แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปัตตานี ”
จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมูฮำหมัดนาเซร์ ดอเลาะ โทรศัพท์ 086-2875057
ชื่อโครงการ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปัตตานี
ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปัตตานี
บทคัดย่อ
โครงการ " (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โภชนาการเป็นเรื่องของการกิน "อาหาร" ที่ร่างกายเรานำ "สารอาหาร" จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข อาหาร และโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในวัยเด็กก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เป็นวัยที่มีความสำคัญที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมการพัฒนารอบด้าน อาหารและโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะเด็กแรกเกิดถึง 6 ขวบ ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวการณ์เจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุที่สำคัญจากการไม่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วน ทำให้ร่างกายไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควร นอกจากนั้น ยังเกิดจากพฤติกรรมการกินของเด็กที่มีผลต่อการกำหนดนิสัย และบุคลิกภาพของเด็กในอนาคต โดยการสะสมของพฤติกรรมนี้ เกิดขึ้นนับตั้งแต่มื้อแรกในชีวิต พฤติกรรมการกินต่างๆ ที่พ่อแม่หรือคนเลี้ยงดู ได้กำหนดให้เด็ก ซึ่งมีผลต่อนิสัยการกินของเด็กในอนาคต ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ที่จะต้องช่วยกันดูแลเอาใจใส่เรื่องอาหารการกิน หรือโภชนาการของเด็ก ผู้ปกครอง ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อให้ช่วยให้เด็กได้มีอาหารการกินที่ดีมีคุณค่าทางอาหาร และได้ปริมาณครบถ้วน
องค์การบริหารส่วนตำบลปูยุด มีพื้นที่รับผิดชอบจำนวน 7 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากร 7,175 คน มีจำนวนครัวเรือน 1,780 บาท มีครัวเรือนที่ยากจนที่อยู่ในบัญชีซากาต (บัญชีผู้ยากจน) จำนวน 50 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 2.0 และในครัวเรือนดังกล่าวเด็กมีภาวะทุพโภชนาการ ได้แก่ เด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี สูงดีตกเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 32.0 และน้ำหนักตกเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 12.0 ปัจจัยที่ทำให้เด็กมีภาวะทุพโภชนาการต่ำ ได้แก่ คุณภาพการดูแลทารกในหญิงตั้งครรภ์และปัจจัยด้านการอบรมเลี้ยงดูของผู้ปกครอง ปัจจัยการศึกษาและความรู้ ปัจจัยด้านตัวเด็ก เช่น อายุ การดื่มนมแม่ในช่วง 4 เดือนแรก เพศ น้ำหนักแรกคลอด พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็ก และภาวะเศรษฐกิจครอบครัว ซึ่งสอดคล้องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ประชาชนวัยแรงานตำบลปูยุดมีการตกงาน คิดเป็นร้อยละ 20.0 และประชาชนตำบลปูยุดมีการเข้าถึงคุณค่าอาหารที่มีประโยชน์ไม่ครอบคลุม คิดเป็นร้อยละ 80.0 ซึ่งตำบลปูยุด มีบริบททางสังคมที่หลากหลาย คือ เป็นพื้นที่ลักษณะกึ่งเมืองกึ่งชนบท ทำให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งอาหารที่มีคุณค่าพบน้อย และเข้าถึงยาก จึงต้องมีกระบวนการเพิ่มความมั่นคงทางอาหาร ได้แก่ ส่งเสริมกระบวนการเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกผัก เพาะเห็ดนางฟ้า เลี้ยงเป็ดชวา และตลาดนัดเกษตรอินทรีย์เพื่อความมั่นคงทางอาหาร แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความสมัครใจและมีฐานะลำบาก เพื่อส่งเสริมการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจในช่วงภาวะวิกฤติ โดยทางองค์การบริหารส่วนตำบลปูยุด จะมีการมอบหมายหน้าที่ให้มีผู้ประสานงานหลักในการนำผลผลิตของกลุ่มต่างๆมาส่งขายตามตลาดนัดเกษตรอินทรีย์ตำบลปูยุด และผลผลิตของอาหารส่วนหนึ่งจะสนับสนุนเด็กแรกเกิดถึง 6 ขวบที่มีภาวะทุพโภชนาการ และครอบครัวที่ยากจน ด้วยเหตุนี้ทางองค์การบริหารส่วนตำบลปูยุด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมระบบความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย ให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลปูยุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มผลผลิตอาหารปลอดภัยในชุมชน โดยการส่งเสริมกลุ่มเคือข่ายในการทำเกษตร ปศุสัตว์ ในพื้นที่ตำบลปูยุด
