แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ พืชร่วมยาง ระนอง ”
จังหวัดระนอง
หัวหน้าโครงการ
นายภัทร์พงศ์รวิญ สุวรรณสอง
ชื่อโครงการ พืชร่วมยาง ระนอง
ที่อยู่ จังหวัดระนอง จังหวัด ระนอง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 ตุลาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"พืชร่วมยาง ระนอง จังหวัดระนอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดระนอง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
พืชร่วมยาง ระนอง
บทคัดย่อ
โครงการ " พืชร่วมยาง ระนอง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดระนอง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 ตุลาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดำเนินงานประเด็นความมั่นคงอาหาร:ระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ ของคณะทำงานศึกษาและพัฒนาข้อเสนอพัฒนาระบบเกษตร
และอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ และคณะทำงานยุทธศาสตร์ กขป.ภาคใต้ จากเวทีสร้างสุขภาคใต้ ปี 2562 ภายใต้หลักคิดสำคัญ 3 ประการ ได้แก่ อธิปไตยทางอาหาร สร้างหลักประกันในชีวิต จัดความสัมพันธ์ใหม่ โดยมีเป้าหมายร่วมกัน คือ ความมั่นคงทางอาหารและชีวิตพลเมืองฅนใต้ มีประเด็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญ 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่ เพื่อนำเข้า การพัฒนาระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ ตั้งอยู่ภายใต้หลักคิดสำคัญ 3 ประการ ได้แก่ อธิปไตยทางอาหาร ด้วยการส่งเสริมสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรให้เกิดความสมดุลยั่งยืน มีระบบจัดการผลผลิตที่เกื้อกูลและเหมาะสมกับบริบทพื้นที่ เพื่อให้มีปริมาณอาหารที่เพียงพอ มีคุณภาพอาหารปลอดภัย สร้างหลักประกันในชีวิต ด้วยการเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ มีหลักประกันทางรายได้และสวัสดิการ สวัสดิภาพ มีความมั่นคงทางสุขภาพแก่พลเมืองฅนใต้ จัดความสัมพันธ์ใหม่ ปรับกระบวนทัศน์ใหม่ในการจัดหรือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน ระหว่างชุมชนท้องถิ่นกับหน่วยงานองค์กรภาครัฐและเอกชน ระหว่างกลุ่มองค์กรเครือข่ายด้วยกัน มีความเคารพศักดิ์ครีความเป็นมนุษย์ต่อกันด้วยหลักปฏิบัติ “คิดเอื้อ คิดเผื่อ เพื่อนช่วยเพื่อน พี่ดูแลน้อง ” และแบ่งปันผลประโยชน์ที่เหมาะสม เท่าเทียม เป็นธรรม ด้วยความพึงพอใจร่วมกันของหุ้นส่วนผลประโยชน์ตน ประโยชน์สาธารณะ จากฐานหลักคิดข้างต้นเพื่อให้เกิดหรือบรรลุเป้าหมายร่วมกัน คือ ความมั่นคงทางอาหารและชีวิตพลเมืองฅนใต้ จำเป็นต้องมีประเด็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญ 7 แนวทาง/ประเด็นสำคัญ ได้แก่ 1) การพัฒนาระบบและกลไกขับเคลื่อนระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ ทำหน้าที่ในการติดตาม ผลักดันแผนยุทธศาสตร์และข้อเสนอเชิงนโยบายสู่การปฏิบัติตามศักยภาพและโอกาสที่เอื้ออำนวย ด้วยยุทธวิธีสำคัญ เช่น การสร้างความรอบรู้ด้านอาหารศึกษาและบริโภคศึกษาแก่ประชาชนพลเมือง ติดตามทบทวนแผนยุทธศาสตร์พัฒนาระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ให้เหมาะสมกับภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร และประยุกต์ใช้กระบวนการธรรมนูญสุขภาพระดับพื้นที่ ประกาศเขตเกษตรสุขภาพ (พื้นที่คุ้มครองทางเกษตรกรรมสุขภาพ) ในระดับพื้นที่ชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ และการสร้างความเข้มแข็งแก่สถาบันเกษตรกรให้เป็นเสาหลักของชุมชนท้องถิ่น พร้อมการเชื่อมโยงประสานเครือข่ายในระดับท้องถิ่น จังหวัดหรือภูมิภาคให้เป็นพลังสร้างการเปลี่ยนแปลงทางนโยบาย 2) การพัฒนาระบบเกษตรสุขภาพที่สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เกษตรยั่งยืน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ (mao) ธนาคารต้นไม้ เกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดภัย เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ และ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำประมงชายฝั่ง) โดยส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตแก่เกษตรกรและผู้ประกอบการ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานและเพิ่มมูลผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานโดยหลักอาชีวอนามัย การส่งเสริมการผลิตเกษตรปลอดสารอาหารปลอดภัย การเฝ้าระวังสารเคมีเกษตรและอาหารปลอดภัย การส่งเสริมสนับสนุนและขยายผลให้ต้นไม้เป็นทรัพย์และหลักประกันในชีวิตเพื่อรองรับสังคมสูงวัย เป็นต้น 3) เสริมสร้างสุขภาวะชาวสวนยางและปาล์มน้ำมัน โดยการส่งเสริมวิจัยและพัฒนา เพิ่มมูลค่าในกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์จากปาล์มน้ำมันและยางพารา ให้แก่กลุ่มเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และผู้ประกอบการ การส่งเสริมและสนับสนุนสวนยางยั่งยืน ส่งเสริมการปรับวิถีการผลิตปาล์มน้ำมันแบบผสมผสานและเพิ่มประสิทธิการจัดการแปลง การส่งเสริมและขยายผลสวนเกษตรธาตุสี่หรือสวนสมรม สร้างมาตรการส่งเสริมการออมและสวัสดิการเพื่อเป็นหลักประกันในชีวิตแก่ชาวสวนยางพาราและปาล์มน้ำมัน เป็นต้น 4) การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมและพืชอัตลักษณ์ถิ่น โดยการอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาพันธุ์พืชและสัตว์ ให้คงอยู่เป็นฐานทรัพยากรกับชุมชนท้องถิ่น การส่งเสริมธนาคารเมล็ดพันธุ์และพันธุกรรมถิ่น การวิจัยและพัฒนาสมุนไพรเพื่อสุขภาพและการแพทย์ประจำถิ่น เช่น กัญชาเพื่อการแพทย์ กระท่อมชูกำลัง ขมิ้นถิ่นใต้ ฯ การพัฒนาต่อยอดพืชอัตลักษณ์ถิ่นให้เกิดมูลค่าและคุณค่าเพิ่มขึ้น เช่น กล้วยเล็บมือนางชุมพร ข้าวสังข์หยดพัทลุง ข้าวเหลืองปะทิว ส้มโอทับทิมสยาม เป็นต้น 5) การอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาระบบนิเวศสิ่งแวดล้อมที่สมดุลยั่งยืน โดยการขยายผลการสร้างฝายมีชีวิตและการจัดการน้ำแบบมีส่วนร่วม การอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาทรัพยากรดิน น้ำ ป่า และสภาพแวดล้อม การพัฒนากลไกเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและภูมิอากาศแบบมีส่วนร่วม การประเมินผลกระทบเชิงยุทธศาสตร์ และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA) เป็นต้น 6) สุขภาวะชาวประมง โดยมีแนวทางสำคัญ เช่น มาตรการคุ้มครองพื้นที่สัวต์น้ำและประมงชายฝั่ง ธนาคารอาหารสัตว์น้ำ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าประมง ฯ 7)เพิ่มประสิทธิการบริหารจัดการตลาดให้เกิดการลดช่องว่างระหว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภค โดย เสริมสร้างการเชื่อมโยงการจัดการของกลุ่มผู้ผลิตเกษตรสุขภาพกับผู้ประกอบการท่องเที่ยวหรือกลุ่มท่องเที่ยวชุมชน การสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการภาคเกษตร (เกษตรกรมืออาชีพ เกษตรกรรุ่นใหม่ ครัวเรือนพอเพียง ผู้ประกอบการครัวเรือน ) สร้างและพัฒนาโอกาสบริหารจัดการตลาดชุมชนท้องถิ่น ตลาดทั่วไป ตลาดออนไลน์แก่ผู้ประกอบการ การยกระดับการตลาดด้วยเชื่อมโยงจับคู่ธุรกิจ (Business Matching) การค้าการลงทุนหรือการร่วมทุน ระหว่างผู้ประกอบการกับหุ้นส่วนทางธุรกิจ โดยในจังหวัดระนอง................................
