สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.มะนัง จ.สตูล ”

อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายเจ๊ะอับดุลล่าห์ แดหวัน

ชื่อโครงการ กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.มะนัง จ.สตูล

ที่อยู่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.มะนัง จ.สตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.มะนัง จ.สตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.มะนัง จ.สตูล " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,500.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการบูรณาการกองทุนของอำเภอมะนัง จังหวัดสตูลซึ่งมีกองทุนที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 2 แห่ง คือ กองทุน อบต นิคมพัฒนา และ อบต. ปาล์มพัฒนา โครการดังกล่าวเป็นการเชิญขวนกองทุนฯ ทั้ง 2 แห่งได้ร่วมกำหนดแผนงาน/โครงการ จำนวน 5 แผนงาน คือ แผนงานอาหารและโภชนาการ,แผนงานกิจกรรมทางกาย,แผนงานงานเหล้า บุหรี ,แผนงานลดอุบัติเหตุจากการจราจรและโครการดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งกองทุน จะต้องมีโครงการทั้ง 5 โครงการอยู่ในแผนการดำเนินงานของกองทุน ปี 2564 และ ที่สำคัญ สาธารณสุขอำเภอ ซึ่งเป็นเลขานุการ พชอ. ต้องผลักดันให้เกิดการบูรณาการดำเนินงานร่วมกับ พชอ. ซึ่งมติที่ประชุมเห็นชอบให้นำประเด็นของ การดูแลผู้สูงอายุและประเด็นของอาหารและโภชนาการ เป็นประเด็นร่วมในการขับเคลื่อนงานร่วมกันระหว่าง กองทุนฯ กับ พชอ. มะนัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมวางแผนและปรึกษาหารือของคณะทำงานพัฒนากลไกบูรณาการสุขภาพ อ.มะนัง จ.สตูล
  2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดทำแผนงานโครงการเพื่อของบจากกองทุน
  3. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับกองทุน เพื่อปรับโครงการ (ติดตามประเมินผล ครั้งที่ 1)
  4. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับกองทุน เพื่อปรับโครงการ (ติดตามประเมินผล ครั้งที่ 2)
  5. กิจกรรมประชุมติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีการจัดทำโครงการตามประเด็นจุดเน้นระดับอำเภอ (อาหาร กิจกรรมทางกาย อุบัติเหตุ เหล้า/บุหรี่ ผู้สูงอายุ)


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมวางแผนและปรึกษาหารือของคณะทำงานพัฒนากลไกบูรณาการสุขภาพ อ.มะนัง จ.สตูล

วันที่ 19 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมวางแผนและปรึกษาหารือของคณะทำงานพัฒนากลไกบูรณาการสุขภาพ อ.มะนัง จ.สตูล 2.จัดตั้งคณะทำงานพัฒนากลไกบูรณาการสุขภาพ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ให้มีการแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนงาน ซึ่งประกอบด้วยผู้เข้าร่วมประชุมในวันนี้ และเพิ่ม สาธารณสุขอำเภอเป้ยประธานคณะทำงาน ที่ประชุมมอบหมายให้ปลัดรัฐพงษ์ วรวรรณสงคราม พิจารณาและหารือคนลงนามออกคำสั่ง
2.ผู้ประสานงานมอบหมายให้ทีมงานจัดจั้งไลน์กลุ่มผุ้ขับเคลื่อนงาน เพื่อประโยชน์ในการ ประสานงาน

  • photo
  • photo

 

8 0

2. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดทำแผนงานโครงการเพื่อของบจากกองทุน

วันที่ 10 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.บรรยายการบูรณาการกองทุนกับกลไก พชอ. โดย นายเจ๊ะอับดุลล่าห์ แดหวัน
2.บรรยายการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) โดย นายรัฐพงศ์ วรวรรณสงคราม
3.การจัดทำแผนงานโครงการพัฒนากลไกบูรณาการสุขภาพ โดย นางสาวิตรี อนันตะพงษ์
และนางสาวชัญญานุช พุ่มพวง
4.การพัฒนาแผนงานโครงการพัฒนากลไกบูรณาการสุขภาพ โดย นางสาวิตรี อนันตะพงษ์
และนางสาวชัญญานุช พุ่มพวง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 28 คน 2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความสนใจในการจัดทำแผนงานโครงการพัฒนากลไกบูรณาการสุขภาพ

  • photo
  • photo
  • photo
  • photo

 

28 0

3. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับกองทุน เพื่อปรับโครงการ (ติดตามประเมินผล ครั้งที่ 1)

วันที่ 22 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการทำหมันสัตว์ เพื่อลดจำนวนสุนัขจรจัด ซื่อเป็นสาเหตุขหนึ่งของการเกิดอุบัติเหตุ

 

1 0

4. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับกองทุน เพื่อปรับโครงการ (ติดตามประเมินผล ครั้งที่ 2)

วันที่ 23 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงลงพื้นที่เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน ครั้งที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการจัดกิจกรรมประชุมหารือแนวทางและวางแผนการดำเนินงานโครงการ ตามโครงการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซื่งเป็นการดำเนินงานลดอุบัติเหตุอย่างต่อเนื่อง

 

1 0

5. กิจกรรมประชุมติดตามประเมินผล

วันที่ 27 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมติดตามประเมินผล และสรุปผลการดำเนินงาน โดยคณะทำงาน พี่เลี้ยงกองทุน และผู้เข้าร่วมโครงการ รวม 30 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีการดำเนินกิจกรรมของโครงการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซึ่งได้รับงบประมาณจาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อย่างต่อเนื่อง
2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการของบจากกองทุน สปสช. ได้ เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมไม่สามารถดำเนินการของบ เพื่อมาดำเนินการได้

  • photo
  • photo
  • photo

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมวางแผนและปรึกษาหารือของคณะทำงานพัฒนากลไกบูรณาการสุขภาพ อ.มะนัง จ.สตูล (2) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดทำแผนงานโครงการเพื่อของบจากกองทุน (3) กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับกองทุน เพื่อปรับโครงการ (ติดตามประเมินผล ครั้งที่ 1) (4) กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับกองทุน เพื่อปรับโครงการ (ติดตามประเมินผล ครั้งที่ 2) (5) กิจกรรมประชุมติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


กลไกสุขภาพ พื้นที่ อ.มะนัง จ.สตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเจ๊ะอับดุลล่าห์ แดหวัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด