แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี ”
อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
วรรณาพร
ชื่อโครงการ กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
ที่อยู่ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤศจิกายน 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
บทคัดย่อ
โครงการ " กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤศจิกายน 2563 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 110,850.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงโครงการ แก่กองทุนตำบล
- พัฒนาศักยภาพผู้ขอรับทุน กลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดทำแผนงาน โครงการเพื่อของบจากกองทุน
- ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับกองทุนเพื่อปรับ โครงการ
- วางแผนและปรึกษาหารือ ประชุมร่วมกับ พชอ. เพื่อคัดเลือกประเด็นที่จะขับเคลื่อนในระดับอำเภอโดยกลไก พชอ
- -ถอดบทเรียนการขับเคลื่อน โดยประชุมร่วมกันระหว่างกองทุนตำบลกับ พชอ.เพื่อขับเคลื่อนแผนต่อไป -ติดตามประเมินผลโดย ทีมประเมินภายใน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการจัดทำแผนงาน และการพัฒนาโครการ บน เวปไซด์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เขต 12 สงขลา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น จำนวน 18 กองทุนในเขตอำเภอเมืองพัทลุง มีโครงการที่สนับสนุนการทำงานของ พชอ.พัทลุงได้อย่างน้อยกองทุน ฯ ่ละ 1 โครงการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมชี้แจงโครงการ แก่กองทุนตำบล
วันที่ 28 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ประชุมชี้แจงโครงการ แก่กองทุนตำบลเพื่อชี้แจงโครงการและสร้างความเข้าใจ โดยการบรรยาย/ซักถาม และให้แต่ละพื้นที่ได้นำเสนอการทำงานที่ผ่านมา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมรับทราบ เข้าใจแนวทางการดำเนินงานโครงการ
60
0
2. พัฒนาศักยภาพผู้ขอรับทุน กลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดทำแผนงาน โครงการเพื่อของบจากกองทุน
วันที่ 18 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ทีมวิทยากรมีกิจกรรมการให้ความรู้และแบ่งกลุ่มพัฒนาศักยภาพผู้ขอรับทุน โดยฝึกผ่านโปรแกรมขอรับทุนออนไลน์ กลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดทำแผนงาน โครงการเพื่อของบจากกองทุน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และได้ฝึกการขอรับทุนและเขียนโครงการผ่านโปรแกรมขอรับทุนออนไลน์ เพื่อจัดทำแผนงาน โครงการเพื่อของบจากกองทุน โดยทีมวิทยากร
แผนงาน จำนวนแผนงาน โครงการที่พัฒนา
แผนงานเหล้า 2 1
แผนงานบุหรี่ 10 2
แผนงานสารเสพติด 10 9
แผนงานอาหารและโภชนาการ 20 27
แผนงานกิจกรรมทางกาย 12 13
แผนงานโรคเรื้อรัง 12 34
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว11 31
แผนงานสิ่งแวดล้อม 7 8
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง 12 26
81
0
3. ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับกองทุนเพื่อปรับ โครงการ
วันที่ 26 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ทีมวิทยากรมีกิจกรรมการให้ความรู้และแบ่งกลุ่มพัฒนาศักยภาพผู้ขอรับทุน โดยฝึกผ่านโปรแกรมขอรับทุนออนไลน์ กลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดทำแผนงาน โครงการเพื่อของบจากกองทุนแจ้งกองทุนต่างๆในอำเภอยะหริ่ง ขอเชิญประชุม
ในกิจกรรมที่ 3.ประชุมปฏิบัติการร่วมกับกองทุนเพื่อปรับโครงการ
กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพผู้ขอรับทุน กลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดทำแผนงาน โครงการเพื่อของบจากกองทุน
กองทุนตำบลๆละ 4 คน (บุคคลที่เขียนโครงการเสนอของบกองทุน )จำนวน 72 คน
แบ่งเป็น 3 โซน
ร่วมกับ พชอ. 6 คน
1.วันที่ 26/4/64 ได้แก่ทต.ยะหริ่ง ทต.บางปู ทต.ตันหยง ทต.ตอหลัง อบต.ยามู อบต.มะนังยง
สถานที่ประชุม ห้องประชุมโรงพยาบาลยะหริ่ง
2.วันที่ 27/4/64 ได้แก่อบต.จะรัง อบต.หนองแรต อบต.แหลมโพธิ์
อบต.ตะโละการ์โป อบต.สาบัน อบต.ตาแกะ
ห้องประชุม โรงพยาบาลยะหริ่ง
3..วันที่ 28/4/64 ได้แก่ อบต.ตะโละ อบต.ตาลีอายร์ อบต.ตันหยงดาลอ อบต.บาโลย อบต.ราตาปันยัง อบต.ปิยามุมัง
ห้องประชุมโรงพยาบาลยะหริ่ง
จุดประสงค์ ปรับแผนงาน โครงการ ในระบบ online กองทุนตำบลภาคใต้ เพื่อให้ผ่านการพิจารณา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อ.ยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี (สนับสนุนการขับเคลื่อนของพี่เลี้ยงกองทุนร่วมกับ พชอ.)