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความร่วมมือกับภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชน ในการขยายผลเกษตรผสมผสานหรือวนเกษตรในพื้นที่
- เพื่อติดตาม สนับสนุนและสังเคราะห์ความรู้พร้อมข้อเสนอต่อการทำสวนยางยั่งยืนในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง
- ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง
- ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง
- ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง
- ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโดยทีมวิชาการเชื่อมโยงเครือข่าย กับเกษตรต้นแบบ และหรือ สถาบันเกษตรที่สังกัด
- จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อทบทวนวิเคราะห์ รูปแบบ/วิธีการปรับใช้การทำเกษตรกรรมยั่งยืนในสวนยาง ที่เหมาะสมและสรุปร่างข้อเสนอ
- ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง
- ประชุมประสานเครือข่ายจังหวัดระนอง
- เครือข่ายร่วมกับ กยท. จัดทำพัฒนาข้อเสนอ แนวทางการทำเกษตรกรรมยั่งยืนในสวนยาง และสร้างความร่วมมือขับเคลื่อนและผลักดันทางนโยบายต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- พัฒนาศักยภาพเกษตรกรสวนยาง 10 รายร่วมกับ กยท.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการขยายผลการทำสวนยางยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดชุมพร
- เกษตรชาวสวนยางรายย่อยเป้าหมาย ทำเกษตรผสานผสาน/วนเกษตร (พืชร่วมยาง)เพิ่มขึ้นร้อยละ90
- ครัวเรือนเกษตรกรเป้าหมายที่ทำพืชร่วมยางมีผลผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อการบริโภคในครัวเรือนร้อยละ90
- เกิดชุดความรู้การทำเกษตรผสมผสาน/วนเกษตรและข้อเสนอเชิงนโยบายการทำสวนยางยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง
วันที่ 20 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ประสานผู้เข้าร่วม
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
แนวทางการดำเนินงานพืชร่วมยางหรือสวนยางยั่งยืน โดยสรุปสาระสำคัญการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางอาหาร :เกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ (พืชร่วมยาง,ตำบลบูรณาการระบบอาหาร,แผนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ) ในจังหวัดชุมพร,ระนอง,นครศรีธรรมราช,นราธิวาส (สุราษฎร์ธานี ) ภายใต้แผนงาน :ศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศนส.มอ.)ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อยกระดับและขยายผลกระบวนการทำงานแบบเครือข่ายและเพิ่มการประสานความร่วมมือของภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน และสื่อมวลชน ในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะตามประเด็นความมั่นคงทางอาหาร:ระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้
คณะทำงานฯ ได้วางกรอบความเชื่อมโยงของการดำเนินงานโดยให้
เกิดการบูรณาการความร่วมมือโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งสู่ความมั่นคงอาหารของพื้นที่และจังหวัด จากงานเชิงประเด็นได้แก่พืชร่วมยาง สู่งานเชิงพื้นที่ตำบลบูรณาการอาหารผ่านกลไกกองทุนสุขภาพท้องถิ่น (กปท./พชต.) สู่ประเด็นยุทธศาสตร์ระดับอำเภอ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) สู่ประเด็นด้านเกษตรและอาหารของกลไกสมัชชาสุขภาพระดับจังหวัด ผู้ผลิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย โดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง
กรอบการดำเนินงานพืชร่วมยาง กรอบกิจกรรมและผลลัพธ์ตามแผนงานโครงการที่ตั้งไว้ ดังนี้
พืชร่วมยาง ตามงบประมาณ 200,000 บาท กิจกรรมตามแผนงาน ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
1)ประชุมปรึกษาหารือคณะทำงานจังหวัด
2)คัดเลือกเกษตรกรนำร่อง 10 ราย/จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสวนยางยั่งยืน และการเพิ่มเติมทักษะการดูแลบำรุงรักษาระบบสูบน้ำด้วยโซลาเซล
3)ติดตาม สนับสนุน ถอดบทเรียน
4)เวทีแลกเปลี่ยนสรุปบทเรียน/จัดทำข้อเสนอ
5)ร่วมเวทีสังเคราะห์บทเรียนและข้อเสนอระดับภาคใต้ (เวทีร่วมระดับภาค)
1)เกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเป้าหมาย ทำพืชร่วมยางเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90