- เพื่อเชื่อมโยงผลผลิตอาหารปลอดภัย ในข้อ ๑ เข้าสู่ครอบครัวคนด้อยโอกาส และคนยากจน และตลาดนัดอาหารปลอดภัย/ตลาดอินทรีย์ในพื้นที่ตำบลปูยุด
- เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในกลุ่มเด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี ในพื้นที่ตำบลปูยุด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมส่งเสริมกระบวนการเลี้ยงไก่ไข่
- กิจกรรมส่งเสริมกระบวนการปลูกผัก
- กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า
- กิจกรรมเลี้ยงเป็ดชวา
- กิจกรรมตลาดนัดเกษตรอินทรีย์เพื่อความมั่นคงทางอาหาร
- กิจกรรมประชุมติดตาม ประเมินผลโครงการและกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมส่งเสริมกระบวนการเลี้ยงไก่ไข่
วันที่ 1 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
1.คัดเลือกครัวเรือนที่มีความพร้อมในการเลี้ยงไก่ มีรายชื่ออยู่ในบัญชีซากาตของมัสยิด
2.อบรมให้ความรู้การเลี้ยงไก่ไข่
3.สนับสนุนกระบวนการเลี้ยงให้มีประสิทธิภาพ
4.ติดตามประเมินผลการเลี้ยงไก่ไข่
5.นำผลผลิตขาย และมอบไก่ไข่ให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 10 ครอบครัว
6.ชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ10 ครอบครัว เพื่อใช้ในการติดตาม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีการรวมกลุ่มเพื่อเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 10 ราย
2.เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 10 ครอบครัว ได้เสริมโปรตีนจนเข้าสู่เกณฑ์ปกติ
10
0
2. กิจกรรมส่งเสริมกระบวนการปลูกผัก
วันที่ 1 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
1.คัดเลือกครัวเรือนที่มีความพร้อมในการปลูกผัก มีรายชื่ออยู่ในบัญชีซากาตของมัสยิด
2.อบรมให้ความรู้การปลูกผัก
3.สนับสนุนกระบวนการปลูกให้มีประสิทธิภาพ
4.ติดตามประเมินผล
5.นำผลผลิตขาย และมอบผักให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 10 ครอบครัว
6.ชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ10 ครอบครัว เพื่อใช้ในการติดตาม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีการรวมกลุ่มเพื่อเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 10 ราย
2.เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 10 ครอบครัว ได้เสริมอาหารจนเข้าสู่เกณฑ์ปกติ
10
0
3. กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า
วันที่ 1 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
1.คัดเลือกครัวเรือนที่มีความพร้อมในการรวมกลุ่มมีรายชื่ออยู่ในบัญชีซากาตของมัสยิด
2.อบรมให้ความรู้การเพาะเห็ด
3.สร้างโรงเรือนเพาะเห็ด
4.สนับสนุนกระบวนเพาะเห็ดให้มีประสิทธิภาพ
5.ติดตามประเมินผล
6.ทำการตลาดขายตามเพจ รถหาบแร่
5.นำผลผลิตขาย และสนับสนุนเห็ด 10 ครอบครัว
6.ชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ10 ครอบครัว เพื่อใช้ในการติดตาม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีโรงเรือนเพื่อชุมชน 1 แห่ง
2.มีรายได้แก่ผู้ดูแลกลุ่มเปาะบาง ผู้พิการ และยากจน อย่าง 1,000 บาท/เดือน
3.เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 10 ครอบครัว ได้เสริมอาหารจนเข้าสู่เกณฑ์ปกติ
10
0
4. กิจกรรมเลี้ยงเป็ดชวา
วันที่ 1 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ
1.คัดเลือกครัวเรือนที่มีความพร้อมในการเลี้ยงเป็ด มีรายชื่ออยู่ในบัญชีซากาตของมัสยิด
2.อบรมให้ความรู้การเลี้ยง
3.สนับสนุนกระบวนการเลี้ยงให้มีประสิทธิภาพ
4.ติดตามประเมินผลการเลี้ยง
5.นำผลผลิตขาย และมอบให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 10 ครอบครัว
6.ชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ10 ครอบครัว เพื่อใช้ในการติดตาม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีการรวมกลุ่มเพื่อเลี้ยงเป็ดชวา จำนวน 10 ราย
2.เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 10 ครอบครัว ได้เสริมโปรตีนจนเข้าสู่เกณฑ์ปกติ
6
0
5. กิจกรรมตลาดนัดเกษตรอินทรีย์เพื่อความมั่นคงทางอาหาร
วันที่ 19 ตุลาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดวางสินค้าขายตามตลาดนัด จำนวน 2 แห่ง
-ตลาดนัดปูยุด เปิดทำการวันอังคาร ศุกร์ อาทิตย์ เวลา 17.00-18.30 น.
