สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

task_alt

โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

ชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 60-ข-085 เลขที่ข้อตกลง 60-ข-085

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 มีนาคม 2562

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน ธันวาคม 2560 ถึงเดือน มิถุนายน 2561

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมแกนประสานงานครั้งที่ 1

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 13.00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  • เพื่อบูรณาการแนวทางการทำงานระบบสุขภาพในจังหวัดนครศรีธรรมราช
  • เพื่อกำหนดแนวทางปฏิบัติการร่วมกันแบบบูรณาการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.รายงานความก้าวหน้าโครงการ ทุก 6 เดือน 1.รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. การเชื่อมระบบสุขภาพทั้ง 3 ระบบในจังหวัดนครศรีธรรมราช คือ สช. พชอ.เมือง กองทุนฯ
  2. แกนประสานทั้ง 3 ระบบสุขภาพเกิดความคุ้นเคยกัน
  3. แผนปฏิบัติงานร่วมจากทั้ง 3 ระบบ โดยแบ่งตามแนวทางของแต่ละระบบสุขภาพคือ
    • คณะทำงานสมัชชาสุขภาพ จ.นครศรีฯ เป็นฝ่ายอำนวยการ (Monitor) มีการสนับสนุนเชิงนโยบายสาธารณะระดับจังหวัด ส่งเสริมให้หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องมีกระบวนการทำงานเพื่อสนับสนุนกระบวนการทำงานของระบบสุขภาพชุมชนระดับอำเภอ ตำบล โดยจะมีการประชุมติดตาม สรุปความคืบหน้า ทุกๆ 3 เดือน
    • คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีฯ (พชอ.) (Supporter) มีการอำนวยการให้ระบบสุขภาพระดับอำเภอมีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนเชิงโครงสร้าง คำสั่งแต่งตั้ง บริการข้อมูลด้านสุขภาพ สร้างแผนปฏิบัติการ ควบคุม ประเมิน ติดตาม สรุปผลการดำเนิน พัฒนารูปแบบการทำงาน โดยจะมีการประชุมติดตาม สรุปความคบหน้า ทุกๆ 3 เดือน และมีการพัฒนาศักยภาพ 2 ครั้ง
    • กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล (Actor) มีการปฏิบัติการและสนับสนุนให้เกิดการใช้งบประมาณให้หน่วยงานในพื้นที่ ทั้งหน่วยงาน ท้องที่ ท้องถิ่นองค์กรชุมชน ได้ดำเนินงานด้านการลดปัจจัยเสี่ยงในระดับตำบล และพัฒนาเป็นกติกาหรือข้อตกลงในระดับตำบล โดยจะมีการพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ 2 ครั้ง และทีมประสานจะมีการลงพื้นที่เพื่อเสริมพลังตลอดโครงการ
    • หน่วยงานหรือองค์กรภาคประชาสังคมที่ดำเนินงานด้านสุขภาพ มีการทำงานด้านการสร้างการรู้เท่าทัน ทำงานแบบเกาะติด จัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อสร้างความตระหนัก ส่งเสริมและสร้างแรงบันดาลใจให้เกิดการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ รวมทั้งการเฝ้าระวัง/กระตุ้นกลไกการบังคับใช้กฎหมาย
  4. Action Plan ระยะ 3 เดือน คือ
    • เข้าพบนายแพทย์สาธารณสุข นครศรีฯ 1 ครั้ง
    • พัฒนาศักยภาพกองทุนฯ 1 ครั้ง
    • ประสานนายอำเภอเมืองเพื่อบรรจุประเด็นปัจจัยเสี่ยงใน พชอ.เมืองนครศรีฯ
    • ร่างคำสั่งแต่งตั้งอนุกรรมการรับผิดชอบประเด็น
    • ประชุมอนุกรรมการ
  5. กำหนดพื้นที่ปฏิบัติการณ์ (Unit) และผู้เกี่ยวข้อง โดยกำหนดพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลที่มีโรงเรียนประถมและมัธยมศึกษา ตั้งอยู่ เป็นพื้นที่ปฏิบัติการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของสมัชชาสุขภาพจังหวัดนครศรีธรรมราชและคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีฯ
  • กำหนดแผนปฏิบัติงานร่วมจากทั้ง 3 ระบบ
  • Action Plan ระยะ 3 เดือน
  • กำหนดพื้นที่ปฏิบัติการณ์ (Unit) และผู้เกี่ยวข้อง

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ทำสรุปข้อมูล ผลลัพธ์ ต้นทุน ที่เกิดขึ้นแล้ว
  2. ประสานงานกลุ่มเป้าหมาย
  3. ดำเนินการประชุม
  4. สรุปผลการประชุม
  5. จัดทำแผนปฏิบัติการ 3 เดือน

 

6 8

2. พบปะสร้างความเข้าใจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ครั้งที่ 1/10

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 13.00-17.00 น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ และสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมารวมทั้งกลไกที่ขับเคลื่อน
  2. เพื่อกำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการทั้งระดับพื้นที่และนโยบายสาธารณะ
  3. เพื่อเสนอให้มีการสนับสนุนเชิงนโยบายด้านการปกป้องเด็กและเยาวชนจากเหล้า บุหร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. เกิดภาคีความร่วมมือ จาก 6 ภาคส่วน
  2. ภาคีมีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ
  3. คณะทำงานฯเกิดเป้าหมายร่วม มีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถมองปัญหาได้แบบองค์รวม
  4. คณะทำงานฯมียุทธศาสตร์ร่วมที่ชัดเจน เกิดการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด และมีแคมเปญในการรณรงค์
  5. เกิดพื้นที่กลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกิดภาคีความร่วมมือกับ สสจ.

  • สสจ.นครศรีธรรมราช มีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ และร่วมกำหนดยุทธ์ศาสตร์การดำเนินงานแบบเชิงรุกสู่ระบบสุขภาพ ในโรงเรียนมัธยม
  • สสจ.นครศรีธรรมราช เป็นหน่วยงานหลักในการผลักดันให้ประเด็น เหล้า ยาสูบ เป็นนโยบายระดับเขต
  • สสจ.นครศรีธรรมราช รับเป็นเจ้าภาพในการบูรณาการกลไกการทำงานและแผนปฏิบัติการโครงการที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • นำเสนอสถานการณ์ด้านปัจจัยเสี่ยง
  • หารือแนวทางการขับเคลื่อนนโยบายระดับจังหวัด
  • กำหนดแผนงาน กลไกการขับเคลื่อนประเด็นปัจจัยเสี่ยง

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ประสานงานผู้เข้าร่วม
  2. จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงานของเครือข่าย/ระบบสุขภาพที่ผ่านมา และรายละเอียดโครงการ
  3. เข้าพบปะ
  4. สรุปงาน

 

6 6

3. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสุขภาพในพื้นที่ครั้งที่ 1

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00-21.00 น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. เยาวชนได้เสนอเครื่องมือและผลการดำเนินงานขององค์กรตัวเองที่ใช้สื่อสารตลอด 1 ปี ที่ผ่านมา
  2. เยาวชนแลกเปลี่ยนและนำเสนอ ปัญหาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อเยาวชน จ.นครศรีธรรมราช รวมถึงทางออกในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
  3. สร้างการมีส่วนร่วม และ สร้างข้อเสนอต่อนโยบ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. เกิดภาคีความร่วมมือ จาก 6 ภาคส่วน
  2. ภาคีมีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ
  3. คณะทำงานฯเกิดเป้าหมายร่วม มีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถมองปัญหาได้แบบองค์รวม
  4. คณะทำงานฯมียุทธศาสตร์ร่วมที่ชัดเจน เกิดการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด และมีแคมเปญในการรณรงค์
  5. เกิดพื้นที่กลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • เกิดเครือข่ายเยาวชนด้านการลดปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
  • เครือข่ายเยาวชนเกิดการเรียนรู้เรื่องสถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่
  • เกิดข้อเสนอต่อเครือข่ายเด็ก เรื่องให้เครือข่ายเยาชนได้มีภารกิจในการสร้างการเรียนรู้สร้างภูมิคุ้มกัน ให้กับเยาวชนในพื้นที่
  • เกิดการแบ่งกลุ่มเครือข่ายออกเป็น 4 กลุ่ม คือ
  1. เครือข่ายเด็กชายขอบ(เสี่ยง)
  2. เครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสุข
  3. เครือข่ายกลุ่มเด็กมัธยมในจังหวัดนครศรีฯ
  4. เครือข่ายกลุ่มเยาวชนด้านนโยบาย แต่มีเป้าหมายเดียวกันคือ เปลี่ยนเสี่ยงเป็นสร้างสรรค์
  • เกิดการเชื่อมกลไกการขับเคลื่อนด้านการลดปัจจัยเสี่ยง2 ขบวน คือ

    1. ขบวนระบบสุขภาพระดับอำเภอหรือคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช
    2. ขบวนเครือข่ายเยาวชนลดปัจจัยเสี่ยง นครศรีธรรมราช
  • เกิดข้อเสนอต่อฝ่ายนโยบายในพื้นที่ คือ

  1. ขอให้ทางจังหวัดนครศรีธรรมราชมีการประกาศนโยบายการปกป้องคุ้มครองเด็กจากปัจจัยเสี่ยง เป็นวาระหลักของจังหวัด
  2. ขอให้มีการบูรณาการการทำงานของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเยาวชนด้านปัจจัยเสี่ยง เพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
  3. ขอให้หน่วยงานด้านการบังคับใช้กฎหมายมีมาตรการและการดำเนินการที่เข้มข้นและเอาจริงเอาจัง
  4. ขอให้สถานศึกษาทุกแห่งได้มีการจัดการศึกษาด้านการรู้เท่าทันและสร้างภูมิคุ้มกันต่อปัจจัยเสี่ยงทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เพื่อป้องกันการเกิดนักดื่ม นักสูบหน้าใหม่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • กิจกรรมการแสดงบนเวที
  • ลานเสวนาปัญหาและทางออกปัญหาเยาวชนเมืองคอน
  • ลานกิจกรรมชวนเล่นสนุกสนานและมีสาระ
  • รับฟังความเห็นข้อเสนอต่อนโยบายสาธารณะ

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ประชุมทีมงานหลักเพื่ออกแบบงาน กำหนดกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วม
  2. การประสานกลุ่มเป้าหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. ประชุมเตรียมทีมงานร่วมเพื่อแบ่งบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ
  4. ประชาสัมพันธ์ก่อนงาน
  5. จัดเตรียมสถานที่ / ซักซ้อมก่อนวันงาน
  6. จัดงานแบบมีส่วนร่วมภายใต้ แนวคิด จากเสี่ยงเป็นสร้างสรรค์ที่สนุกและมีสาระ
  7. สรุปงาน

 

100 111

4. ประชุมแกนประสานระบบสุขภาพจังหวัดนครศรีธรรมราช ครั้งที่ 2 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพครั้งที่ 2/10

วันที่ 6 เมษายน 2561 เวลา 13.00-17.00 น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ และสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมารวมทั้งกลไกที่ขับเคลื่อน
  2. เพื่อกำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการทั้งระดับพื้นที่และนโยบายสาธารณะ
  3. เพื่อเสนอให้มีการสนับสนุนเชิงนโยบายด้านการปกป้องเด็กและเยาวชนจากเหล้า บุหร

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. เกิดภาคีความร่วมมือ จาก 6 ภาคส่วน
  2. ภาคีมีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ
  3. คณะทำงานฯเกิดเป้าหมายร่วม มีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถมองปัญหาได้แบบองค์รวม
  4. คณะทำงานฯมียุทธศาสตร์ร่วมที่ชัดเจน เกิดการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด และมีแคมเปญในการรณรงค์
  5. เกิดพื้นที่กลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • เกิดภาคีความร่วมมือกับ สพม.12
  • สพม.12 มีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ และร่วมกำหนดยุทธ์ศาสตร์การดำเนินงานแบบเชิงรุกสู่ระบบสุขภาพ ในโรงเรียนมัธยม
  • สพม.12เป็นหน่วยงานหลักในการผลักดันให้ประเด็น เหล้า ยาสูบ เป็นนโยบายระดับเขต
  • สพม.12รับเป็นเจ้าภาพในการบูรณาการกลไกการทำงานและแผนปฏิบัติการโครงการที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ
  2. เพื่อกำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

เข้าพบปะกับ นายสุวิจักร สายช่วย นักวิชาการชำนาญการ

 

1 11

5. ประชุมแกนประสานระบบสุขภาพจังหวัดนครศรีธรรมราช

วันที่ 15 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนของอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จังหวัดนครศรีธรรมราช
  2. เพื่อกำหนดแนวทางการเสริมศักยภาพอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จังหวัดนครศรีธรรมราช
  3. เพื่อกำหนดบทบาทของอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.รายงานความก้าวหน้าโครงการ ทุก 6 เดือน 1.รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกิดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน 6 ด้าน คือ

  1. ยุทธศาสตร์ด้านการบังคับใช้กฎหมาย
  2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทัน ในสถานศึกษา
  3. ยุทธศาสตร์ด้านการจัดสภาพแวดล้อมรอบสถานศึกษา
  4. ยุทธศาสตร์ด้านการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น/กองทุน
  5. ยุทธศาสตร์ด้านควบคุมจุดจำหน่าย
  6. ยุทธศาสตร์ด้านสื่อสร้างสรรค์
  • แนวทางการทำข้อมูลด้านสถานการณ์ปัญหาด้านเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ ในกลุ่มอายุระหว่าง 12-16 ปี โดยเน้นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ และในชุมชน พื้นที่อำเภอเมือง
  • การกำหนดบทบาทหน้าที่แต่ละภาคส่วน ดังนี้
    • ด้านการบังคับใช้กฎหมาย โดย ตำรวจภูธรจังหวัด สสจ.
    • ด้านการสร้างภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทัน ในสถานศึกษาโดย สพม.12
    • ด้านการจัดสภาพแวดล้อมรอบสถานศึกษา โดย สคล.ใต้บน ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง และภาคประชาสังคม
    • ด้านการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น/กองทุน โดย ท้องถิ่น/ปกครองจังหวัด สปสช. เขต 11 อบจ.
    • ควบคุมจุดจำหน่าย โดยสรรพสามิต
    • ด้านสื่อสร้างสรรค์ โดย สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. เพื่อติดตาม ประเมินผล สรุปการปฏิบัติงานและสรุปบทเรียน
  2. เพื่อประสานงานเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยเน้นที่กลุ่มเยาวชน อายุระหว่าง 12-16 ปี
  • กำหนดเนื้อหาเพื่อสร้างความเข้าใจและสามารถกำหนดเป้าหมายได้
  • การแบ่งบทบาทของอนุกรรมการฯแต่ละชุด

 

7 7

6. พบปะสร้างความเข้าใจ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพครั้งที่ 3/10

วันที่ 18 มิถุนายน 2561 เวลา 13.00-16.00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. เพื่อกำหนดรายชื่อคณะอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จังหวัดนครศรีธรรมราช
  2. เพื่อกำหนดรายละเอียดการเชิญประชุมคณะอนุกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จังหวัดนครศรีธรรมราช

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. เกิดภาคีความร่วมมือ จาก 6 ภาคส่วน
  2. ภาคีมีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ
  3. คณะทำงานฯเกิดเป้าหมายร่วม มีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถมองปัญหาได้แบบองค์รวม
  4. คณะทำงานฯมียุทธศาสตร์ร่วมที่ชัดเจน เกิดการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด และมีแคมเปญในการรณรงค์
  5. เกิดพื้นที่กลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกิดรายชื่ออนุกรรมการ จาก 3 ภาคส่วนคือ

  1. ส่วนราชการ
    • ป้องกัน/ท้องถิ่นจังหวัด
    • สคร. 11
    • สพม. 12
    • สรรพสามิต
    • ตำรวจภูธรจังหวัด
    • สสอ.ฉวาง
    • อบจ.นครศรีฯ
  2. ส่วนประชาสังคม
    • นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานโครงการ
    • นายกัณตนัช รัตนวิก สำนักงานเครือข่ายองค์กรงดเหล้า ภาคใต้ตอนบน
    • นายวรวุฒิ ประสานพจน์ ศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง จ.นครศรีฯ
    • ประธาน อสม. จ.นครศรีฯ
    • นางสาววาณี พงษ์ยี่หล่า มูลนิธิเพื่อนเยาวชนพอเพียง
    • ผอ.รร.ปริยัตรติธรรม วัดสระเรียง
    • เครือข่ายเยาวชน จ.นครศรีฯ
  3. ส่วนวิชาการ/สื่อ/เอกชน/ท้องถิ่น
    • ผู้แทนหอการค้า จ.นครศรีฯ
    • นางอรอุมา เรียบร้อย สื่อมวลชน
    • นายอานนท์ มีศรี สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีฯ
    • นายยงยุทธ์ นาทะชัย ปลัด อบต.ไชยมนตรี
    • นายนายสุรศักดิ์ วงษ์อำไพวรรณ ปลัดเทศบาลนาเหรง
    • ดร.พวงรัตน์ จินพล วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้