2)ครัวเรือนเป้าหมายที่ทำพืชร่วมยางมีผลผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือนร้อยละ 90
3)เศรษฐกิจครัวเรือนเป้าหมายดีขึ้น (รายได้เพิ่มขึ้น/รายจ่ายลดลง)
4)จำนวนเกษตรกรที่ทำเกษตรแบบอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพในพื้นที่เป้าหมายเพิ่มขึ้นร้อยละ 90
แนวทางและกระบวนการดำเนินงานในระดับพื้นที่จังหวัดระนอง การดำเนินงานพัฒนาระบบอาหารหรือระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ ดำเนินการควบคู่ไปกับกิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ ตั้งแต่ สิงหาคม 63 ถึง พฤษภาคม 64
0
0
2. ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง
วันที่ 28 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
ประสานความร่วมมือ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สรุปการประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสถาบันการเกษตรกรสวนยางระดับจังหวัด การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดระนอง ครั้งที่ 6/2563 ดังนี้
1) รายงานผลการดำเนินงาน กยท.ระนอง ได้แก่ การประกันภัยอุบัติเหตุเกษตรกรชาวสวนยางโครงการประกันรายได้ โครงการพัฒนาอาชีพ การปลูกแทน ยางพารา ไร่ละ 16,000 บาท และตามหลักเกณฑ์การส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการปลูกแทน ได้ปรับแบบและวิธีการปลูกแทน ไว้ 3 รูปแบบ ได้แก่ แบบที่ 1 ปลูกแทนด้วยยางพันธุ์ดี แบบที่ 2 ปลูกแทนด้วยต้นไม้ยืนต้นชนิดอื่นที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ แบบที่ 3 ปลูกแทนแบบเกษตรกรรมยั่งยืน โดยแบ่งเป็นพืชหลักเป็นปลูกยางพันธุดีเป็นพืชหลัก และปลูกไม้ยืนต้นที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นพืชหลัก
2)รายงานผล/การติดตามการดำเนินงานพัฒนาสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง ตามมาตรา 49(6) ให้รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการสนับสนุนปี 63 ได้แก่ การใช้เงินตามหลักเกณฑ์ การรับเงินอุดหนุนปี 63 และการเสนอโครงการขอใช้เงิน ปี 64
แนวทางการดำเนินงานพืชร่วมยางหรือสวนยางยั่งยืน โดยสรุปสาระสำคัญการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางอาหาร :เกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ (พืชร่วมยาง,ตำบลบูรณาการระบบอาหาร,แผนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ) ในจังหวัดชุมพร,ระนอง,นครศรีธรรมราช,นราธิวาส (สุราษฎร์ธานี ) ภายใต้แผนงาน :ศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศนส.มอ.)ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อยกระดับและขยายผลกระบวนการทำงานแบบเครือข่ายและเพิ่มการประสานความร่วมมือของภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน และสื่อมวลชน ในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะตามประเด็นความมั่นคงทางอาหาร:ระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้
คณะทำงานฯ ได้วางกรอบความเชื่อมโยงของการดำเนินงานโดยให้เกิดการบูรณาการความร่วมมือโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งสู่ความมั่นคงอาหารของพื้นที่และจังหวัด จากงานเชิงประเด็นได้แก่พืชร่วมยาง สู่งานเชิงพื้นที่ตำบลบูรณาการอาหารผ่านกลไกกองทุนสุขภาพท้องถิ่น (กปท./พชต.) สู่ประเด็นยุทธศาสตร์ระดับอำเภอ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) สู่ประเด็นด้านเกษตรและอาหารของกลไกสมัชชาสุขภาพระดับจังหวัด ผู้ผลิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย โดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง
กรอบการดำเนินงานพืชร่วมยาง กรอบกิจกรรมและผลลัพธ์ตามแผนงานโครงการที่ตั้งไว้ ดังนี้
พืชร่วมยาง ตามงบประมาณ 200,000 บาท
กิจกรรมตามแผนงาน ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
1)ประชุมปรึกษาหารือคณะทำงานจังหวัด
2)คัดเลือกเกษตรกรนำร่อง 10 ราย/จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสวนยางยั่งยืน และการเพิ่มเติมทักษะการดูแลบำรุงรักษาระบบสูบน้ำด้วยโซลาเซล
3)ติดตาม สนับสนุน ถอดบทเรียน
4)เวทีแลกเปลี่ยนสรุปบทเรียน/จัดทำข้อเสนอ
5)ร่วมเวทีสังเคราะห์บทเรียนและข้อเสนอระดับภาคใต้ (เวทีร่วมระดับภาค)
