แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ ประเมินผลภายใน ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร ”
พื้นที่ดำเนินงานใน 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช และนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
ดร.ธนเทพ วณิชยากร, ผศ.ดร.ชุมพล แก้วสม, ดร.เกวลิน อังคณานนท์, ดร.อนิรุต หนูปลอด, ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา และนางสาวอิสรา มิตรช่วยรอด
ชื่อโครงการ ประเมินผลภายใน ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร
ที่อยู่ พื้นที่ดำเนินงานใน 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช และนราธิวาส จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"ประเมินผลภายใน ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ดำเนินงานใน 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช และนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ประเมินผลภายใน ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร
บทคัดย่อ
โครงการ " ประเมินผลภายใน ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ดำเนินงานใน 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช และนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเกษตรมีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างความเข้มแข็งและความมั่นคงของเศรษฐกิจในประเทศไทย รวมทั้งยังเป็นวิถีชีวิตของแหล่งภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่สืบต่อมายาวนาน ซึ่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยังคงให้ความสำคัญกับภาคการเกษตรโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ มาประยุกต์ใช้ โดยอาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสนับสนุน เพื่อให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้และพัฒนาภาคการเกษตรให้ยั่งยืน
ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรช่วยกันในการวางแผน อำนวยความสะดวกให้กับเกษตรกร สร้างแนวทางที่เหมาะสมด้านความมั่นคงทางอาหารของประชาชน การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment – HIA) เอช ไอ เอ เป็นเครื่องมือการประเมินรูปแบบหนึ่งที่มีความมุ่งหวังเพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และเสริมพลังอํานาจของกลุ่มคนที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ทั้งผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการ กลุ่มภาคีเครือข่ายที่ร่วมดําเนินงาน กลุ่มนักวิชาการที่มาช่วยในการขับเคลื่อนงาน เป็นการประเมินแบบมีส่วนร่วมที่ทําให้ทุกฝ่ายร่วมกําหนดทิศทางและเป้าหมายในการขับเคลื่อนงานร่วมกันและใช้ประโยชน์จากการประเมินในการยกระดับหรือเพิ่มผลกระทบทางบวกและปรับปรุงหรือลดผลกระทบทางลบของโครงการ ข้อเสนอแนะจากการประเมินจะถูกใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงโครงการในระยะต่อไป ในขั้นตอนการประเมินจะมีการประยุกต์ใช้แนวทางและเครื่องมือที่หลากหลายร่วมกันในการระบุ คาดการณ์ และพิจารณาถึงผลกระทบด้านสุขภาพที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชน หรือกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้
- การกลั่นกรอง (Screening)
- การกําหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Scoping)
- การประเมินผลกระทบ (Assessing)
- การจัดทาํและทบทวนร่างรายงาน (Reviewing)
- การผลักดันสู่การตัดสินใจ (Decision making)
- ขั้นตอนการติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อยกระดับงานด้านความมั่นคงทางอาหารสู่แผนงาน/นโยบาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาศักยภาพการบูรณาการระบบอาหารตำบล ให้กับทีมพี่เลี้ยงและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- ประชุมปรึกษาหารือเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินแผนงานตำบลบูรณาการระบบอาหารจังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายใต้แผนงานประเมินภายในความมั่นคงทางอาหาร ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร: Screening
