การปฏิบัติงานวิชาการ การบริหารและการเงินโครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะ ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ประจำเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
การปฏิบัติงานวิชาการ การบริหารและการเงินโครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะ ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ประจำเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
()
- นำเสนอผลการดำเนินงาน
- ชี้แจงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน
- ทีมวิชาการ และทีมประเมิน ให้ข้อเสนอแนะต่อผลการดำเนินงาน
- วางแผนการดำเนินงานในเฟสถัดไป
ผลการดำเนินงานแผนงานระบบอาหารจังหวัดชุมพร
ผลการดำเนินงาน ประเด็นพืชร่วมยาง จังหวัดระนอง
()
- นำเสนอผลการดำเนินงาน
- ทีมวิชาการให้ขอเสนอแนะ
- วางแผนการดำเนินงานในเฟสต่อไป
- ผลการดำเนินงาน
()
วันจันทร์ที่ 14 ธันวาคม 2563
13.00 – 13.30 น. ชี้แจงเป้าหมายและตัวชี้วัดโครงการศูนย์วิชาการนโยบายสาธารณะ
เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวสน.)
โดย ผศ.ดร พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
13.30 – 15.00 น. นำเสนอความก้าวหน้าผลการดำเนินโครงการ
• ผลการดำเนินงานโครงการ ศวนส. ระยะที่ 1
โดย ทีมขับเคลื่อนประเด็น
o ประเด็นความมั่นคงทางสุขภาพ
โดย นพ.มาหะมะ เมาะมูลา
การจัดการระบบสร้างเสริมสุขภาพแบบพหุวัฒนธรรม
โดย นางสาวซูวารี มอซู
การจัดการปัจจัยเสี่ยงตามแนวทางสันติสุขภาวะ
o ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร
โดย นายทวีวัตร เครือสาย / นางสาวฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
นางสาววรรณา สุวรรณชาตรี / นางสาวซูวารี มอซู
o ประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์
โดย สปสช. เขต 11 และ เขต 12
o ประเด็นความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- การจัดการภัยพิบัติภาคใต้ โดย นายไมตรี จงไกรจักร์
ดร.อิบรอฮิม สารีมาแซ
- การท่องเที่ยวโดยชุมชน โดย ดร.จตุรงค์ คงแก้ว
o ประเด็นสื่อสาธารณะเพื่อสุขภาวะ
โดย นายอานนท์ มีศรี
ให้ข้อเสนอแนะ
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ / ดร.เพ็ญ สุขมาก
15.00 - 18.30 น. แบ่งกลุ่มตามรายประเด็นเพื่อวางแผนการขับเคลื่อนงานระยะที่ 2
(ทีมขับเคลื่อน ทีมประเมิน และทีมสื่อสารสาธารณะ)
1. ความมั่นคงทางสุขภาพ
2. ความมั่นคงทางมนุษย์
3. ความมั่นคงทางอาหาร
4. ความมั่นคงทางฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5. สื่อสาธารณะเพื่อสุขภาวะ
18.30 น. รับประทานอาหารเย็น
วันอังคารที่ 15 ธันวาคม 2563
09.00 - 09.30 น. นำเสนอรูปแบบ การสื่อสารเพื่อการผลักดันข้อเสนอเชิงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
ทั้ง 6 ประเด็น
โดย ทีมสื่อสารสาธารณะ
ให้ข้อเสนอแนะ
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ / ดร.เพ็ญ สุขมาก
