สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟใหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดการภัยพิบัติ คน องค์กร เครือข่ายของการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (2) เพื่อวิเคราะห์กลไกการจัดการภัยพิบัติ เพื่อพัฒนาคน องค์กร เครือข่ายความร่วมมือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และบ่าพรุบาเจาะ (เฉพาะชุมชนที่เลือก) (3) เพื่อหาแนวทางความร่วมมือของคน องค์กร เครือข่ายความร่วมมือการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศุนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟใหม้ป่าพรุโต๊ะแดง  และป่าพรุบาเจาะ (เฉพาะชุมชนที่เลือก) (4) เพื่อเสนอตัวแบบในแก้ไขปัญหาการจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (เฉพาะชุมชนที่เลือก)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานร่วมกับสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (2) ประชุมทีมคณะทำงานเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่ (3) ประชุมทีมคณะทำงาน เพื่อนำไปสู่การจัดเวทีฯ วิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติป่าพรุโต๊ะแดง (4) ประชุมเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาปัญหาไฟป่าพรุโต๊ะแดง (5) ประชุมสรุปการจัดเวทีเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีปัญหาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (6) ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการจัดเวทีเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาป่าพรุบาเจาะ (7) ประชุมโดยการจัดเวทีเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการขับเคลื่อนในการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่พรุบาเจาะ (8) ประชุมเพื่อวิเคราะห์สถาการณ์การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชน กรณีศึกษาปัญหาไฟป่าพรุบาเจาะ (9) ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการสัมภาษณ์ผู้ที่ส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง (10) สัมภาษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมฯ (11) การประชุมวิเคราะห์การสัมภาษณ์หน่วยงานที่เกี่ยวข้องฯ (12) ประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการสัมภาษณ์ผู้นำในชุมชนที่เกี่ยวข้องฯ ในพื้นที่ป่าพรุ (13) การสัมภาษณ์ผู้นำในชุมชนที่เกี่ยวข้องฯ ในพื้นที่พรุ (14) ประชุมทีมวิชาการสังเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้นำและประชาชนในชุมชนรอบป่าพรุ(หลังการสัมภาษณ์) (15) การประชุมทีมงานเพื่อวางแผนในการสัมภาษณ์ผู้นำในชุมชนป่าพรุทั้ง 2 พื้นที่ (16) การสัมภาษณ์ประชาชนในชุมชนเกี่ยวข้องฯ (17) ประชุมทีมวิชาการสังเคราะห์ข้อมูลประชาชนในพื้นที่ป่าพรุ (18) ตรวจสอบเอกสารการเงินและบันทึกกิจกรรมออนไลน์ (19) ประชุมทีมวิชาการเพื่อสรุปข้อค้นพบที่ได้ในการกำหนดแนวทางการจัดการภัยพิบัติและร่างข้อเสนอการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (20) ประชุมเตรียมความพร้อมในการจัดเวทีคืนข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (21) การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (22) ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (23) การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (24) ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (25) การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (26) ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (27) การประชุมเวทีคืนข้อมูล “ข้อเสนอเชิงนโยบายโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง” กรณีศึกษาไฟไหม้ป่าพรุบาเจาะ (28) ประชุมทีมวิชาการในการสังเคราะห์ข้อมูลการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง (29) ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (30) ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (31) ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (32) ประชุมทีมวิชาการเพื่อกำหนดข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง และป่าพรุบาเจาะ (33) ประชุมทีมวิชาการเพื่อเขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดง          และป่าพรุบาเจาะ (34) ประชุมทีมวิชาการเพื่อเขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ (35) ประชุมทีมวิชาการเพื่อเขียนรายงานสรุปข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ (36) ประชุมทีมวิชาการเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงินในการดำเนินงานโครงการการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ (37) ประชุมทีมวิชาการเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงินในการดำเนินงานโครงการการจัดการภัยพิบัติไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและป่าพรุบาเจาะ (38) ถอดบทเรียน “การจัดการภัยพิบัติโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง กรณีศึกษา ไฟไหม้ป่าพรุโต๊ะแดงและ                      ป่าพรุบาเจาะ”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