- เก็บรวบรวมข้อมูลในเวทีการจัดทำแผนงาน โครงการระบบอาหาร จังหวัดนราธิวาส
- จัดเวทีนโยบายประเด็นบูรณาการระบบอาหารระดับภาค โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม วิชาการ เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระบบอาหารภาคใต้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เกิดแผนโครงการด้านระบบอาหาร (ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย โภชนาการสมวัย) ในหน่วยงานองค์กรปกครองท้องถิ่นอย่างน้อย 80 โครงการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมปรึกษาหารือเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินแผนงานตำบลบูรณาการระบบอาหารจังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายใต้แผนงานประเมินภายในความมั่นคงทางอาหาร ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2564กิจกรรมที่ทำ
ประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการ กับหน่วยงานกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องและให้ความสนใจ ได้แก่ อบต. รพสต. กองทุน สปสช. และโรงพยาบาล และให้กลุ่มเป้าหมายแต่ละพื้นที่ที่เข้าร่วมนัดหมายวางกระบวนการทำแผน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ได้แก่ โรงพยาบาลกาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี มูลนิธิป่าทะเลเพื่อชีวิต เทศบาลตำบลพุมเรียง ตำบลบางไทร อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี อบต.พ่วงพรมคร รพสต.ตะกุกใต้รพสต.ตะกุกเหนือ อบต.บางไทร ตำบลบางไทร มูลนิธิภาคใต้สีเขียว รพสต.พุมเรีย รพสต.บางไทร อบต.บางไทร หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนกะแดะ ผู้ช่วยเจ้าพนักงานธุรการ ผู้ช่วยเจ้าพนักงานธุรการ รพสต.บ้านน้ำห้า สปสช. เขตสุราษฎร์ธานี รพสต.ตะกุกเหนือ และกองทุนสวัสดิการ ตำบลคันธุรี
- ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะจากที่ประชุม
2.1 การของบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพของอบต.ตะกุกใต้ ได้รับการอนุมัติงบประมาณแล้ว และบางส่วนเริ่มใช้งบประมาณแล้ว หากโครงการนี้เข้ามาจะทำให้ไม่สามารถของบกองทุนได้แล้ว และในส่วนของความมั่นคงทางอาหารมีบางกิจกรรมที่คาบเกี่ยวกับพัฒนาชุมชน (โคก หนอง นา โมเดล) และเกษตร ซึ่ง 2 ซึ่งหากไม่ของบกองทุนแล้วยังมีแหล่งทุนไหนที่จะสามารถเขียนของบอีกได้บ้าง
2.2 พื้นที่ตะกุกเหนือและตะกุกใต้ ทำเรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่อย่างเต็มระบบ ตั้งแต่การจัดการดินและบริหารจัดการน้ำในแปลงเกษตร มีการจัดทำบัญชีผลผลิต บัญชีมูลค่าจากผลผลิตของการบริโภคและการจำหน่าย ซึ่งผลผลิตการเกษตรจะเป็นสินค้าปลอดภัยทั้งหมด เกิดมุมมองจากกระบวนการทำงานดังกล่าว คือ การบูรณาการหน่วยงานที่จะต้องปรึกษาหารือร่วมกัน พื้นที่ตะกุกเหนือ ตะกุกใต้ บ้านยาง และน้ำหับจะมีการประชุมร่วมกันทุกวันที่ 14 ของเดือน เป็นเวทีในการปรึกษาหารือร่วมกัน และผู้บริโภคที่ต้องการอาหารปลอดภัย เพราะฉะนั้น 2 กลุ่มนี้ต้องรับรู้ร่วมกัน ว่า หน่วยผลิตผลิตอะไร และหน่วยผู้บริโภคต้องการอะไร เพื่อตอบสนองความต้องการบริโภคอาหารปลอดภัยของตัวเอง
ฉะนั้นในกระบวนการเหล่านี้นอกจากเรื่องผลิตอาหารปลอดภัยในกลุ่มเกษตรกรที่ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ยังมีอีกหนึ่งกลุ่ม คือ กลุ่มประมงพื้นบ้าน ซึ่งประชาชนกำลังรวมกลุ่มทำในเรื่องอาหารปลอดภัยเช่นกัน แล้วจะมีการวางกลไกหรือความเชื่อมโยงอย่างไร เพื่อทำให้เกิดความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางอาชีพ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้วย
2.3 ตำบลบางไทร การวางระบบอาหารที่ต้องเริ่มจากต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ซึ่งพื้นที่บางไทรเองเปนพื้นที่ลุ่มน้ำ การเพาะปลูกค่อนข้างจะยาก ดังนั้นพอจะมีวิธีการอย่างไรได้บ้างที่พอจะดำเนินการความมั่นคงทางอาหาร เช่น พืช ผัก หรือผลไม้ที่ปลอดภัย
2.4 การดำเนินการตำบลบูรณาการระบบอาหารของตำบลบางไทร เดิมทีมีความหลากหลายทางชีวภาพมาก แต่เมื่อมีความเจริญหรือเทคโนโลยีเข้าไปความหลากหลายทางชีวภาพจะลดลง กลไกการดำเนินงานตำบลบูรณาการถึงแม้จะยังดำเนินการยังไม่สู่ผลสำเร็จ จึงมีแนวคิดว่า จะทำอย่างไรให้ชุมชนพึ่งพาตนเองได้ โดยมิติของความมั่นคงมีตั้งแต่ความมั่นคงทางสุขภาพ (ตำบลบางไทรมีแพทย์แผนไทย) ความมั่นคงทางด้านอาหาร (ทำอย่างไรให้ประชาชนลดการบริโภคนอกชุมชน แต่หันมาบริโภคภายในชุมชนแทน) ด้านสิ่งแวดล้อม (การจัดการขยะต้นทาง) และด้านคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างครบวงจร ซึ่งทำอย่างไรให้คนในชุมชนหันมาจัดการใน 4 ประเด็นดังกล่าวได้ และในอนาคตมีความมั่นคงชั่วลูกชั่วหลานได้
2.5 การออกกฎระเบียบหรือข้อบังคับ การมีข้อจำกัดของหน่วยงานราชการ และการกระจายงบประมาณที่กระจุกอยู่ที่เดียว
2.6 จุดเริ่มต้นที่ทำได้ง่าย คือ อาหารในศูนย์เด็กเล็ก
2.7 การประเมินศักยภาพตำบลโดยใช้ข้อมูลของพื้นที่เป็นสิ่งสำคัญในการทำแผน (วิเคราะห์ปัญหา/สถานการณ์ที่สำคัญ จัดลำดับความสำคัญ ดำเนินการ และติดตามประเมินผล)
2.8 อบต.พุมเรียง มีข้อจำกัดเรื่องพื้นที่ทางการเกษตร เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินทราย ไม่สามารถเพาะปลูกได้ ประชาชนส่วนใหญ่ทำอาชีพประมงและอาชีพรับจ้าง และมีปัญหาเรื่องการจัดการขยะต้นทาง (ขยะส่วนใหญ่มากกว่า 60% ต้องนำไปทิ้งที่อื่นและนำมาทำเป็นปุ๋ยหมัก) ซึ่งอาจจะต้องให้ชาวบ้านปรับเปลี่ยนวิธีคิดและจะนำผลเลือดจากการเจาะเลือดในกลุ่มเป้าหมายมาขยายผลเพื่อดำเนินการต่อ
2.9 การจัดการฐานทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนร่วมกับการโฆษณาอาหารพื้นถิ่น/อาหารพื้นบ้าน ควบคู่กัน (นำเสนอสิ่งที่ชุมชนมี) และขับเคลื่อนอย่างไรให้เกิดความมั่นคงและยั่งยืนในอาชีพ อาหารที่มั่นคงและปลอดภ้ย
2.10 เทศบาลตำบลย่านดินแดง หากจะเริ่มจากต้นทางการผลิตคือการเพาะปลูกอาจเป็นไปได้ยาก แต่อาจจะเริ่มต้นได้จากศูนย์เด็กเล็กของเทศบาลได้ ซึ่งต้องนำเรื่องเข้าปรึกษาหารือต่อไป
2.11 ตำบลคันธุลี สภาพบริบทพื้นที่ค่อนข้างหลากหลายทั้งทะเล ภูเขา พื้นที่ลาบลุ่ม ซึ่งปัญหาที่เจอคือสภาพการจัดการพื้นที่สวน ไร่นา เน้นพืชเศรษฐกิจเป็นหลัก เช่น สวนปาล์ม สวนยาง ค่อนข้างเยอะ ซึ่งพื้นที่ผสมผสานก็อาจจะมีอยู่บ้างคาดว่าไม่น่าจะเกิน 10% และในส่วนอื่นๆได้ขับเคลื่อนกับศูนย์เด็กเล็กอยู่แล้ว นั่นคือ Thai school lunch และเกษตรกรรมที่เป็นแปลงรวม สินค้าในชุมชนส่งต่อศูนย์เด็กเล็กซึ่งเด็กไม่มีปัญหาเรื่องโภชนาการ แต่กลับกลายเป็นผู้ใหญ่ที่มีปัญหา ด้วยวิถีการดำเนินชีวิตของชาวบ้าน เช่น กรีดยางตอนเช้าไม่ทานอาหารเช้าแต่ทานตอนเที่ยงแทน
2.12 ความมั่นคงทางอาหารอยากให้เน้นในจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวบ้าน
2.13 ต้นทุนของตำบลบางไทร คือ ข้าวไร่อินทรีย์ อาจจะเสริมเรื่องการตลาดและบรรจุภัณฑ์
- ทำการสัมภาษณ์ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเพิ่มเติม ได้แก่ โรงพยาบาลกาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี (หัวหน้าโครงการ) เทศบาลตำบลพุมเรียง อบต.พ่วงพรมคร ตำบลบางไทร มูลนิธิภาคใต้สีเขียว หัวหน้าศูนย์สุขภาพชุมชนกะแดะ รพสต.บ้านน้ำห้า และรพสต.ตะกุกเหนือ ซึ่งผลที่ได้จากการสัมภาษณ์มีรายละเอียดดังนี้ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ที่ได้มาเข้าร่วมไม่ทราบรายละเอียดของโครงการมาก่อน แต่มีความสนใจที่จะมาเข้าร่วมโครงการ หน่วยงานที่เข้ามาร่วมจะเป็นอบต.และรพสต. รพสต. มาร่วม 1 หน่วยงานและเป็นตัวแทนที่ถูกมอบหมายให้มาเข้าร่วมประชุมซึ่งไม่ทราบบริบทหน้าที่ที่จะมาเกี่ยวข้องกับโครงการ อยากให้มีการชี้แจงรายละเอียดโครงการในหนังสือเชิญประชุมด้วย เป้าหมายหรือความคาดหวังของหน่วยงานที่เข้าร่วม อยากยกระดับงานและพัฒนางานในพื้นที่ของตนเองให้ดีขึ้น ให้สามารถพึ่งพิงตนเองได้ ก่อเกิดชุมชนเข้มแข็งที่ยั่งยืนสู่รุ่นลูกหลานต่อไปในอนาคต