09.30 - 11.00 น. นำเสนอแผนการดำเนินงาน ระยะที่ 2 ทั้ง 4 ประเด็น
โดย ทีมขับเคลื่อนประเด็น ทั้ง 4 ประเด็น
ให้ข้อเสนอแนะ
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ / ดร.เพ็ญ สุขมาก
11.00 - 12.00 น. การรายงานกิจกรรม และรายงานการเงิน แบบออนไลน์ และการบริหารจัดการโครงการ
โดย นางสาววรรณา สุวรรณชาตรี
นายสุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
12.00 น. รับประทานอาหารเที่ยงและเดินทางกลับ
ผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงาน สื่อ
ปัญหา คือ เริ่มไม่พร้อมกัน ไม่มีเนื้อหานำเสนอ
Set ทีมประเด็นแต่ละประเด็นให้ได้มาซึ่งเนื้อหาร่วมกัน สู่ช่องทาง online (set ข้อคำถาม-ตอบ ประเมินการนำผลไปปฏิบัติการ) สุดท้ายต้องถอดบทเรียน และมีชุดความรู้ –> สร้าง content ร่วมกันที่จะให้สื่อนำเสนอ สถานที่ เวลา
รูปแบบการดำเนินการแบ่ง 3 โซน และครอบคลุมแต่ละประเด็นในพื้นที่ เช่น อันดามัน ใต้ล่าง (แกะรอยวิถีอันดามัน 2 ประเด็น, พี่ตั้ม สุภาวะใต้ล่าง ใน 3 จังหวัดภาคใต้และสงขลา) ใต้บน (ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี) ใต้กลาง (ทีมพี่อานนท์ดูแลภาพรวม) ซึ่งมีทั้ง 4 ประเด็นอยู่แล้ว
ผลการดำเนินงาน ระบบอาหาร
1. นราธิวาส
- ตำบลบูรณาการระบบอาหาร ยังไม่ได้ขยับมาก mapping คือ อำเภอรือเสาะ 10 ท้องถิ่น (แลกเปลี่ยนร่วมกับตำบลควนรู และตำบลชะแล้) รวบรวมข้อมูลสถานการณ์เพื่อจัดทำแผน ผ่านการ training ทำแผน พิจารณาแผนเพื่อดูว่าเข้างบในหมวดใด จากนั้นนำขยายผลต่อ
- พืชร่วมยาง มีเกษตรกร 10 ราย (เชิญ อ.ปราโมทย์ นำเสนอ model) พาดูงานที่สงขลา พื้นที่ที่จะร่วมส่วนใหญ่พท ไม้ผล กยท. เห็นด้วย ส่วนที่ยังเป็นปัญหา คือ เกษตรกรที่จะต้องมีการกระตุ้นการพัมนาศักยภาพตนเอง
2. ระบบอาหาร
- พืชร่วมยางประชุมกับ กยท. พื้นที่ต้นแบบ ท่าแซะ ละแม และหลังสวน เกษตรกรเข้าร่วม 18 ราย (เพิ่มเรื่องโซล่าเซล)
- ยุทธศาตร์จังหวัด นำเสนอร่างแรกสู่สมัชชาพลเมือง (เวทีวันที่ 9)
- ตำบลบูรณาการระบบอาหาร ทำความเข้าใจในเวทีแรก รวบรวมข้อมูลจากพื้นที่เพื่อทำร่างแผน
- ระนอง: แผนเรื่องแปลงต้นแบบ ผ่านทาง กยท.
3. ท่องเที่ยว
- Phase 1 ศึกษาสถานการณ์ข้อมูลเบื้องต้น phase 2 กำหนดยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวชุมชน phase 3 เก็บรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น หลัง covid – 19 ใน 3 ระดับ
4. ภัยพิบัติ
นราธิวาส
- ประชุมทีม ศึกษาข้อมูลภัยพิบัติจาก ปพ.
พังงา
- พื้นที่ 6 จังหวัด ใหม่ สตูล ตรัง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ระนอง ปูพื้น (ภูเก็ต ระนอง)
ข้อมูลสถานการณ์ จ.สตูล มีคณะกรรมการระดับจังหวัด, จังหวัดตรัง ยังไม่สามารถให้ผู้ว่าราชการ
จัดตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัดได้, กระบี่ มีความร่วมมือกับอบจ. และมีศูนย์อาสาภัยพิบัติของอบจ., ระนอง, พังงา กำลังยกร่างคำสั่งให้กับ….