-ตลาดนัดรามง เปิดทำการวันพุธ เสาร์ เวลา 17.00-18.30 น.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีตลาดนัดเกษตรอินทรีย์ฯ จำนวน 1 แห่ง
10
0
6. กิจกรรมประชุมติดตาม ประเมินผลโครงการและกิจกรรม
วันที่ 31 ตุลาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ประชุม จำนวน 3 วัน และกิจกรรมกำกับ ติดตามกระบวนการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีคณะกรรมการขับเคลื่อนความมั่นคงอาหาร 1 ชุด
2.มีการถอดบทเรียน จำนวน 1 ครั้ง
4
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มผลผลิตอาหารปลอดภัยในชุมชน โดยการส่งเสริมกลุ่มเคือข่ายในการทำเกษตร ปศุสัตว์ ในพื้นที่ตำบลปูยุด
ตัวชี้วัด : เกิดแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย ประเภทผัก ปศุสัตว์ จากกลุ่มต่าง ๆ ในพื้นที่ เช่น กลุ่มปลูกผัก เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ เพาะเห็ด ฯลฯ
0.00
2
เพื่อเชื่อมโยงผลผลิตอาหารปลอดภัย ในข้อ ๑ เข้าสู่ครอบครัวคนด้อยโอกาส และคนยากจน และตลาดนัดอาหารปลอดภัย/ตลาดอินทรีย์ในพื้นที่ตำบลปูยุด
ตัวชี้วัด : เกิดการเชื่อมโยงผลผลิตที่ได้จากข้อ 1) เข้าสู่สู่ครอบครัวคนด้อยโอกาส และคนยากจน และตลาดนัดอาหารปลอดภัย/ตลาดอินทรีย์ในพื้นที่ตำบลปูยุด ทำให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงอาหารปลอดภัยมากขึ้น
0.00
3
เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในกลุ่มเด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี ในพื้นที่ตำบลปูยุด
ตัวชี้วัด : เด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี สามารถเข้าถึงสารอาหารที่มีคุณค่าและประโยชน์
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมูฮำหมัดนาเซร์ ดอเลาะ โทรศัพท์ 086-2875057 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปัตตานี ”
จังหวัดปัตตานีหัวหน้าโครงการ
นายมูฮำหมัดนาเซร์ ดอเลาะ โทรศัพท์ 086-2875057
ชื่อโครงการ (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปัตตานี
ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปัตตานี
บทคัดย่อ
โครงการ " (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โภชนาการเป็นเรื่องของการกิน "อาหาร" ที่ร่างกายเรานำ "สารอาหาร" จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข อาหาร และโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย ทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในวัยเด็กก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เป็นวัยที่มีความสำคัญที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมการพัฒนารอบด้าน อาหารและโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะเด็กแรกเกิดถึง 6 ขวบ ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวการณ์เจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุที่สำคัญจากการไม่ได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วน ทำให้ร่างกายไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควร นอกจากนั้น ยังเกิดจากพฤติกรรมการกินของเด็กที่มีผลต่อการกำหนดนิสัย และบุคลิกภาพของเด็กในอนาคต โดยการสะสมของพฤติกรรมนี้ เกิดขึ้นนับตั้งแต่มื้อแรกในชีวิต พฤติกรรมการกินต่างๆ ที่พ่อแม่หรือคนเลี้ยงดู ได้กำหนดให้เด็ก ซึ่งมีผลต่อนิสัยการกินของเด็กในอนาคต ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ที่จะต้องช่วยกันดูแลเอาใจใส่เรื่องอาหารการกิน หรือโภชนาการของเด็ก ผู้ปกครอง ครู และผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อให้ช่วยให้เด็กได้มีอาหารการกินที่ดีมีคุณค่าทางอาหาร และได้ปริมาณครบถ้วน
