แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ การผลิตอาหารปลอดภัยสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขจัดความหิวโหย อบต.แว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส ”
จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาซีหย๊ะ ไทรทอง โทร 081-0923200
ชื่อโครงการ การผลิตอาหารปลอดภัยสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขจัดความหิวโหย อบต.แว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส
ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"การผลิตอาหารปลอดภัยสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขจัดความหิวโหย อบต.แว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การผลิตอาหารปลอดภัยสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขจัดความหิวโหย อบต.แว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " การผลิตอาหารปลอดภัยสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขจัดความหิวโหย อบต.แว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ทรัพยากรมนุษย์ เป็นทรัพยากรที่มีความสำคัญเมื่อเทียบกับทรัพยากรด้านอื่นๆ เห็นได้จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันมุ่งเน้นในการพัฒนาคนเป็นศูนย์กลาง และการพัฒนาคนที่ดีควรเริ่มจากวัยเด็ก เพราะเด็กวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันหน้า เด็กจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ จะต้องมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีการศึกษาที่ดีอย่างพอเหมาะ ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารปลอดภัย มีความสำคัญอย่างยิ่งที่ทุกภาคส่วนต้องร่วมมือกัน โดยเฉพาะผู้ปกครองต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลเรื่องอาหาร เพราะเป็นบุคคลที่มีความใกล้ชิดกับเด็ก มีเวลาอยู่กับเด็กมากกว่าใครๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปฏิบัติต่อเด็กในการรับประทานอาหารที่ถูกหลักอนามัยมีคุณประโยชน์ครบทั้ง 5 หมู่
องค์การบริหารส่วนตำบลแว้งมีหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด ร้อยละ 22.95 , เด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม ร้อยละ 6.28 , เด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะเตี้ย ร้อยละ 6.90 , เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะนำหนักเกิน ภาวะอ้วน ร้อยละ 3.67 , ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 2 ศูนย์ใช้โปรแกรม Manu Thai School Lunch , เด็กและเยาวชนที่อยู่ในวัยการเรียนรู้ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1,130 คน ซึ่งศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด(ตาดีกา) มีนักเรียน 980 คน เด็กไม่มีอาหารเที่ยงรับประทาน เนื่องจากไม่มีงบประมาณสนับสนุน การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการทำเกษตรเพื่อให้มีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยสำหรับใช้ประกอบอาหารกลางวันในโรงเรียนตาดีกาและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ส่งเสริมโดยการฝึกเด็กให้ปลูกผักกินเองและมีแหล่งอาหารที่ปลอดภัย หากเด็กในช่วงวัยแห่งการเจริญเติบโตบริโภคอาหารไม่เหมาะสมจะส่งผลทำให้พัฒนาการหยุดชะงักได้
จากปัญหาดังกล่าวทำให้องค์การบริหารส่วนตำบลแว้งได้ทำโครงการดังกล่าวขึ้นโดยเล็งเห็นถึงความสำคัญของการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีแหล่งอาหารสำหรับคนในชุมชนอีกทั้งสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับกลุ่มที่สนใจได้อีกทางด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) นำร่อง 3 ศูนย์ ทำเกษตรเพื่อให้มีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยสำหรับใช้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กในโรงเรียนตาดีกา
- เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 2 ศูนย์ มีการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการทำเกษตร เพิ่มพื้นที่อาหารปลอดภัยใน ศพด.และส่งเสริมโดยการฝึกเด็กให้ปลูกผักกินเอง และมีแหล่งอาหารที่ปลอดภัย
- เพื่อให้โรงเรียนชาวนาเป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัยและมีการกระจายผลผลิตสู่โรงเรียน ร้านอาหาร ตลาดในชุมชน และยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านอาหารปลอดภัยในชุมชน ให้กับกลุ่มที่สนใจ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอาหารปลอดภัย
- ติดตามโครงการและถอดบทเรียนพร้อมทั้งสรุปผลการดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงโครงการและคัดเลือกคณะทำงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) นำร่อง 3 ศูนย์ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 ศูนย์ มีการทำเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน และมีผลผลิตเข้าสู่ครัว
- เด็กในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) นำร่อง 3 ศูนย์ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 ศูนย์ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณภาพอีกทั้งรู้จักกินผักและมีวินัยในการช่วยการดูแลต้นไม้
- โรงเรียนชาวนามีอาหารปลอดภัยสำหรับคนครอบครัว ชุมชนและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับกลุ่มที่สนใจ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมชี้แจงโครงการและคัดเลือกคณะทำงาน
วันที่ 17 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ประชุมชี้แจงโครงการกิจกรรมอาหารปลอดภัย และคัดเลือกคณะทำงานทั้ง 5 กลุ่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้คณะทำงาน และติดตามการปฏิบัติงาน ทั้ง 5 กลุ่ม ดังนี้
1. นางนูรียะ ดอเลาะ
2. นางสาวซากีลา เจ๊ะแม
3. นายวีรชาติ เจ๊ะดอเล๊าะ
4. นางสาวโนเรียณี จิตรเดชา
5. นางอันนาตูลียา หะยีเจ๊ะแน
6.นายมูฮำหมัด บิง
7. นายอาหะมะ สะอุ
8. นางสุนีย์ ดือเลาะ
9. นางสาวมูรณี หะมิ
10. นายพีรศักดิ์ อับดุลรามัน
11. นายสะอารอนี อาแว
12. นายบาฮารูดีน ลอแม
40
0
2. กิจกรรมอาหารปลอดภัย
วันที่ 9 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
- ลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายทั้ง 5 กลุ่ม เพื่อสำรวจ สถานที่ ความพร้อม ที่จะดำเนินกิจกรรมอาหารปลอดภัย
- ดำเนินการจัดซื้อ และแจกจ่าย พันธุ์ไก่ไข่ พันธุ์เป็ดไข่ พันธุ์ปลาดุก อาหารไก่ อาหารเป็ด อาหารปลาดุก เมล็ดพันธุ์ผัก ก้อนเห็ด รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆที่ใช้ในการเพาะปลูก ให้แก่กลุ่มเป้าหมายทั้ง 5 กลุ่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายทั้ง 5 กลุ่ม มีสถานที่พร้อมสำหรับดำเนินกิจกรรม และสามารถดำเนินกิจกรรมอาหารปลอดภัยได้
40
0
3. ติดตามโครงการและถอดบทเรียนพร้อมทั้งสรุปผลการดำเนินงาน
วันที่ 27 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานทั้ง 5 กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 3 ครั้ง รายละเอียดดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 15 กรกฎาคม 2564
ครั้งที่ 2 วันที่ 3 สิงหาคม 2564
ครั้งที่ 3 วันที่ 27 สิงหาคม 2564
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการลงพื้นที่ติดตามกิจกรรมอาหารปลอดภัย พบว่าผลผลิตต่างๆเริ่มให้ผลผลิต เช่น ไก่และเป็ด เริ่มออกไข่ เห็ดเริ่มออกดอกและเก็บผลผลิตขายได้บ้างแล้ว
12
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) นำร่อง 3 ศูนย์ ทำเกษตรเพื่อให้มีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยสำหรับใช้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กในโรงเรียนตาดีกา
ตัวชี้วัด : ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) นำร่อง 3 ศูนย์และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 ศูนย์ มีการทำเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน และมีผลผลิตเข้าสู่ครัว
0.00
2
เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 2 ศูนย์ มีการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการทำเกษตร เพิ่มพื้นที่อาหารปลอดภัยใน ศพด.และส่งเสริมโดยการฝึกเด็กให้ปลูกผักกินเอง และมีแหล่งอาหารที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : เด็กในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) นำร่อง 3 ศูนย์และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 ศูนย์ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณภาพอีกทั้งรู้จักกินผักและมีวินัยในการช่วยการดูแลต้นไม้
0.00
3
เพื่อให้โรงเรียนชาวนาเป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัยและมีการกระจายผลผลิตสู่โรงเรียน ร้านอาหาร ตลาดในชุมชน และยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านอาหารปลอดภัยในชุมชน ให้กับกลุ่มที่สนใจ