เมื่อลงพื้นที่ครบจัดทำร่างยุทธศาสตร์ขึ้นมา
สิ่งที่จะต้องทำต่อในแต่ละประเด็น
1. ศึกษาตัวแบบ phase 1 และ 2 ร่วมกับปรากฎการณ์ในพื้นที่ (เช่น บาง model อาจจะไม่ได้ถูกประเมินในพื้นที่) บูรณาการจากพื้นที่และชุดความรู้ที่มีอยู่
2. ออกแบบให้เหมาะกับพื้นที่ จากนั้นทดลองขยายผลในพื้นที่
3. ประเมินผล (เช่น พืชร่วมยางในพท. เป็นอย่างไร ดีหรือไม่ดีอย่างไร) ซึ่งจะต้องได้ข้อเสนอเชิงนโยบายออกมา (ทีมประเมินผล)
4. พัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย (ทีมประเมินผล)
5. ทำให้หน่วยงานทั้งส่วนกลาง/พื้นที่ มีนโยบาย/มาตรการ (ทีมสื่อ) ซึ่งต้องมีเจ้าของหลักของแต่ลประเด็นร่วมด้วย
6. ขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ (ทีมสื่อ)
การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ
1. ระดับ policy maker: ค้นหาภาคีหลัก ภาคียุทธศาสตร์
ทำให้รับรู้: สถานการณ์ ข้อเสนอเชิงนโยบายเป็นทางเลือก (มาจากการทดลอง/ปฏิบัติการ) นโยบาย แผน โครงการ คาดการณ์ผลที่จะเกิด แก้ปัญหา/พัฒนา
2. ระดับปฏิบัติการ
2.1) การสร้างการยอมรับ - เหตุผล
- ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จ
- วิธีการที่จะนำนโยบายไปปฏิบัติ
- กลไกสนับสนุน
- ช่องทางนโยบาย Top down/bottom up
2.2) การแปลงนโยบายไปสู่แผน โครงการ กิจกรรม
- หน่วยงาน เครือข่าย ผู้รับผิดชอบ
- ผู้ได้รับผลกระทบ/ผลประโยชน์
- พื้นที่ปฏิบัติการ
- แหล่งงบประมาณ
ประชุมสื่อและทีมประเมิน วันที่ 15 ธันวาคม 2563
ปัญหาของการสื่อสารที่ผ่านมา 3 เรื่อง คือ การสื่อสารเกินจริง การสื่อสารที่คลาดเคลื่อน การละเมิดสิทธิ์ในการสื่อสารทุกช่องทาง (ทุก platform) และการสื่อสารเนื้อหาที่ไม่ครบถ้วน ทั้งในสื่อกระแสหลัก สื่อโซเชียล หรือสื่อบุคคล เมื่อเกิดการสื่อสารไปยังสาธารณะแล้วจะเกิดผลเสีย ทำให้เกิดความเข้าใจผิด การแบ่งพรรคแบ่งพวก และการแตกแยกสามัคคี ยกตัวอย่าง เช่น การสื่อสารในช่วงสถานการณ์โควิด ที่เกิด Fake new อย่างมากมาย ผู้รับสารเกิดความวิตกกังวล ไม่สบายใจ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีจริยธรรมสื่อเป็นตัวกำหนดเพื่อลดปัญหาที่เกิดขึ้น
ความคาดหวังของเครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ในเฟส 3 จึงจะต้องยกระดับในการทำงานในเชิงประจักษ์และเห็นรูปแบบในการทำงานภายใต้กรอบจริยธรรมการสื่อสารเพื่อสุขภาพ ยกระดับการสื่อสารของทีมสื่อร่วมกับทีมขับเคลื่อนประเด็น ให้เห็นเรื่องของการสื่อสารทางด้านสุขภาพ โดยใช้นโยบายสาธารณะในการขับเคลื่อนสังคม
โจทย์ของเครือข่ายสื่อสร้างสุข คือ การสื่อสารภายใต้ประเด็นนโยบายสาธารณะทั้ง 4 ประเด็น ที่ขับเคลื่อนในภาคใต้ ออกแบบ platform ต่างๆ ภายใต้สถานการณ์ ในเรื่องของการแก้ปัญหา Fake new ที่เกิดขึ้น ซึ่งเน้นในเรื่องการสื่อสารทางด้านสุขภาพ
แผน/การปรับตัวของเครือข่ายสื่อ คือ การใช้การสื่อสารตามสถานการณ์ ซึ่งจะต้องค้นหาข้อมูล ข้อเท็จจริง เพื่อลดปัญหา Fake new ปรับตัวโดยแบ่งการทำงานเป็น 3 Zone 4 กลุ่มทำงาน เช่น อันดามันทำงานร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา ในเรื่องของการสื่อสาร ลด Fake new จากสถานการณ์โควิด และทำงานอย่างต่อเนื่องกับประเด็นที่จะขับเคลื่อนทั้ง 4 ประเด็น การท่องเที่ยว (พี่หมุยและพี่โจ้) ทำทั้งสื่อและประเด็น ใต้ล่าง (ตั้ม) ทำในประเด็นของภัยพิบัติ ความมั่นคงทางอาหาร และความมั่นคงทางสุขภาพ และทีมกลาง (พี่อานนท์) ให้การสนับสนุนประเด็นของการจัดเวทีสาธารณะ สมัชชาออนไลน์ และ plate form ที่ทำงานร่วมกัน พร้อมทั้งมีการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสื่อ ในเรื่องของการสื่อสาร ลดปัญหา Fake new และเน้นการสื่อสารนโยบายสาธารณะ
ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นจากที่ประชุม
1. แพททีวี ในส่วนของจังหวัดพังงา ได้ปรับวิธีการทำงานจาก announcer อย่างเดียว เป็น How-to ปรับวิธีการทำงานเป็นขั้นตอนและหาข้อมูลมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น การเข้าไปทำรายการให้กับชาวบ้านที่ทำเกษตรวิถีใหม่ ในสวนปาล์ม สู่สถานที่ท่องเที่ยว ได้ทำการหาข้อมูลและร่วมหาวิธีการทำงานร่วมกันในการนำเสนอ ทำให้ผู้รับสารสามารถนำไปปรับใช้ได้จริง ในส่วนของงานที่ได้ทำไปแล้ว ในส่วนของ live สดค่อนข้างใช้เวลาต้องพยายามกระชับให้เหลือเวลา 20-30 นาทีต่อ live และตัดช่วง Highlights มา re-run และนำเสนอใน platform อื่นด้วย
2. ทดลองใช้เวทีสมัชชาออนไลน์ event ของเขต 11 ได้มีการพูดคุยทั้ง 3 รูปแบบ ทั้งออนแอร์ ออนไลน์ และออนกราวน์ โดยใช้ประเด็นทางนโยบายที่ขับเคลื่อนทั้ง 4 ประเด็น ความสำเร็จที่เกิดขึ้น คือ คนที่อยู่ในระบบได้รู้ว่าใครทำอะไร ที่ไหน อย่างไร ผลที่เกิดขึ้นมีอะไรบ้าง และส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในระดับนโยบายอย่างไร โดยเชิญภาคีในพื้นที่ ภาคียุทธศาสตร์ ผู้ที่รับผิดชอบแต่ละประเด็น ได้ร่วมพูดคุยและเห็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เช่น การขยายผลการจัดการขยะที่เกาะยาวผ่านสื่อจากภายในเกาะสู่นอกเกาะ ซึ่งอาจมีข้อจำกัดเรื่องของระบบเทคโนโลยี (อินเตอร์เน็ตและอุปกรณ์)