องค์การบริหารส่วนตำบลปูยุด มีพื้นที่รับผิดชอบจำนวน 7 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากร 7,175 คน มีจำนวนครัวเรือน 1,780 บาท มีครัวเรือนที่ยากจนที่อยู่ในบัญชีซากาต (บัญชีผู้ยากจน) จำนวน 50 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 2.0 และในครัวเรือนดังกล่าวเด็กมีภาวะทุพโภชนาการ ได้แก่ เด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี สูงดีตกเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 32.0 และน้ำหนักตกเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 12.0 ปัจจัยที่ทำให้เด็กมีภาวะทุพโภชนาการต่ำ ได้แก่ คุณภาพการดูแลทารกในหญิงตั้งครรภ์และปัจจัยด้านการอบรมเลี้ยงดูของผู้ปกครอง ปัจจัยการศึกษาและความรู้ ปัจจัยด้านตัวเด็ก เช่น อายุ การดื่มนมแม่ในช่วง 4 เดือนแรก เพศ น้ำหนักแรกคลอด พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็ก และภาวะเศรษฐกิจครอบครัว ซึ่งสอดคล้องจากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ประชาชนวัยแรงานตำบลปูยุดมีการตกงาน คิดเป็นร้อยละ 20.0 และประชาชนตำบลปูยุดมีการเข้าถึงคุณค่าอาหารที่มีประโยชน์ไม่ครอบคลุม คิดเป็นร้อยละ 80.0 ซึ่งตำบลปูยุด มีบริบททางสังคมที่หลากหลาย คือ เป็นพื้นที่ลักษณะกึ่งเมืองกึ่งชนบท ทำให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งอาหารที่มีคุณค่าพบน้อย และเข้าถึงยาก จึงต้องมีกระบวนการเพิ่มความมั่นคงทางอาหาร ได้แก่ ส่งเสริมกระบวนการเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกผัก เพาะเห็ดนางฟ้า เลี้ยงเป็ดชวา และตลาดนัดเกษตรอินทรีย์เพื่อความมั่นคงทางอาหาร แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีความสมัครใจและมีฐานะลำบาก เพื่อส่งเสริมการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจในช่วงภาวะวิกฤติ โดยทางองค์การบริหารส่วนตำบลปูยุด จะมีการมอบหมายหน้าที่ให้มีผู้ประสานงานหลักในการนำผลผลิตของกลุ่มต่างๆมาส่งขายตามตลาดนัดเกษตรอินทรีย์ตำบลปูยุด และผลผลิตของอาหารส่วนหนึ่งจะสนับสนุนเด็กแรกเกิดถึง 6 ขวบที่มีภาวะทุพโภชนาการ และครอบครัวที่ยากจน ด้วยเหตุนี้ทางองค์การบริหารส่วนตำบลปูยุด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมระบบความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยและโภชนาการสมวัย ให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลปูยุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มผลผลิตอาหารปลอดภัยในชุมชน โดยการส่งเสริมกลุ่มเคือข่ายในการทำเกษตร ปศุสัตว์ ในพื้นที่ตำบลปูยุด
- เพื่อเชื่อมโยงผลผลิตอาหารปลอดภัย ในข้อ ๑ เข้าสู่ครอบครัวคนด้อยโอกาส และคนยากจน และตลาดนัดอาหารปลอดภัย/ตลาดอินทรีย์ในพื้นที่ตำบลปูยุด
- เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในกลุ่มเด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี ในพื้นที่ตำบลปูยุด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมส่งเสริมกระบวนการเลี้ยงไก่ไข่
- กิจกรรมส่งเสริมกระบวนการปลูกผัก
- กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า
- กิจกรรมเลี้ยงเป็ดชวา
- กิจกรรมตลาดนัดเกษตรอินทรีย์เพื่อความมั่นคงทางอาหาร
- กิจกรรมประชุมติดตาม ประเมินผลโครงการและกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมส่งเสริมกระบวนการเลี้ยงไก่ไข่ |
||
วันที่ 1 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ1.คัดเลือกครัวเรือนที่มีความพร้อมในการเลี้ยงไก่ มีรายชื่ออยู่ในบัญชีซากาตของมัสยิด
2.อบรมให้ความรู้การเลี้ยงไก่ไข่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีการรวมกลุ่มเพื่อเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 10 ราย 2.เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 10 ครอบครัว ได้เสริมโปรตีนจนเข้าสู่เกณฑ์ปกติ
|
10 | 0 |
2. กิจกรรมส่งเสริมกระบวนการปลูกผัก |
||
