แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา ”
จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางดวงฤดี มีแวว
ชื่อโครงการ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา
ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา
บทคัดย่อ
โครงการ " (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่สังคมไทยและสังคมโลกกำลังเผชิญอยู่ในขณะนี้ หนึ่งในความวิตกกังวลของผู้คนคือประเด็นของความปลอดภัยในสุขอนามัยและเศรษฐกิจทั่วโลกที่กำลงย่ำแย่ หนึ่งในหนทางการสร้างความอยู่รอดคือการพึ่งพาตนเองให้ได้มากที่สุด และเสริมสร้างความพอเพียงระดับครัวเรือน โดยต้องสร้างความมั่นคงทางอาหารที่ปลอดสารพิษต่างๆ เพื่อลดค่าใช้จ่าย และสร้างความสามัคคีผ่านการทำกิจกรรมกันระหว่างคนในชุมชนและในครัวเรือน เพื่อฝ่าวิกฤติในครั้งนี้ให้ได้และตั้งแต่การระบาดของไวรัสโคโรน่า-19 ครบปีสถิติของผู้ได้รับผลกระทบมีทั้งครอบครัว ชุมชน โรงเรียน เด็ก และเยาวชนผู้สูงอายุผู้พิการผู้อยากไร้ซึ่งเป็นกลุ่มเปราะบาง หากมีคนในชุมชนติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19จำเป็นจะต้องปิดหมู่บ้านการขาดแคลนอาหารย่อมเป็นปัญหาหลักแน่นอนการสร้างความเข็มแข็งให้กับกลุ่มเด็กและเยาวชนโรงเรียนในพื้นที่กลุ่มอาชีพสามารถเป็นต้นแบบที่จะมารวมกลุ่มกันเพื่อสร้างความเข็มแข็งให้เกิดขึ้นสามารถยืนหยัด สร้างผลผลิต แหล่งอาหาร เช่นปลูกผัก การเลี้ยงสัตว์ เป็นคลังอาหารของคนในหมู่บ้าน ในชุมชนเพื่อให้ทุกคนได้ผ่านพ้นวิกฤตนี้ไปด้วยกัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้คนในชุมชนได้เข้าถึงแหล่งอาหารที่ปลอดภัย
- สร้างความพอเพียงในการบริโภคอาหาร และการกระจายผลผลิตในชุมชนสู่ครัวเรือน
- มีกระบวนการการมีส่วนร่วมในชุมชน กลุ่ม เครือข่าย ในหมู่บ้านที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร
- เด็กและเยาชนในพื้นที่ได้รับอาหารที่ปลอดภัย
- ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงกลุ่มผู้ป่วยในชุมชนได้มีอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ปลูกผัก ปลูกรัก เพื่อชุมชน
- ทำซุ้มเช็คอินและปลูกผัก เพื่อให้เยาวชนห่างไกลสิ่งเสพติด
- ส่งเสริมการเลี้ยงปลาดุกในบ่อปูนซีเมนต์แก่เยาวชนบ้านกาโสด
- เกษตรเพื่อนักเรียน โรงเรียนบ้านธารทิพย์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้ผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวันในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เยาวชนได้รับประทานอาหารที่ได้มีความปลอดภัย ผลผลิตที่เหลือสามารถจำหน่วยในชุมชนหรือตามตลาดในตำบล และยังนำมาแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารได้ เยาวชนมีความรู้ในการเลี้ยงปลาดุกและสามารถนความรู้ที่ได้มาใช้ประกอบอาชีพในชีวิตประจำวัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ส่งเสริมการเลี้ยงปลาดุกในบ่อปูนซีเมนต์แก่เยาวชนบ้านกาโสด
วันที่ 21 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมหารือในกลุ่มเยาชน (โดยเฉพาะเยาวชนที่ต้องออกจากการเรียนภาคบังคับ และไม่ได้เรียนต่อ) จำนวน 5 คน
2.หาบุคลกรเป็นที่ปรึกษาเพื่อจัดตั้งกลุ่มเยาวชนบ้านกาโสดเพื่อสร้างอาชีพ
3.ขอความอนุเคราะห์พื้นที่ในการจัดสร้างบ่อปูนซีเมนต์เพื่อการเลี้ยงปลาดุก
4.จัดอบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม การเลี้ยงปลาดุก
5.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างบ่อปูนซีเมนต์สร้างบ่อปูนซีเมนต์เลี้ยงปลาดุกพร้อมเชื่อมโครงหลังคาเหล็กติดสแลนบังแดดและซื้อพันธ์ปลาดุกอาหารปลาดุก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเยาวชนในพื้นที่ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผลผลิตที่ได้นำมาขายสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นในชุมชน ชาวบ้านในพื้นที่ได้บริโภคอาหารที่ราคาถูกและปลอดภัย
200
0
2. ปลูกผัก ปลูกรัก เพื่อชุมชน
วันที่ 21 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- ปลูกผักสานครัว , เพาะเห็ดฟาง , เลี้ยงไก่ไข่ , ทำปุ๋ยหมักอินทรีย์
- จำหน่ายผลผลิตราคาถูกให้กับชาวบ้านในชุมชน
- แจกจ่ายผลผลิตให้กับผู้สูงอายุ , ผู้พิการ , โรงเรียนตาดีกา , กลุ่มบ้านสัมผัสผู้ป่วยโควิด , บ้านกักตัวผู้สัมผัสเสี่ยงสูง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เกิดความร่วมมือร่วมแรงกันของชาวบ้านในชุมชน กลุ่มสตรีหญิงหม้ายคนด้อยโอกาสในพื้นที่ได้มาทำกิจกรรมร่วมกัน ผลผลิตที่ได้ ได้ขายในราคาที่ถูกให้กับชาวบ้านและแจกจ่ายให้กับกลุ่มเปราะบาง
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มบ้านผู้กักตัวที่มีฐานะยากจน
150
0
3. ทำซุ้มเช็คอินและปลูกผัก เพื่อให้เยาวชนห่างไกลสิ่งเสพติด
วันที่ 22 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมคณะเยาวชน
2.จัดทำซุ้มเป็นจุด check in ให้ทางหน่วยงานที่มาตรวจแปลงและนักท่องเที่ยวที่ผ่านไปเบตง
3.จัดทำปุ๋ยอินทรีย์สารไล่แมลง และอื่นๆ อบรมการเตรียมดินหลังจากอบรมเสร็จ มีการแจกจ่ายเมล็ดพันธุ์ผักให้เยาวชนมาปลูกผัก/ เมื่อได้ผลผลิตก็จะนำมารวบรวมทำอาหารแจก
กลุ่มเยาวชนบ้านป่าหวังนอก
หมู่ 11 ชื่อกิจกรรม ทำซุ้มเช็คอินและปลูกผัก เพื่อให้เยาวชนห่างไกลสิ่งเสพติด
ประมาณการ ตามรายละเอียดดังนี้
- ค่าวิทยากร จำนวน 2 วันๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 2,000บาท
- ค่าไม้ไผ่ 83 แท่งๆละ 40 บาท เป็นเงิน 3,330 บาท
- หญ้าแห้งอัดก้อน 20 ก้อนละ 80 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
- ค่าอาหารว่าง จำนวน 15 คนๆละ 40 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 15 คนๆละ 80 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าเมล็ดพันธุ์มะเขือจำนวน 30 ซองละ 20 บาท เป็นเงิน 600 บาท
- ค่าเมล็ดพันธุ์พริกขี้หนูจำนวน 40 ซองๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
- ค่าเมล็ดพันธุ์ผักกรีนโอ๊ค จำนวน 20 ซองๆละ 35 บาท เป็นเงิน 700บาท
- ค่าจุลินทรีย์ EM จำนวน 20 ลิตรๆละ 100 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
- ค่ากากน้ำตาลจำนวน 40 ลิตรๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
- ปุ๋ยอินทรีย์สำเร็จรูปจำนวน 6 กระสอบๆละ 445 เป็นเงิน 2,670 บาท
- ค่าจ้างผู้ช่วยปฎิบัติงาน เป็นเงิน 500 บาท
รวมยอดทั้งสิ้น 20,000 บาท
วิธีการดำเนินงาน
1.ประชุมคณะเยาวชน
2.จัดทำซุ้มเป็นจุด check in ให้ทางหน่วยงานที่มาตรวจแปลงและนักท่องเที่ยวที่ผ่านไปเบตง
3.จัดทำปุ๋ยอินทรีย์สารไล่แมลง และอื่นๆ อบรมการเตรียมดินหลังจากอบรมเสร็จ มีการแจกจ่ายเมล็ดพันธุ์ผักให้เยาวชนมาปลูกผัก/ เมื่อได้ผลผลิตก็จะนำมารวบรวมทำอาหารแจกให้กับผู้ด้อยโอกาส/ผู้สูงอายุจากนั้นเอามาจำหน่ายต่อไปเพื่อขยายโอกาสให้กับกลุ่มเยาวชนหางไกลสิ่งเสพติดหันมาเรียนรู้ด้านเกษตร โดยให้เมล็ดพันธุ์ผักให้นำกลับไปปลูกที่บ้าน ต่อไป
ผลผลิตที่ได้ก็จะมีการจำหน่ายสมาชิกกลุ่มมีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยปลอดสารพิษ มีอาหารที่เพียงพอ เกิดรายได้ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน/กำไรที่ได้แบ่งให้กับสมาชิกกลุ่ม/เก็บทุนไว้ซื้อเมล็ดพันธุ์ผักในรอบต่อไป
4. พัฒนาพื้นที่ต้นแบบของเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติดโดยออกแบบตามหลักภูมิสังคมพัฒนาฐานเรียนรู้ให้แก่ชุมชนผู้สูงอายุในโอกาสและเด็กๆ
5.สรุปผลการทำงานและติดตามผลงานของกลุ่มเยาวชนบ้านป่าหวังนอก ม.11 ต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเยาวชนในพื้นที่ที่ว่างงานได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สร้างงานสร้างรายได้
20
0
4. เกษตรเพื่อนักเรียน โรงเรียนบ้านธารทิพย์
วันที่ 31 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
.ประชุมคณะกรรมการ
2 .จัดทำมุ้งบังแดดสำหรับแปลงเกษตร
3. แบ่งกลุ่มเกษตรสำหรับรับผิดชอบแปลงเกษตรแต่ละแปลง
4. ผลผลิตที่ได้ก็จะมีการจำหน่ายแก่สหกรณ์โรงเรียน เพื่อขายต่อให้กับโรงอาหาร หากยังมีเหลืออีกก็จะเอาไปตั้งตามร้านค้าในชุมชนสมาชิก ทำให้ชุมชนและโรงเรียนมีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยปลอดสารพิษ กำไรที่ได้แบ่งเอามาต่อยอดในการบริหารและซื้อเมล็ดพันธ์และอุปกรณ์ต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิตผักปลอดสารพิษ
256
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้คนในชุมชนได้เข้าถึงแหล่งอาหารที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ครัวเรือนในชุมชนมีอาหารบริโภคครบ 5 หมู่
0.00
2
สร้างความพอเพียงในการบริโภคอาหาร และการกระจายผลผลิตในชุมชนสู่ครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
0.00
3
มีกระบวนการการมีส่วนร่วมในชุมชน กลุ่ม เครือข่าย ในหมู่บ้านที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร
ตัวชี้วัด :
0.00
4
เด็กและเยาชนในพื้นที่ได้รับอาหารที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเด็กนักเรียนในโรงเรียนได้บริโภคอาหารที่ดีและปลอดภัยส่งเสริมพัฒนาการและเสริมสร้างการเจริญเติบโตที่ดีต่อไป
0.00
5
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงกลุ่มผู้ป่วยในชุมชนได้มีอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
ตัวชี้วัด : เพิ่มศักยภาพในการจัดทำอาหารให้กลุ่มผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียงได้มีอาหารที่เพียงพอถูกสุขลักษณะและปลอดภัย
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางดวงฤดี มีแวว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา ”
จังหวัดยะลาหัวหน้าโครงการ
นางดวงฤดี มีแวว
ชื่อโครงการ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา
ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา
บทคัดย่อ