3. เครือข่ายสื่อชุมพร สื่อชุมพรทำงานคู่ขนานกับเครือข่ายตามประเด็นอาหารปลอดภัยมาอย่างต่อเนื่อง ให้ข้อเสนอว่า การทำสื่อเพื่อดึงดูดเนื้อหานอกจากเสียงชัด ภาพสวย จะต้องมีผู้ดำเนินรายการที่กระชับเนื้อหาเข้าประเด็นเป็นตัวดึงดูดที่สำคัญเช่นกัน จึงร่วมกันปรึกษากับทีมกลางในการพัฒนายูทูป (กระชับเนื้อหาและความคมชัดเป็น 4K) ควบคู่กับ Facebook เพื่อเพิ่มช่องทาง ทางสื่อชุมพรจึงปรับตัวโดยทำสื่อคู่ขนาดคลิป วิดีโอ ถ่ายทอดสด ควบคู่ยูทูปและ Facebook
4. 1 platform ที่กำลังปรับใน Phase 3 คือ จะมีนักเขียนมืออาชีพเข้ามาเขียนงานร่วมด้วย เขียนในประเด็นสังคมและสุขภาพ ในส่วนของภาคใต้ใช้ทิพโฟกัสเน้นรูปแบบออนไลน์ ของ (ตั้ม) ประเด็นออนไลน์ใน content “รู้เรื่องเพื่อน”
5. การเพิ่มช่องทางการสื่อสารในประเด็นต่างๆ อาจจะมีช่องทางเพิ่ม 1 ช่องทาง คือ podcast เป็นรายการเฉพาะของทีมสื่อสารประเด็น
แนวความคิด/กรอบแนวคิด อ.พงค์เทพ
สถานการณ์สื่อหลัง covid-19
1) คนไทยใช้สื่อมากขึ้น -->shop ท่องเที่ยว การช่วยเหลือของรัฐ --> ผลประโยชน์
2) เสนอข้อมูลข่าวสารมากขึ้น --> ตรงกับความต้องการ
3) Platform ใหม่ๆ /สื่อมวลชนหน้าใหม่/ Youtuber/ Blocker/ Influencer --> เข้าถึงง่าย/สะดวก/เทคโนโลยีไม่ซับซ้อน --> line และการกระจาย/เผยแพร่ข้อมูล --> แชร์ (ประเด็นนี้สำคัญ)
4) วัตถุประสงค์ คือ สื่อเพื่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อการขับเคลื่อนสังคม/การตลาด เพื่อการขายของ
5) Fake news เพราะต้องการให้คนเชื่อและเกิดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เกิดการให้ข้อมูลที่ไม่ครบถัวน/การเอารัดเอาเปรียบ
6) ความต้องการสื่อของผู้บริโภค: Content/ ความรวดเร็ว/ได้ประโยชน์/ความแม่นยำ/ความเป็นส่วนตัว (จริยธรรมสื่อ/ความรับผิดชอบ จะตามมา ไม่กระทบสิทธิต่อผู้อื่นและมีความเป็นส่วนตัวของข้อมูล)
จากกระบวนการนโยบาย ประเด็นของ Stakeholder Analysis จะต้องวิเคราะห์ให้ได้ว่าใครเป็นคนที่เราจะสื่อสาร ความต้องการของกลุ่มคนเหล่านั้นมีอะไรบ้าง และในขณะเดียวกันก็จะต้องทำให้เกิดการขับเคลื่อนสังคม/การเปลี่ยนแปลง เช่น สื่อเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางความมั่นคงทางอาหาร ทางทรัพยากร ทางสุขภาพ และความมั่นคงทางมนุษย์ จะสื่อสารอะไรบ้าง (content ที่จะสื่อสารและตรงกับความต้องการ) และเมื่อสื่อสารแล้วผู้รับสารใช้ประโยชน์ได้หรือไม่/พัฒนางาน/แก้ปัญหาได้หรือไม่ และทำอย่างไรให้สื่อของเครือข่ายสุขภาพภาคใต้เข้าถึงได้ง่าย สะดวก และกระจายได้เยอะ
ยุทธศาสตร์สื่อ
ต้นน้ำ: 1. พัฒนาศักยภาพคนทำงานเพื่อการเท่าทันสถานการณ์ (การจัดการความรู้)
2. จัดระบบข้อมูลประเด็นนโยบาย
3. Mapping เครือข่าย
4. Matching ประเด็นร่วม
กลางน้ำ:1. พัฒนารูปแบบ/ออกแบบเนื้อหา ร่วมกับทีมประเด็น ทีมขับเคลื่อนแต่ละประเด็น และทีม
วิชาการ
2. สร้างปฏิบัติการสื่อสารกับทุกช่องทาง เช่น
- สมัชชา online กับ 4 ประเด็น* ที่มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
- ผลิตคลิป
- งานเขียนทั้ง online offline
- One page (Keyword)
- สื่อสารเพื่อการรับรู้ Live วิทยุ ตามกิจกรรมสำคัญ
*ทุกประเด็นจะต้องดำเนินการ 6 ขั้นตอน ทีมสื่อจะสนับสนุนด้านการสื่อสารและร่วมออกแบบเนื้อหา ออกแบบการสื่อสาร ใช้ช่องทาง ทีมประเมินจะต้องประเมินตลอดระยะเวลาดำเนินการ
ปลายน้ำ: 1. สื่อสารเพื่อการติดตามผลการดำเนินการตามนโยบาย (ถอดบทเรียนร่วมกัน)
2. ชุดความรู้
ผลลัพธ์/ผลกระทบ
1) เกิดคนทำสื่อด้านสุขภาพจากการขยายเครือข่าย
2) ประเด็นทางนโยบายมีการเสนอต่อ CEO โดยเครือข่ายสื่อสร้างสุข
3) ความเชื่อมั่นต่อสาธารณะ
4) แนวปฏิบัติทางจริยธรรมสื่อเพื่อสุขภาวะเป็นที่รู้จักและถูกนำไปใช้ในการกำกับกันเอง
5) เกิดรูปแบบการสื่อสารแนวใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีและการใช้แอปพลิเคชั่นในการสื่อสารกันเองและสาธารณะ เช่น การใช้ระบบ zoom และเชื่อมต่อไปยัง platform อื่นๆ ในเวลาเดียวกัน
แผนงาน
ประเด็นนโยบาย ทีมสื่อที่รับผิดชอบ/รูปแบบการสื่อสารและการผลิต
ใต้บน ใต้กลาง ใต้อันดามัน ใต้ล่าง
ความมั่นคงทางอาหาร
- พืชร่วมยาง
- ความมั่นคงทางอาหาร ศาสนะ กลับดี และทีมกลาง (จ.ชุมพร สุราษฎร์ และระนอง)
คลิป, หนังสือพิมพ์, เวทีสมัชชา
รูปแบบ on-air online on-ground อานนท์ มีศรี
(จ.นครศรีธรรมราช)
คลิป, หนังสือพิมพ์, เวทีสมัชชา
รูปแบบ on-air online on-ground นิพนธ์ รัตนาคม และทีมกลาง (จ.นราธิวาส)
ความมั่นคงทางสิ่งแวดล้อม
- ท่องเที่ยวชุมชน
- ภัยพิบัติ ธรรมดิวิชย์ ศรีรุ้ง (ท่องเที่ยว)
คลิป, หนังสือพิมพ์, เวทีสมัชชา
รูปแบบ on-air online on-ground
ทวีศักดิ์ ปิยะวิสุทธิกุล (ภัยพิบัติ)
คลิป 6 ชิ้น 6 พื้นที่ เวทีสมัชชา
รูปแบบ on-air online on-ground
ความมั่นคงทางสุขภาพ อานนท์ มีศรี
นิพนธ์ รัตนาคม และทีมกลาง
ความมั่นคงของมนุษย์ อานนท์ มีศรี
()
ประชุมปรึกษาหารือการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายกรมพัฒนาที่ดิน
ประชุมปรึกษาหารือการดำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายกรมพัฒนาที่ดิน
()
ประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการศวสน.
ประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการศวสน.
