PSU UNDP

directions_run

(UNPD) โครงการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ (UNPD) โครงการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา ”

จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ (UNPD) โครงการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

ที่อยู่ จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"(UNPD) โครงการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
(UNPD) โครงการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " (UNPD) โครงการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัจจุบันในพื้นที่ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ซึ่งปัจจุบันมีผู้ป่วยจำนวนทั้งสิ้นจำนวน 68 ราย และมีคำสั่งปิดหมู่บ้านจากผู้ว่าราชการจังหวัดยะลาจำนวน 4 หมู่บ้าน ประกอบด้วยหมู่ที่ 1,3,4 และหมู่ที่ 8 ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา ส่งผลให้มีผู้ได้รับผลกระทบจำนวน 1,026 ครัวเรือน เพศหญิง 1,865 และเพศชาย 1,854 รวมทั้งสิ้น 3,648 ราย จากสถานการณ์ดังกล่าวทำให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับผลกระทบ ไม่สามารถที่จะประกอบอาชีพได้และมีความจำเป็นต้องพึ่งพิงอาหารจากแหล่งอื่นๆนอกพื้นที่ หากสถานการณ์การระบาดยังไม่คลี่คลายจะส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆตามมาอย่างมากมาย เช่น ปัญหาการว่างงานในกลุ่มเยาวชน ปัญหาด้านอาหารที่ไม่เพียงพอ ปลอดภัย เป็นต้น
    จากข้อมูลที่สำรวจในพื้นที่โดยองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหร พบว่ามีจำนวนประชากรในพื้นที่ที่มีอายุ 19-40 ปี จำนวน 2,649 คน และอย่างน้อยร้อยละ 12 คิดเป็นจำนวนโดยเฉลี่ย 300 คน ไม่มีรายได้ที่เพียงพอและมั่นคง ประกอบกับในพื้นที่ตำบลบ้านแหร ประชาชน ร้านค้าในพื้นที่ มีการนำเข้าวัตถุดิบ อาหาร จากแหล่งอื่นที่ไม่ได้มาจากชุมชน ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้กลุ่มเยาวชน ผู้ว่างงานมีรายได้ที่เพียงพอ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงระบบตลาดที่มีอยู่ในพื้นที่ให้มีศักยภาพในการกระจายวัตถุดิบที่เป็นอาหารผลิตโดยคนในชุมชนเองและซื้อในราคาที่ต่ำกว่าท้องตลาดทั่วไป จะทำให้ประชาชนในพื้นที่ได้บริโภคอาหารที่เป็นประโยชน์ปลอดภัยและเพียงพอต่อความต้องการของชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กลุ่มยุวเกษตรเลี้ยงปลาดุกเพื่อการพัฒนา
  2. เครือข่ายประมงปลาน้ำจืดเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
  3. เครือข่ายเกษตรกรปลูกอ้อยเพื่อการส่งเสริมอาชีพ
  4. กิจกรรมประชุมเตรียมงานและประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ประชาชนในพื้นที่ตำบลบ้านแหร ร้อยละ 50 ได้บริโภคอาหารที่ดี ปลอดภัย มีโภชนาการ ส่งผลให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น 2 เกิดแหล่งผลิตวัตถุดิบอาหารปลอดภัยทางการเกษตรในพื้นที่ โดยมีการปลูกอ้อย การเลี้ยงปลาดุก การเลี้ยงปลาจีน เพื่อการบริโภคและจำหน่ายในพื้นที่ตำบลบ้านแหรและพื้นที่ใกล้เคียง, 3 กลุ่มเยาวชน ผู้ว่างงานในพื้นที่ตำบลบ้านแหร อย่างน้อยร้อยละ 10 มีรายได้ที่เพียงพอและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กลุ่มยุวเกษตรเลี้ยงปลาดุกเพื่อการพัฒนา (2) เครือข่ายประมงปลาน้ำจืดเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต (3) เครือข่ายเกษตรกรปลูกอ้อยเพื่อการส่งเสริมอาชีพ (4) กิจกรรมประชุมเตรียมงานและประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


(UNPD) โครงการส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด