แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)
เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator) | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต (Output) | ผลลัพธ์ (Outcome) | ผลกระทบ (Impact) | อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ดำเนินงานด้านปัจจัยเสี่ยง ตัวชี้วัด : 1. เกิดภาคีความร่วมมือ จาก 6 ภาคส่วน 2. ภาคีมีความเข้าใจในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ 3. คณะทำงานฯเกิดเป้าหมายร่วม มีทักษะการคิดเชิงระบบ สามารถมองปัญหาได้แบบองค์รวม 4. คณะทำงานฯมียุทธศาสตร์ร่วมที่ชัดเจน เกิดการแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด และมีแคมเปญในการรณรงค์ 5. เกิดพื้นที่กลางในการพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
||||||
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพระบบสุขภาพในพื้นที่ให้มีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : 1. เกิดข้อมูลอย่างน้อย 5 ด้าน คือ - สถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพในอำเภอเมืองนครศรีฯ - ผลกระทบที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ - แนวโน้มความรุนแรง -กลไกหรือโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง - แนวทางแก้ไขและแผนปฏิบัติการโครงการ ของหน่วยงานและแผนปฏิบัติการร่วม 2. เรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพถูกบรรจุในวาระของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอเมืองนครศรีฯ 3. เกิดอนุกรรมการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพอำเภอเมืองนครศรี - ร้อยละ 80 ของจำนวนกองทุนฯมีความตระหนักในเรื่องปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ - ร้อยละ 20 ของจำนวนกองทุนฯ มีการขับเคลื่อนเรื่องการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ |
||||||
3 | เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในพื้นที่ ตัวชี้วัด : 1. เกิดข้อมูลด้านพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ คือ - จำนวนประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง - ผลกระทบจากการมีพฤติกรรมเสี่ยง - ทัศนคติ ความรู้ ของประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง - ชนิด ประเภท ความถี่ ของพฤติกรรมการทำให้เกิดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ - สาเหตุ ปัจจัย ที่ทำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ 2. เกิดงานวิชาการ 1 เล่ม 3. เกิดการนำเสนอต่อฝ่ายนโยบายของจังหวัดนครศรีฯ |
||||||
4 | เพื่อหนุนเสริมกระบวนการทำงานให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : 1. รายงานความก้าวหน้าโครงการ ทุก 6 เดือน 2. รับทราบความก้าวหน้าทุกระยะ |