()
ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศทางโครงการ ครั้งที่2/2563
ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศทางโครงการ ครั้งที่2/2563
()
ประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทำแผนการดำเนินงานพัฒนากลไกเขตสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
ประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทำแผนการดำเนินงานพัฒนากลไกเขตสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
()
โครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ งวดที่2
โครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ งวดที่2
()
การประชุมนำเสนอผลการประเมินผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชน
การประชุมนำเสนอผลการประเมินผลกระทบการท่องเที่ยวโดยชุมชน
()
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ การบริหารและการเงินโครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ประจำเดือนกันยายน
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ การบริหารและการเงินโครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ประจำเดือนกันยายน
()
ติดตามการดำเนินงานและตรวจเอกสารการเงินประเด็นการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน
ติดตามการดำเนินงานและตรวจเอกสารการเงินประเด็นการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน
()
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ การบริหารและการเงินโครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ประจำเดือนสิงหาคม-กันยายน
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ การบริหารและการเงินโครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ประจำเดือนสิงหาคม-กันยายน
()
ติดตามการดำเนินงานและตรวจเอกสารการเงินประเด็นสื่อสาธารณะ
ติดตามการดำเนินงานและตรวจเอกสารการเงินประเด็นสื่อสาธารณะ
()
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ การบริหารและการเงินโครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ประจำเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ การบริหารและการเงินโครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ประจำเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
()
ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานขับเคลื่อนเชิงประเด็นและเชิงพื้นที่ จังหวัดชุมพร ระนอง และจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานขับเคลื่อนเชิงประเด็นและเชิงพื้นที่ จังหวัดชุมพร ระนอง และจังหวัดสุราษฎร์ธานี
()
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ ดูแลและปรับปรุงระบบติดตามเว็บไซต์ งวดที่2
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ ดูแลและปรับปรุงระบบติดตามเว็บไซต์ งวดที่2
()
ประชุมติดตามการดำเนินงานความมั่นคงทางอาหารและกลไกระบบสุขภาพ
ประชุมติดตามการดำเนินงานความมั่นคงทางอาหารและกลไกระบบสุขภาพ
()
ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศทางโครงการศูนย์วิชาการการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศทางโครงการศูนย์วิชาการการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
()
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ การบริหารและการเงินโครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ประจำเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ การบริหารและการเงินโครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ประจำเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม
()
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ ดูแลและปรับปรุงระบบติดตามเว็บไซต์ งวดที่1
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ ดูแลและปรับปรุงระบบติดตามเว็บไซต์ งวดที่1
()
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ งวดที่1
สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการ ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ งวดที่1
()
ประชุมติดตามการดำเนินงานประเด็นสื่อสาธารณะ
ประชุมติดตามการดำเนินงานประเด็นสื่อสาธารณะ
()
ประชุมขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบาย ประเด็นการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ประชุมขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบาย ประเด็นการท่องเที่ยวโดยชุมชน
()
ศูนย์วิชาการนโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ งวดที่3
ศูนย์วิชาการนโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ งวดที่3
()
ประชุมติดตามการดำเนินโครงการ ศวสน.
ประชุมติดตามการดำเนินโครงการ ศวสน.
()
ประชุมเชิงปฎิบัติการการประยุกต์ใช้ HIA
-
()
ปรึกษาหารือกิจกรรมตามแผนงานการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน โซนอันดามัน
กิจกรรมแผนงานการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน โซนอันดามัน
()
- ศึกษาสถานการณ์การจัดการภัยพิบัติในจังหวัดนราธิวาส
- วางแผนการดำเนินกิจกรรมการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน ในจังหวัดนราธิวาส
รายชื่อคณะทำงาน และกิจกรรม แผนงานการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน จังหวัดนราธิวาส
()
ประชุมปรึกษาหารือวางแผนการดำเนินกิจกรรมภายใต้โครงการศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
-
()
ปรึกษาหารือ วางแผนการดำเนินกิจกรรม แผนงานการจัดบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม
กิจกรรม แผนงานการจัดบริการสุขภาพ พหุวัฒนธรรม
()
ประชุมติดตามการดำเนินงานโครงการ ศวสน.
ประชุมติดตามการดำเนินงานโครงการ ศวสน.
()
ประชุมติดตามการดำเนินงานโครงการ ศวสน. ระหว่าง15-18 มิ.ย.
ประชุมติดตามการดำเนินงานโครงการ ศวสน. ระหว่าง15-18 มิ.ย.
()
ปรึกษา หารือ ร่วมกับนักวิชาการด้านการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่
สถานการณ์การจัดการภัยพิบัติในพื้นที่
()
วางแผนการดำเนินกิจกรรมโครงการ 9 แผนงาน
กิจกรรม แผนงาน ในโครงการ
()
ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานระบบอาหารจังหวัดระนองและจังหวัดชุมพร
ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานระบบอาหารจังหวัดระนองและจังหวัดชุมพร
()
ประชุมเตรียมเวที่จัดทำแผนปฏิบัติการและโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนโซนอันดามัน
ประชุมเตรียมเวที่จัดทำแผนปฏิบัติการและโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนโซนอันดามัน
()
ประชุมนำเสนอแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนกลุ่มอันดามัน
ประชุมนำเสนอแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนกลุ่มอันดามัน
()