไปคิดเป็นร้อยละ 20.83 ปัญหาการเจริญเติบโตที่ไม่ตามเกณฑ์สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการและอาหารไม่มีประโยชน์มีสารพิษที่อาจก่อโรคอีกด้วย การดูแลอาหารกลางวันของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนั้นจะซื้อวัตถุดิบมาจากตลาดทั่วไปในเขตเทศบาล ไม่ได้เป็นผักปลอดภัยไร้สารพิษและค่าใช้จ่ายในการซื้อวัตถุดิบนั้นก็สูงขึ้น จากเดิม 2,000 - 3,000 บาทต่อสัปดาห์ เป็น 4,000 – 5,000 บาทต่อสัปดาห์ นอกจากปัญหาค่าวัตถุดิบและอาหารปลอดภัยแล้ว เทศบาลตำบลรือเสาะ ยังมีกลุ่มโรงเรียนสร้างสุข ผู้สูงวัย จำนวน 72 คน ที่ได้รับผลกระทบกับสถานการณ์โควิดในปัจจุบันที่ต้องปิดการเรียนการสอนเป็นระยะยาว ทำให้กลุ่มผู้สูงอายุไม่มีกิจกรรมให้ดำเนินต่อไป เกิดความเบื่อหน่ายในชีวิตประจำวัน และผู้สูงอายุบางรายเป็นกลุ่มผู้สูงอายุเดียวดายอยู่โดยลำพังไม่มีผู้ดูแลไม่มีรายได้ เป็นกลุ่มลำบากยากจน บางรายมีหลานที่ต้องเลี้ยงดูที่ลูกๆ ไปทำงานนอกพื้นที่และทิ้งลูกๆไว้กับปู่กับย่าหรือตากับยาย ทำให้ผู้สูงอายุบางรายเรามีภาระที่ต้องแบกไว้ด้วย
ดังนั้นทางเทศบาลตำบลรือเสาะจึงได้จัดโครงการตายายปลูกผักลูกหลานได้กินเพื่อให้ผู้สูงอายุในโรงเรียนสร้างสุข ผู้สูงวัย ได้มีกิจกรรมให้ทำเพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีรายได้จากการทำเกษตร ปศุสัตว์ ในระดับกลุ่ม เด็กๆนักเรียนจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลตำบลรือเสาะได้รับโภชนาการที่ดีจากอาหารปลอดภัยไร้สารพิษ และเป็นทางเลือกใหม่ให้กับชาวบ้านที่อยากเลือกซื้อเลือกกินอาหารปลอดภัยไร้สารพิษและราคาถูกจากเกษตรกรในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุในโรงเรียนสร้างสุข ผู้สูงวัย ได้มีกิจกรรมให้ทำเพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีรายได้จากการทำเกษตร และปศุสัตว์
- เพื่อให้นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลตำบลรือเสาะได้รับโภชนาการที่ดีจากอาหารปลอดภัยไร้สารพิษ
- เพื่อให้ชาวบ้านมีทางเลือกใหม่ในการเลือกซื้อเลือกกินอาหารที่ปลอดภัย ไร้สารพิษและราคาถูกจากเกษตรกรในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการประชุมคณะทำโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
- กิจกรรมการปลูกผักแบบปลอดสารพิษ
- กิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่
- กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก
- กิจกรรมตลาดอินทรีย์ออนไลน์
- กิจกรรมจ้างผู้ดูแลประจำศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเทศบาลตำบลรือเสาะเฉพาะโครงการกิจกรรมตลาดอินทรีย์ออนไลน์
- ทดสอบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ทดสอบ
วันที่ 26 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ทดสอบ................
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทดสอบ.......................
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุในโรงเรียนสร้างสุข ผู้สูงวัย ได้มีกิจกรรมให้ทำเพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : มีแหล่งผลิตวัตถุดิบที่ปลอดภัย ในการประกอบอาหารให้กับเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เช่น ผักปลอดสารพิษ ไข่ไก่ที่ปลอดสารเร่ง และปลาดุกที่เลี้ยงแบบเกษตรอินทรีย์
0.00
2
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีรายได้จากการทำเกษตร และปศุสัตว์
ตัวชี้วัด : มีรายได้จากการขายผักไข่ไก่และปลาดุกในกลุ่มผู้สูงอายุโรงเรียนสร้างสุข ผู้สูงวัย
0.00
3
เพื่อให้นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลตำบลรือเสาะได้รับโภชนาการที่ดีจากอาหารปลอดภัยไร้สารพิษ
ตัวชี้วัด : นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ
0.00
4
เพื่อให้ชาวบ้านมีทางเลือกใหม่ในการเลือกซื้อเลือกกินอาหารที่ปลอดภัย ไร้สารพิษและราคาถูกจากเกษตรกรในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ชาวบ้านได้มีทางเลือกในการเลือกซื้อเลือกกินอาหารที่ปลอดภัยไร้สารพิษและราคาถูกจากเกษตรกรในพื้นที่
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทต.รือเสาะ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอดุลย์เดชา แก้วกระเศรษฐ โทรศัพท์ 081-9633564 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทต.รือเสาะ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส ”
จังหวัดนราธิวาสหัวหน้าโครงการ
นายอดุลย์เดชา แก้วกระเศรษฐ โทรศัพท์ 081-9633564
ชื่อโครงการ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทต.รือเสาะ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส
ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทต.รือเสาะ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทต.รือเสาะ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทต.รือเสาะ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมการพัฒนารอบด้าน อาหารและโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการของเด็กทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะเด็กแรกเกิดถึง 6 ขวบ ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวการณ์เจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุที่สำคัญจากการไม่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วน ทำให้ร่างกายไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควร
เทศบาลตำบลรือเสาะ มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด 1 แห่ง มีเด็กทั้งหมด 48 คน มีเด็กที่มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 79.17 และมีเด็กที่มีปัญหาเรื่องน้ำหนักที่ไม่อยู่ในเกณฑ์สมส่วน อ้วนไปหรือผอมไปคิดเป็นร้อยละ 20.83 ปัญหาการเจริญเติบโตที่ไม่ตามเกณฑ์สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการและอาหารไม่มีประโยชน์มีสารพิษที่อาจก่อโรคอีกด้วย การดูแลอาหารกลางวันของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนั้นจะซื้อวัตถุดิบมาจากตลาดทั่วไปในเขตเทศบาล ไม่ได้เป็นผักปลอดภัยไร้สารพิษและค่าใช้จ่ายในการซื้อวัตถุดิบนั้นก็สูงขึ้น จากเดิม 2,000 - 3,000 บาทต่อสัปดาห์ เป็น 4,000 – 5,000 บาทต่อสัปดาห์ นอกจากปัญหาค่าวัตถุดิบและอาหารปลอดภัยแล้ว เทศบาลตำบลรือเสาะ ยังมีกลุ่มโรงเรียนสร้างสุข ผู้สูงวัย จำนวน 72 คน ที่ได้รับผลกระทบกับสถานการณ์โควิดในปัจจุบันที่ต้องปิดการเรียนการสอนเป็นระยะยาว ทำให้กลุ่มผู้สูงอายุไม่มีกิจกรรมให้ดำเนินต่อไป เกิดความเบื่อหน่ายในชีวิตประจำวัน และผู้สูงอายุบางรายเป็นกลุ่มผู้สูงอายุเดียวดายอยู่โดยลำพังไม่มีผู้ดูแลไม่มีรายได้ เป็นกลุ่มลำบากยากจน บางรายมีหลานที่ต้องเลี้ยงดูที่ลูกๆ ไปทำงานนอกพื้นที่และทิ้งลูกๆไว้กับปู่กับย่าหรือตากับยาย ทำให้ผู้สูงอายุบางรายเรามีภาระที่ต้องแบกไว้ด้วย
ดังนั้นทางเทศบาลตำบลรือเสาะจึงได้จัดโครงการตายายปลูกผักลูกหลานได้กินเพื่อให้ผู้สูงอายุในโรงเรียนสร้างสุข ผู้สูงวัย ได้มีกิจกรรมให้ทำเพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีรายได้จากการทำเกษตร ปศุสัตว์ ในระดับกลุ่ม เด็กๆนักเรียนจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลตำบลรือเสาะได้รับโภชนาการที่ดีจากอาหารปลอดภัยไร้สารพิษ และเป็นทางเลือกใหม่ให้กับชาวบ้านที่อยากเลือกซื้อเลือกกินอาหารปลอดภัยไร้สารพิษและราคาถูกจากเกษตรกรในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุในโรงเรียนสร้างสุข ผู้สูงวัย ได้มีกิจกรรมให้ทำเพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีรายได้จากการทำเกษตร และปศุสัตว์
- เพื่อให้นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลตำบลรือเสาะได้รับโภชนาการที่ดีจากอาหารปลอดภัยไร้สารพิษ
- เพื่อให้ชาวบ้านมีทางเลือกใหม่ในการเลือกซื้อเลือกกินอาหารที่ปลอดภัย ไร้สารพิษและราคาถูกจากเกษตรกรในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการประชุมคณะทำโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
- กิจกรรมการปลูกผักแบบปลอดสารพิษ
- กิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่
- กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุก
- กิจกรรมตลาดอินทรีย์ออนไลน์
- กิจกรรมจ้างผู้ดูแลประจำศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเทศบาลตำบลรือเสาะเฉพาะโครงการกิจกรรมตลาดอินทรีย์ออนไลน์
- ทดสอบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ทดสอบ |
||
วันที่ 26 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำทดสอบ................ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทดสอบ.......................
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุในโรงเรียนสร้างสุข ผู้สูงวัย ได้มีกิจกรรมให้ทำเพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ตัวชี้วัด : มีแหล่งผลิตวัตถุดิบที่ปลอดภัย ในการประกอบอาหารให้กับเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เช่น ผักปลอดสารพิษ ไข่ไก่ที่ปลอดสารเร่ง และปลาดุกที่เลี้ยงแบบเกษตรอินทรีย์ |
0.00 | |||
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีรายได้จากการทำเกษตร และปศุสัตว์ ตัวชี้วัด : มีรายได้จากการขายผักไข่ไก่และปลาดุกในกลุ่มผู้สูงอายุโรงเรียนสร้างสุข ผู้สูงวัย |
0.00 | |||
3 | เพื่อให้นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาลตำบลรือเสาะได้รับโภชนาการที่ดีจากอาหารปลอดภัยไร้สารพิษ ตัวชี้วัด : นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ |
0.00 | |||
4 | เพื่อให้ชาวบ้านมีทางเลือกใหม่ในการเลือกซื้อเลือกกินอาหารที่ปลอดภัย ไร้สารพิษและราคาถูกจากเกษตรกรในพื้นที่ ตัวชี้วัด : ชาวบ้านได้มีทางเลือกในการเลือกซื้อเลือกกินอาหารที่ปลอดภัยไร้สารพิษและราคาถูกจากเกษตรกรในพื้นที่ |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร ทต.รือเสาะ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอดุลย์เดชา แก้วกระเศรษฐ โทรศัพท์ 081-9633564 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......