ที่ปรึกษา

  • ว่าที่ ร.ต.สุภาพร ปราบปราย สภาองค์กรชุมชน จ.นครศรีฯ
  • ดร.ดำรงค์ โยธารักษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้
  • นายทวี สร้อยศิริสุนทร สถาบันพัฒนาประชาสังคม
  • ผู้แทน รพ.สต. 2 ท่าน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินโครงการ
  2. เพื่อกำหนดบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินโครงการ
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานฯ ด้านอุดมคติ การคิดเชิงระบบ การใคร่ครวญอย่างลึกซึ้ง
  4. เพื่อยกระดับการทำงานเชิงยุทธศาสตร์ วิเคราะห์หาจุดคานงัด การสร้างเคมแปญ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. นัดหมาย
  2. ศึกษาเอกสารประกอบการประชุมและสรุปการประชุม
  3. เข้าพบปะ
  4. สรุปงาน

 

1 1

7. ค่าจ้างประสานงาน ค่าวัสดุอุปกรณ์ และจัดทำข้อมูล รายงาน งวดที่ 1

วันที่ 30 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อประสานงานเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.รายงานความก้าวหน้าโครงการ ทุก 6 เดือน 1.รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. เพื่อติดตาม ประเมินผล สรุปการปฏิบัติงานและสรุปบทเรียน
  2. เพื่อประสานงานเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. โทรศัพท์
  2. สื่อสารออนไลน์
  3. เดินทางประสาน

 

2 2

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 26 7                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 200,000.00 44,119.00                  
คุณภาพกิจกรรม 28 26                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. สำรวจข้อมูลสถานการณ์ด้านปัจจัยเสี่ยงในระดับกองทุนตำบล ( 18 ส.ค. 2561 )
  2. ประชุมคณะทำงาน ( 22 ส.ค. 2561 )
  3. ค่าประสานงานประจำเดือนกันยายน2561 ( 1 ก.ย. 2561 )
  4. พบปะประชุมสรุปงานวิจัยเด็กมัธยมต้น ในเขตอำเภอเมืองนครศรีฯ ( 1 ต.ค. 2561 - 25 ต.ค. 2561 )
  5. ค่าประสานงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2561 ( 1 พ.ย. 2561 )
  6. ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าเรือ ( 7 พ.ย. 2561 )
  7. ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเคียน ( 20 พ.ย. 2561 )
  8. ค่าประสานงานประจำเดือนธันวาคม 2561 ( 1 ธ.ค. 2561 )
  9. ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากนคร ( 7 ธ.ค. 2561 )
  10. ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลปากพูน ( 20 ธ.ค. 2561 )
  11. ค่าประสานงานประจำเดือนมกราคม2562 ( 1 ม.ค. 2562 )
  12. ค่าประสานงานประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2562 ( 1 ก.พ. 2562 )
  13. ลงพื้นที่ประสานงานกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลท่าแพ ( 12 ก.พ. 2562 )
  14. ประชุมคณะทำงานโครงการ ( 22 ก.พ. 2562 )
  15. ค่าประสานงานประจำเดือนมีนาคม 2562 ( 1 มี.ค. 2562 )
  16. ประชุมรายงานผลการดำเนินโครงการ ร่วมกับ สจรส.มอ. ( 8 มี.ค. 2562 )
  17. ประชุมกำหนดแนวทางการลดปัจจัยเสี่ยงเพื่อป้องกันนักดื่มนักสูบหน้าใหม่ ( 27 มี.ค. 2562 )

(................................)
นายเจกะพันธ์พรหมมงคล
ผู้รับผิดชอบโครงการ