10
0
2. เก็บรวบรวมข้อมูลในเวทีการจัดทำแผนงาน โครงการระบบอาหาร จังหวัดนราธิวาส
วันที่ 17 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบ focus group ด้วยแนวคำถามปลายเปิด ในประเด็นของการทำแผนงาน โครงการที่เกี่ยวข้องกับระบบอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้เครือข่ายการดำเนินงานเกี่ยวกับระบบอาหาร เช่น โรงพยาบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน รพสต.
- ได้แผนงาน โครงการด้านระบบอาหารแบบบูรณาการ 3 ประเด็น (ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย)
- เกิดการขับเคลื่อนงานระบบอาหารในระดับท้องถิ่น
- ทราบข้อคิดเห็น ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากกลุ่มผู้ที่เข้าร่วมประชุมและพี่เลี้ยงกองทุน
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อยกระดับงานด้านความมั่นคงทางอาหารสู่แผนงาน/นโยบาย
ตัวชี้วัด : เกิดแผนโครงการด้านระบบอาหาร (ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย โภชนาการสมวัย) ในหน่วยงานองค์กรปกครองท้องถิ่นอย่างน้อย 80 โครงการ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ประเมินผลภายใน ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ดร.ธนเทพ วณิชยากร, ผศ.ดร.ชุมพล แก้วสม, ดร.เกวลิน อังคณานนท์, ดร.อนิรุต หนูปลอด, ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา และนางสาวอิสรา มิตรช่วยรอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ ประเมินผลภายใน ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร ”
พื้นที่ดำเนินงานใน 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช และนราธิวาสหัวหน้าโครงการ
ดร.ธนเทพ วณิชยากร, ผศ.ดร.ชุมพล แก้วสม, ดร.เกวลิน อังคณานนท์, ดร.อนิรุต หนูปลอด, ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา และนางสาวอิสรา มิตรช่วยรอด
ชื่อโครงการ ประเมินผลภายใน ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร
ที่อยู่ พื้นที่ดำเนินงานใน 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช และนราธิวาส จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"ประเมินผลภายใน ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ดำเนินงานใน 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช และนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ประเมินผลภายใน ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร
บทคัดย่อ
โครงการ " ประเมินผลภายใน ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ดำเนินงานใน 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช และนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเกษตรมีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างความเข้มแข็งและความมั่นคงของเศรษฐกิจในประเทศไทย รวมทั้งยังเป็นวิถีชีวิตของแหล่งภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่สืบต่อมายาวนาน ซึ่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยังคงให้ความสำคัญกับภาคการเกษตรโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ มาประยุกต์ใช้ โดยอาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสนับสนุน เพื่อให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้และพัฒนาภาคการเกษตรให้ยั่งยืน
ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรช่วยกันในการวางแผน อำนวยความสะดวกให้กับเกษตรกร สร้างแนวทางที่เหมาะสมด้านความมั่นคงทางอาหารของประชาชน การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment – HIA) เอช ไอ เอ เป็นเครื่องมือการประเมินรูปแบบหนึ่งที่มีความมุ่งหวังเพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้และเสริมพลังอํานาจของกลุ่มคนที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ทั้งผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการ กลุ่มภาคีเครือข่ายที่ร่วมดําเนินงาน