วันที่ 1 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ1.คัดเลือกครัวเรือนที่มีความพร้อมในการปลูกผัก มีรายชื่ออยู่ในบัญชีซากาตของมัสยิด
2.อบรมให้ความรู้การปลูกผัก
3.สนับสนุนกระบวนการปลูกให้มีประสิทธิภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีการรวมกลุ่มเพื่อเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 10 ราย 2.เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 10 ครอบครัว ได้เสริมอาหารจนเข้าสู่เกณฑ์ปกติ
|
10 | 0 |
3. กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า |
||
วันที่ 1 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ1.คัดเลือกครัวเรือนที่มีความพร้อมในการรวมกลุ่มมีรายชื่ออยู่ในบัญชีซากาตของมัสยิด
2.อบรมให้ความรู้การเพาะเห็ด
3.สร้างโรงเรือนเพาะเห็ด
4.สนับสนุนกระบวนเพาะเห็ดให้มีประสิทธิภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีโรงเรือนเพื่อชุมชน 1 แห่ง 2.มีรายได้แก่ผู้ดูแลกลุ่มเปาะบาง ผู้พิการ และยากจน อย่าง 1,000 บาท/เดือน 3.เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 10 ครอบครัว ได้เสริมอาหารจนเข้าสู่เกณฑ์ปกติ
|
10 | 0 |
4. กิจกรรมเลี้ยงเป็ดชวา |
||
วันที่ 1 กันยายน 2564กิจกรรมที่ทำ1.คัดเลือกครัวเรือนที่มีความพร้อมในการเลี้ยงเป็ด มีรายชื่ออยู่ในบัญชีซากาตของมัสยิด
2.อบรมให้ความรู้การเลี้ยง
3.สนับสนุนกระบวนการเลี้ยงให้มีประสิทธิภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีการรวมกลุ่มเพื่อเลี้ยงเป็ดชวา จำนวน 10 ราย 2.เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 10 ครอบครัว ได้เสริมโปรตีนจนเข้าสู่เกณฑ์ปกติ
|
6 | 0 |
5. กิจกรรมตลาดนัดเกษตรอินทรีย์เพื่อความมั่นคงทางอาหาร |
||
วันที่ 19 ตุลาคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดวางสินค้าขายตามตลาดนัด จำนวน 2 แห่ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีตลาดนัดเกษตรอินทรีย์ฯ จำนวน 1 แห่ง
|
10 | 0 |
6. กิจกรรมประชุมติดตาม ประเมินผลโครงการและกิจกรรม |
||
วันที่ 31 ตุลาคม 2564กิจกรรมที่ทำประชุม จำนวน 3 วัน และกิจกรรมกำกับ ติดตามกระบวนการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีคณะกรรมการขับเคลื่อนความมั่นคงอาหาร 1 ชุด 2.มีการถอดบทเรียน จำนวน 1 ครั้ง
|
4 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มผลผลิตอาหารปลอดภัยในชุมชน โดยการส่งเสริมกลุ่มเคือข่ายในการทำเกษตร ปศุสัตว์ ในพื้นที่ตำบลปูยุด ตัวชี้วัด : เกิดแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย ประเภทผัก ปศุสัตว์ จากกลุ่มต่าง ๆ ในพื้นที่ เช่น กลุ่มปลูกผัก เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ เพาะเห็ด ฯลฯ |
0.00 | |||
2 | เพื่อเชื่อมโยงผลผลิตอาหารปลอดภัย ในข้อ ๑ เข้าสู่ครอบครัวคนด้อยโอกาส และคนยากจน และตลาดนัดอาหารปลอดภัย/ตลาดอินทรีย์ในพื้นที่ตำบลปูยุด ตัวชี้วัด : เกิดการเชื่อมโยงผลผลิตที่ได้จากข้อ 1) เข้าสู่สู่ครอบครัวคนด้อยโอกาส และคนยากจน และตลาดนัดอาหารปลอดภัย/ตลาดอินทรีย์ในพื้นที่ตำบลปูยุด ทำให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงอาหารปลอดภัยมากขึ้น |
0.00 | |||
3 | เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในกลุ่มเด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี ในพื้นที่ตำบลปูยุด ตัวชี้วัด : เด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี สามารถเข้าถึงสารอาหารที่มีคุณค่าและประโยชน์ |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
(UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.ปูยุด อ.เมือง จ.ปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมูฮำหมัดนาเซร์ ดอเลาะ โทรศัพท์ 086-2875057 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......