โครงการ " (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่สังคมไทยและสังคมโลกกำลังเผชิญอยู่ในขณะนี้ หนึ่งในความวิตกกังวลของผู้คนคือประเด็นของความปลอดภัยในสุขอนามัยและเศรษฐกิจทั่วโลกที่กำลงย่ำแย่ หนึ่งในหนทางการสร้างความอยู่รอดคือการพึ่งพาตนเองให้ได้มากที่สุด และเสริมสร้างความพอเพียงระดับครัวเรือน โดยต้องสร้างความมั่นคงทางอาหารที่ปลอดสารพิษต่างๆ เพื่อลดค่าใช้จ่าย และสร้างความสามัคคีผ่านการทำกิจกรรมกันระหว่างคนในชุมชนและในครัวเรือน เพื่อฝ่าวิกฤติในครั้งนี้ให้ได้และตั้งแต่การระบาดของไวรัสโคโรน่า-19 ครบปีสถิติของผู้ได้รับผลกระทบมีทั้งครอบครัว ชุมชน โรงเรียน เด็ก และเยาวชนผู้สูงอายุผู้พิการผู้อยากไร้ซึ่งเป็นกลุ่มเปราะบาง หากมีคนในชุมชนติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19จำเป็นจะต้องปิดหมู่บ้านการขาดแคลนอาหารย่อมเป็นปัญหาหลักแน่นอนการสร้างความเข็มแข็งให้กับกลุ่มเด็กและเยาวชนโรงเรียนในพื้นที่กลุ่มอาชีพสามารถเป็นต้นแบบที่จะมารวมกลุ่มกันเพื่อสร้างความเข็มแข็งให้เกิดขึ้นสามารถยืนหยัด สร้างผลผลิต แหล่งอาหาร เช่นปลูกผัก การเลี้ยงสัตว์ เป็นคลังอาหารของคนในหมู่บ้าน ในชุมชนเพื่อให้ทุกคนได้ผ่านพ้นวิกฤตนี้ไปด้วยกัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้คนในชุมชนได้เข้าถึงแหล่งอาหารที่ปลอดภัย
- สร้างความพอเพียงในการบริโภคอาหาร และการกระจายผลผลิตในชุมชนสู่ครัวเรือน
- มีกระบวนการการมีส่วนร่วมในชุมชน กลุ่ม เครือข่าย ในหมู่บ้านที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร
- เด็กและเยาชนในพื้นที่ได้รับอาหารที่ปลอดภัย
- ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงกลุ่มผู้ป่วยในชุมชนได้มีอาหารที่ถูกสุขลักษณะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ปลูกผัก ปลูกรัก เพื่อชุมชน
- ทำซุ้มเช็คอินและปลูกผัก เพื่อให้เยาวชนห่างไกลสิ่งเสพติด
- ส่งเสริมการเลี้ยงปลาดุกในบ่อปูนซีเมนต์แก่เยาวชนบ้านกาโสด
- เกษตรเพื่อนักเรียน โรงเรียนบ้านธารทิพย์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้ผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวันในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เยาวชนได้รับประทานอาหารที่ได้มีความปลอดภัย ผลผลิตที่เหลือสามารถจำหน่วยในชุมชนหรือตามตลาดในตำบล และยังนำมาแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารได้ เยาวชนมีความรู้ในการเลี้ยงปลาดุกและสามารถนความรู้ที่ได้มาใช้ประกอบอาชีพในชีวิตประจำวัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ส่งเสริมการเลี้ยงปลาดุกในบ่อปูนซีเมนต์แก่เยาวชนบ้านกาโสด |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมหารือในกลุ่มเยาชน (โดยเฉพาะเยาวชนที่ต้องออกจากการเรียนภาคบังคับ และไม่ได้เรียนต่อ) จำนวน 5 คน
2.หาบุคลกรเป็นที่ปรึกษาเพื่อจัดตั้งกลุ่มเยาวชนบ้านกาโสดเพื่อสร้างอาชีพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเยาวชนในพื้นที่ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผลผลิตที่ได้นำมาขายสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นในชุมชน ชาวบ้านในพื้นที่ได้บริโภคอาหารที่ราคาถูกและปลอดภัย
|
200 | 0 |
2. ปลูกผัก ปลูกรัก เพื่อชุมชน |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเกิดความร่วมมือร่วมแรงกันของชาวบ้านในชุมชน กลุ่มสตรีหญิงหม้ายคนด้อยโอกาสในพื้นที่ได้มาทำกิจกรรมร่วมกัน ผลผลิตที่ได้ ได้ขายในราคาที่ถูกให้กับชาวบ้านและแจกจ่ายให้กับกลุ่มเปราะบาง
|
150 | 0 |
3. ทำซุ้มเช็คอินและปลูกผัก เพื่อให้เยาวชนห่างไกลสิ่งเสพติด |
||
วันที่ 22 มิถุนายน 2564กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมคณะเยาวชน
2.จัดทำซุ้มเป็นจุด check in ให้ทางหน่วยงานที่มาตรวจแปลงและนักท่องเที่ยวที่ผ่านไปเบตง