กลุ่มนักวิชาการที่มาช่วยในการขับเคลื่อนงาน เป็นการประเมินแบบมีส่วนร่วมที่ทําให้ทุกฝ่ายร่วมกําหนดทิศทางและเป้าหมายในการขับเคลื่อนงานร่วมกันและใช้ประโยชน์จากการประเมินในการยกระดับหรือเพิ่มผลกระทบทางบวกและปรับปรุงหรือลดผลกระทบทางลบของโครงการ ข้อเสนอแนะจากการประเมินจะถูกใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงโครงการในระยะต่อไป ในขั้นตอนการประเมินจะมีการประยุกต์ใช้แนวทางและเครื่องมือที่หลากหลายร่วมกันในการระบุ คาดการณ์ และพิจารณาถึงผลกระทบด้านสุขภาพที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชน หรือกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ขั้นตอนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้
- การกลั่นกรอง (Screening)
- การกําหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Scoping)
- การประเมินผลกระทบ (Assessing)
- การจัดทาํและทบทวนร่างรายงาน (Reviewing)
- การผลักดันสู่การตัดสินใจ (Decision making)
- ขั้นตอนการติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อยกระดับงานด้านความมั่นคงทางอาหารสู่แผนงาน/นโยบาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาศักยภาพการบูรณาการระบบอาหารตำบล ให้กับทีมพี่เลี้ยงและผู้ที่เกี่ยวข้อง
- ประชุมปรึกษาหารือเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินแผนงานตำบลบูรณาการระบบอาหารจังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายใต้แผนงานประเมินภายในความมั่นคงทางอาหาร ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร: Screening
- เก็บรวบรวมข้อมูลในเวทีการจัดทำแผนงาน โครงการระบบอาหาร จังหวัดนราธิวาส
- จัดเวทีนโยบายประเด็นบูรณาการระบบอาหารระดับภาค โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม วิชาการ เพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายระบบอาหารภาคใต้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เกิดแผนโครงการด้านระบบอาหาร (ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย โภชนาการสมวัย) ในหน่วยงานองค์กรปกครองท้องถิ่นอย่างน้อย 80 โครงการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมปรึกษาหารือเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินแผนงานตำบลบูรณาการระบบอาหารจังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายใต้แผนงานประเมินภายในความมั่นคงทางอาหาร ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร |
||
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2564กิจกรรมที่ทำประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการ กับหน่วยงานกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องและให้ความสนใจ ได้แก่ อบต. รพสต. กองทุน สปสช. และโรงพยาบาล และให้กลุ่มเป้าหมายแต่ละพื้นที่ที่เข้าร่วมนัดหมายวางกระบวนการทำแผน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 0 |
2. เก็บรวบรวมข้อมูลในเวทีการจัดทำแผนงาน โครงการระบบอาหาร จังหวัดนราธิวาส |
||
วันที่ 17 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบ focus group ด้วยแนวคำถามปลายเปิด ในประเด็นของการทำแผนงาน โครงการที่เกี่ยวข้องกับระบบอาหาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อยกระดับงานด้านความมั่นคงทางอาหารสู่แผนงาน/นโยบาย ตัวชี้วัด : เกิดแผนโครงการด้านระบบอาหาร (ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย โภชนาการสมวัย) ในหน่วยงานองค์กรปกครองท้องถิ่นอย่างน้อย 80 โครงการ |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ประเมินผลภายใน ประเด็นตำบลบูรณาการระบบอาหาร จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ดร.ธนเทพ วณิชยากร, ผศ.ดร.ชุมพล แก้วสม, ดร.เกวลิน อังคณานนท์, ดร.อนิรุต หนูปลอด, ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา และนางสาวอิสรา มิตรช่วยรอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......