ตัวชี้วัด : โรงเรียนชาวนามีอาหารปลอดภัยสำหรับคนครอบครัว ชุมชนและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับกลุ่มที่สนใจ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การผลิตอาหารปลอดภัยสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขจัดความหิวโหย อบต.แว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอาซีหย๊ะ ไทรทอง โทร 081-0923200 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ การผลิตอาหารปลอดภัยสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขจัดความหิวโหย อบต.แว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส ”
จังหวัดนราธิวาสหัวหน้าโครงการ
นางสาวอาซีหย๊ะ ไทรทอง โทร 081-0923200
ชื่อโครงการ การผลิตอาหารปลอดภัยสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขจัดความหิวโหย อบต.แว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส
ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"การผลิตอาหารปลอดภัยสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขจัดความหิวโหย อบต.แว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การผลิตอาหารปลอดภัยสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขจัดความหิวโหย อบต.แว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส
บทคัดย่อ
โครงการ " การผลิตอาหารปลอดภัยสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขจัดความหิวโหย อบต.แว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ทรัพยากรมนุษย์ เป็นทรัพยากรที่มีความสำคัญเมื่อเทียบกับทรัพยากรด้านอื่นๆ เห็นได้จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันมุ่งเน้นในการพัฒนาคนเป็นศูนย์กลาง และการพัฒนาคนที่ดีควรเริ่มจากวัยเด็ก เพราะเด็กวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันหน้า เด็กจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ จะต้องมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีการศึกษาที่ดีอย่างพอเหมาะ ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารปลอดภัย มีความสำคัญอย่างยิ่งที่ทุกภาคส่วนต้องร่วมมือกัน โดยเฉพาะผู้ปกครองต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลเรื่องอาหาร เพราะเป็นบุคคลที่มีความใกล้ชิดกับเด็ก มีเวลาอยู่กับเด็กมากกว่าใครๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปฏิบัติต่อเด็กในการรับประทานอาหารที่ถูกหลักอนามัยมีคุณประโยชน์ครบทั้ง 5 หมู่
องค์การบริหารส่วนตำบลแว้งมีหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด ร้อยละ 22.95 , เด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะผอม ร้อยละ 6.28 , เด็กอายุ 0-5 ที่มีภาวะเตี้ย ร้อยละ 6.90 , เด็ก 6-14 ปีที่มีภาวะนำหนักเกิน ภาวะอ้วน ร้อยละ 3.67 , ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 2 ศูนย์ใช้โปรแกรม Manu Thai School Lunch , เด็กและเยาวชนที่อยู่ในวัยการเรียนรู้ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1,130 คน ซึ่งศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด(ตาดีกา) มีนักเรียน 980 คน เด็กไม่มีอาหารเที่ยงรับประทาน เนื่องจากไม่มีงบประมาณสนับสนุน การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการทำเกษตรเพื่อให้มีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยสำหรับใช้ประกอบอาหารกลางวันในโรงเรียนตาดีกาและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ส่งเสริมโดยการฝึกเด็กให้ปลูกผักกินเองและมีแหล่งอาหารที่ปลอดภัย หากเด็กในช่วงวัยแห่งการเจริญเติบโตบริโภคอาหารไม่เหมาะสมจะส่งผลทำให้พัฒนาการหยุดชะงักได้
จากปัญหาดังกล่าวทำให้องค์การบริหารส่วนตำบลแว้งได้ทำโครงการดังกล่าวขึ้นโดยเล็งเห็นถึงความสำคัญของการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีแหล่งอาหารสำหรับคนในชุมชนอีกทั้งสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับกลุ่มที่สนใจได้อีกทางด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) นำร่อง 3 ศูนย์ ทำเกษตรเพื่อให้มีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยสำหรับใช้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กในโรงเรียนตาดีกา
- เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 2 ศูนย์ มีการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการทำเกษตร เพิ่มพื้นที่อาหารปลอดภัยใน ศพด.และส่งเสริมโดยการฝึกเด็กให้ปลูกผักกินเอง และมีแหล่งอาหารที่ปลอดภัย
- เพื่อให้โรงเรียนชาวนาเป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัยและมีการกระจายผลผลิตสู่โรงเรียน ร้านอาหาร ตลาดในชุมชน และยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านอาหารปลอดภัยในชุมชน ให้กับกลุ่มที่สนใจ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอาหารปลอดภัย
- ติดตามโครงการและถอดบทเรียนพร้อมทั้งสรุปผลการดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงโครงการและคัดเลือกคณะทำงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) นำร่อง 3 ศูนย์ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 ศูนย์ มีการทำเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน และมีผลผลิตเข้าสู่ครัว
- เด็กในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) นำร่อง 3 ศูนย์ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 ศูนย์ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณภาพอีกทั้งรู้จักกินผักและมีวินัยในการช่วยการดูแลต้นไม้
- โรงเรียนชาวนามีอาหารปลอดภัยสำหรับคนครอบครัว ชุมชนและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับกลุ่มที่สนใจ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมชี้แจงโครงการและคัดเลือกคณะทำงาน |
||
วันที่ 17 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำประชุมชี้แจงโครงการกิจกรรมอาหารปลอดภัย และคัดเลือกคณะทำงานทั้ง 5 กลุ่ม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้คณะทำงาน และติดตามการปฏิบัติงาน ทั้ง 5 กลุ่ม ดังนี้ 1. นางนูรียะ ดอเลาะ 2. นางสาวซากีลา เจ๊ะแม 3. นายวีรชาติ เจ๊ะดอเล๊าะ 4. นางสาวโนเรียณี จิตรเดชา 5. นางอันนาตูลียา หะยีเจ๊ะแน 6.นายมูฮำหมัด บิง 7. นายอาหะมะ สะอุ 8. นางสุนีย์ ดือเลาะ 9. นางสาวมูรณี หะมิ 10. นายพีรศักดิ์ อับดุลรามัน 11. นายสะอารอนี อาแว 12. นายบาฮารูดีน ลอแม
|
40 | 0 |
2. กิจกรรมอาหารปลอดภัย |
||
วันที่ 9 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายทั้ง 5 กลุ่ม มีสถานที่พร้อมสำหรับดำเนินกิจกรรม และสามารถดำเนินกิจกรรมอาหารปลอดภัยได้
|
40 | 0 |
3. ติดตามโครงการและถอดบทเรียนพร้อมทั้งสรุปผลการดำเนินงาน |
||
วันที่ 27 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานทั้ง 5 กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 3 ครั้ง รายละเอียดดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 15 กรกฎาคม 2564 ครั้งที่ 2 วันที่ 3 สิงหาคม 2564 ครั้งที่ 3 วันที่ 27 สิงหาคม 2564 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการลงพื้นที่ติดตามกิจกรรมอาหารปลอดภัย พบว่าผลผลิตต่างๆเริ่มให้ผลผลิต เช่น ไก่และเป็ด เริ่มออกไข่ เห็ดเริ่มออกดอกและเก็บผลผลิตขายได้บ้างแล้ว
|
12 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) นำร่อง 3 ศูนย์ ทำเกษตรเพื่อให้มีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยสำหรับใช้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กในโรงเรียนตาดีกา ตัวชี้วัด : ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) นำร่อง 3 ศูนย์และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 ศูนย์ มีการทำเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน และมีผลผลิตเข้าสู่ครัว |
0.00 | |||
2 | เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 2 ศูนย์ มีการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการทำเกษตร เพิ่มพื้นที่อาหารปลอดภัยใน ศพด.และส่งเสริมโดยการฝึกเด็กให้ปลูกผักกินเอง และมีแหล่งอาหารที่ปลอดภัย ตัวชี้วัด : เด็กในศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) นำร่อง 3 ศูนย์และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 ศูนย์ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณภาพอีกทั้งรู้จักกินผักและมีวินัยในการช่วยการดูแลต้นไม้ |
0.00 | |||
3 | เพื่อให้โรงเรียนชาวนาเป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัยและมีการกระจายผลผลิตสู่โรงเรียน ร้านอาหาร ตลาดในชุมชน และยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านอาหารปลอดภัยในชุมชน ให้กับกลุ่มที่สนใจ ตัวชี้วัด : โรงเรียนชาวนามีอาหารปลอดภัยสำหรับคนครอบครัว ชุมชนและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับกลุ่มที่สนใจ |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
การผลิตอาหารปลอดภัยสู่การสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขจัดความหิวโหย อบต.แว้ง อ.แว้ง จ.นราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอาซีหย๊ะ ไทรทอง โทร 081-0923200 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......