3.จัดทำปุ๋ยอินทรีย์สารไล่แมลง และอื่นๆ อบรมการเตรียมดินหลังจากอบรมเสร็จ มีการแจกจ่ายเมล็ดพันธุ์ผักให้เยาวชนมาปลูกผัก/ เมื่อได้ผลผลิตก็จะนำมารวบรวมทำอาหารแจก
กลุ่มเยาวชนบ้านป่าหวังนอก
หมู่ 11 ชื่อกิจกรรม ทำซุ้มเช็คอินและปลูกผัก เพื่อให้เยาวชนห่างไกลสิ่งเสพติด
ประมาณการ ตามรายละเอียดดังนี้
- ค่าวิทยากร จำนวน 2 วันๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 2,000บาท
- ค่าไม้ไผ่ 83 แท่งๆละ 40 บาท เป็นเงิน 3,330 บาท
- หญ้าแห้งอัดก้อน 20 ก้อนละ 80 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
- ค่าอาหารว่าง จำนวน 15 คนๆละ 40 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 15 คนๆละ 80 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าเมล็ดพันธุ์มะเขือจำนวน 30 ซองละ 20 บาท เป็นเงิน 600 บาท
- ค่าเมล็ดพันธุ์พริกขี้หนูจำนวน 40 ซองๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
- ค่าเมล็ดพันธุ์ผักกรีนโอ๊ค จำนวน 20 ซองๆละ 35 บาท เป็นเงิน 700บาท
- ค่าจุลินทรีย์ EM จำนวน 20 ลิตรๆละ 100 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
- ค่ากากน้ำตาลจำนวน 40 ลิตรๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
- ปุ๋ยอินทรีย์สำเร็จรูปจำนวน 6 กระสอบๆละ 445 เป็นเงิน 2,670 บาท
- ค่าจ้างผู้ช่วยปฎิบัติงาน เป็นเงิน 500 บาท
รวมยอดทั้งสิ้น 20,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเยาวชนในพื้นที่ที่ว่างงานได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สร้างงานสร้างรายได้
|
20 | 0 |
4. เกษตรเพื่อนักเรียน โรงเรียนบ้านธารทิพย์ |
||
วันที่ 31 สิงหาคม 2564กิจกรรมที่ทำ.ประชุมคณะกรรมการ 2 .จัดทำมุ้งบังแดดสำหรับแปลงเกษตร 3. แบ่งกลุ่มเกษตรสำหรับรับผิดชอบแปลงเกษตรแต่ละแปลง 4. ผลผลิตที่ได้ก็จะมีการจำหน่ายแก่สหกรณ์โรงเรียน เพื่อขายต่อให้กับโรงอาหาร หากยังมีเหลืออีกก็จะเอาไปตั้งตามร้านค้าในชุมชนสมาชิก ทำให้ชุมชนและโรงเรียนมีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยปลอดสารพิษ กำไรที่ได้แบ่งเอามาต่อยอดในการบริหารและซื้อเมล็ดพันธ์และอุปกรณ์ต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิตผักปลอดสารพิษ
|
256 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้คนในชุมชนได้เข้าถึงแหล่งอาหารที่ปลอดภัย ตัวชี้วัด : ครัวเรือนในชุมชนมีอาหารบริโภคครบ 5 หมู่ |
0.00 | |||
2 | สร้างความพอเพียงในการบริโภคอาหาร และการกระจายผลผลิตในชุมชนสู่ครัวเรือน ตัวชี้วัด : |
0.00 | |||
3 | มีกระบวนการการมีส่วนร่วมในชุมชน กลุ่ม เครือข่าย ในหมู่บ้านที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร ตัวชี้วัด : |
0.00 | |||
4 | เด็กและเยาชนในพื้นที่ได้รับอาหารที่ปลอดภัย ตัวชี้วัด : กลุ่มเด็กนักเรียนในโรงเรียนได้บริโภคอาหารที่ดีและปลอดภัยส่งเสริมพัฒนาการและเสริมสร้างการเจริญเติบโตที่ดีต่อไป |
0.00 | |||
5 | ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงกลุ่มผู้ป่วยในชุมชนได้มีอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ตัวชี้วัด : เพิ่มศักยภาพในการจัดทำอาหารให้กลุ่มผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียงได้มีอาหารที่เพียงพอถูกสุขลักษณะและปลอดภัย |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางดวงฤดี มีแวว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......