มีจำนวน 18 กองทุนฯ ขับเคลื่อน 17 กองทุน
1.จำนวนแผนงาน มี 6 แผนงาน
คือ แผนงานอาหารและโภชนาการ
แผนงานกิจกรรมทางกาย
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด
แผนงานบุหรี่
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
แผนงานโรคเรื้อรัง
2 โครงการที่พัฒนา มี 99 โครงการ
3 งบประมาณที่สนับสนุน 3,895,494.00 บาท
4.จำนวนโครงการที่ได้อนุมัติ 99 โครงการ
81
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( วรรณาพร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี ”
อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานีหัวหน้าโครงการ
วรรณาพร
ชื่อโครงการ กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
ที่อยู่ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤศจิกายน 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
บทคัดย่อ
โครงการ " กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤศจิกายน 2563 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 110,850.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงโครงการ แก่กองทุนตำบล
- พัฒนาศักยภาพผู้ขอรับทุน กลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดทำแผนงาน โครงการเพื่อของบจากกองทุน
- ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับกองทุนเพื่อปรับ โครงการ
- วางแผนและปรึกษาหารือ ประชุมร่วมกับ พชอ. เพื่อคัดเลือกประเด็นที่จะขับเคลื่อนในระดับอำเภอโดยกลไก พชอ
- -ถอดบทเรียนการขับเคลื่อน โดยประชุมร่วมกันระหว่างกองทุนตำบลกับ พชอ.เพื่อขับเคลื่อนแผนต่อไป -ติดตามประเมินผลโดย ทีมประเมินภายใน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการจัดทำแผนงาน และการพัฒนาโครการ บน เวปไซด์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ เขต 12 สงขลา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น จำนวน 18 กองทุนในเขตอำเภอเมืองพัทลุง มีโครงการที่สนับสนุนการทำงานของ พชอ.พัทลุงได้อย่างน้อยกองทุน ฯ ่ละ 1 โครงการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมชี้แจงโครงการ แก่กองทุนตำบล |
||
วันที่ 28 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำประชุมชี้แจงโครงการ แก่กองทุนตำบลเพื่อชี้แจงโครงการและสร้างความเข้าใจ โดยการบรรยาย/ซักถาม และให้แต่ละพื้นที่ได้นำเสนอการทำงานที่ผ่านมา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมรับทราบ เข้าใจแนวทางการดำเนินงานโครงการ
|
60 | 0 |
2. พัฒนาศักยภาพผู้ขอรับทุน กลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดทำแผนงาน โครงการเพื่อของบจากกองทุน |
||
วันที่ 18 มกราคม 2564กิจกรรมที่ทำทีมวิทยากรมีกิจกรรมการให้ความรู้และแบ่งกลุ่มพัฒนาศักยภาพผู้ขอรับทุน โดยฝึกผ่านโปรแกรมขอรับทุนออนไลน์ กลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดทำแผนงาน โครงการเพื่อของบจากกองทุน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และได้ฝึกการขอรับทุนและเขียนโครงการผ่านโปรแกรมขอรับทุนออนไลน์ เพื่อจัดทำแผนงาน โครงการเพื่อของบจากกองทุน โดยทีมวิทยากร
แผนงาน จำนวนแผนงาน โครงการที่พัฒนา
|
81 | 0 |
3. ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับกองทุนเพื่อปรับ โครงการ |
||
วันที่ 26 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำทีมวิทยากรมีกิจกรรมการให้ความรู้และแบ่งกลุ่มพัฒนาศักยภาพผู้ขอรับทุน โดยฝึกผ่านโปรแกรมขอรับทุนออนไลน์ กลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดทำแผนงาน โครงการเพื่อของบจากกองทุนแจ้งกองทุนต่างๆในอำเภอยะหริ่ง ขอเชิญประชุม แบ่งเป็น 3 โซน ร่วมกับ พชอ. 6 คน 1.วันที่ 26/4/64 ได้แก่ทต.ยะหริ่ง ทต.บางปู ทต.ตันหยง ทต.ตอหลัง อบต.ยามู อบต.มะนังยง สถานที่ประชุม ห้องประชุมโรงพยาบาลยะหริ่ง 2.วันที่ 27/4/64 ได้แก่อบต.จะรัง อบต.หนองแรต อบต.แหลมโพธิ์ อบต.ตะโละการ์โป อบต.สาบัน อบต.ตาแกะ ห้องประชุม โรงพยาบาลยะหริ่ง 3..วันที่ 28/4/64 ได้แก่ อบต.ตะโละ อบต.ตาลีอายร์ อบต.ตันหยงดาลอ อบต.บาโลย อบต.ราตาปันยัง อบต.ปิยามุมัง ห้องประชุมโรงพยาบาลยะหริ่ง จุดประสงค์ ปรับแผนงาน โครงการ ในระบบ online กองทุนตำบลภาคใต้ เพื่อให้ผ่านการพิจารณา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอ.ยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี (สนับสนุนการขับเคลื่อนของพี่เลี้ยงกองทุนร่วมกับ พชอ.) มีจำนวน 18 กองทุนฯ ขับเคลื่อน 17 กองทุน 1.จำนวนแผนงาน มี 6 แผนงาน คือ แผนงานอาหารและโภชนาการ แผนงานกิจกรรมทางกาย แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด แผนงานบุหรี่ แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง แผนงานโรคเรื้อรัง 2 โครงการที่พัฒนา มี 99 โครงการ 3 งบประมาณที่สนับสนุน 3,895,494.00 บาท 4.จำนวนโครงการที่ได้อนุมัติ 99 โครงการ
|
81 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( วรรณาพร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......