1)เกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเป้าหมาย ทำพืชร่วมยางเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90
2)ครัวเรือนเป้าหมายที่ทำพืชร่วมยางมีผลผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือนร้อยละ 90
3)เศรษฐกิจครัวเรือนเป้าหมายดีขึ้น (รายได้เพิ่มขึ้น/รายจ่ายลดลง)
4)จำนวนเกษตรกรที่ทำเกษตรแบบอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพในพื้นที่เป้าหมายเพิ่มขึ้นร้อยละ 90
แนวทางและกระบวนการดำเนินงานในระดับพื้นที่จังหวัดระนอง การดำเนินงานพัฒนาระบบอาหารหรือระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ ดำเนินการควบคู่ไปกับกิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ ตั้งแต่ สิงหาคม 63 ถึง พฤษภาคม 64 ตามแผนผังนี้(เอกสารประกอบ)
4.1)กลไกการดำเนินงานในรูปแบบ คณะทำงานร่วมมือกัน 3 กิจกรรม โดยมีองค์ประกอบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สภาเกษตรกร (นายภัทรพงวิช สุวรรณสอง) กยท.ระนอง (นายเรืองวิทย์ ทัศการ-นายสว่าง แก้วเจริญ) , กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ฯ, สนง.เกษตร,สนง.ปศุสัตว์จังหวัด,สนง.ประมงจังหวัด,สนง.สาธารณสุข เป็นต้น (รายชื่อตามเอกสารประกอบ)
4.2) ผู้รับผิดชอบตามภารกิจงานพืชร่วมยาง ได้แก่ (นายภัทรพงวิช สุวรรณสอง) กยท.ระนอง (นายเรืองวิทย์ ทัศการ-นายสว่าง แก้วเจริญ) และ สภาเครือข่ายสถาบันเกษตรสวนยางจังหวัดระนอง
4.3) กลุ่มเป้าหมายเกษตรกรที่ได้รับการสนับสนุนโครงการระบบน้ำโซล่าเซล
-เกษตรกรที่เป็นต้นแบบ อาทิ ..................................... เป็นต้น
- นัดหมายภารกิจ/กิจกรรมต่อไป
- ให้ผู้แทนสถาบันเกษตร พิจารณา คัดเลือกเกษตรนำร่อง 10 ราย และเกษตรต้นแบบ 2-4 ราย เพื่อเป็นกรณีศึกษา พื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อไป
0
0
3. ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง
วันที่ 20 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
- หลักการแนวคิด โครงการ ศวนส. และแผนงานการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา
- บรรยายให้ความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่องการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา
- สรุปสะท้อนการเรียนรู้และสิ่งที่ตั้งใจนำกลับไปปรับใช้กับแปลงตัวเอง
- เติมเต็มและให้ข้อเสนอแนะ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
- แผนงานการทำเกษตรผสมผสานในสวนยางพารา
30
0
4. ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2563กิจกรรมที่ทำ
ประสานผู้เข้าร่วม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ประสานความร่วมมือ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- การคัดเลือกแปลงเกษตรกรตัวอย่าง
- นายอุดม คำแป้น มีสวนยางจำนวน 100 ไร่ โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน ในส่วนที่ 2-3มีการปลูกยางแบบสวนผลมผสาน โดยมี การปลูก ปาล์ม โกโก้ ทุเรียน กาแฟ ไม้เศรษฐกิจ มะพร้าว กล้วย และมีการเลี้ยงปลา หมูหลุม เพื่อผลิตปุ๋ยใช้เอง
- นายพงษ์ศร สีสิน มีที่ดินจำนวน 200 ไร่ 7 แปลงซึ่งไม่มีเอกสารสิทธิจึงไม่สามารถขอเงินสงเคราะห์การทำสวนยางได้ แต่มีการทำไร่ผสมผสานในสวนยางมีการปลูก ทุเรียน หมาก สะตอ กาแฟ ตะเคียน
- นายอภิชัย นาคฤทธิ์ มีสวนยางจำนวน 50 ไร่ โดยมีการปลูกแบบผสมผสานแต่เป็นการปลูกไม้เศรษฐกิจ เช่น ตะเคียน จำปา ยางนา พะยอม และผักเหลียง มะเดื่อ
- นายสุลาวัตร เตาตระกูล มีสวนยาง 30 ไร่ โดยมีการปลูกแบบผสมผสาน คือ ทุเรียน กาแฟ สะตอ หมาก กล้วยหอมและมีการขุดสระเพื่อสร้างแหล่งน้ำในพื้นที่
- นายสินมหัด ด่อนศรี มีสวนยาง 6 ไร่ ปาล์ม 30 ไร่ โดยมีการปลูกจำปาทองและมีการขุดสระเพื่อสร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ และมีการใช้พื้นที่แยกจากสวนปาล์ม ยาง เป็นพื้นที่เลี้ยงสัตว์โดยมีการเลี้ยงวัว 40 ตัว หมู 80 ตัวโดยมีการขายเนื้อหมูเดือนละ 180 ตัวและใช้ขี้หมูในการเป็นปุ๋ยให้แก่หญ้าเนียเปีย
- นายพูนธวัช เหล่าประวัติชัย มีพื้นที่ 15 ไร่ โดยมีการปลูกผักเหลียง กล้วย ไม้ดอก เพื่อให้มีการปลูกที่หลากหลายและจะทำให้เป็นพื้นที่ตัวอย่างของจังหวัดระนอง
- .นางสุจินต์ ศรีเกตุ หมู่11ต.ลำเลียง อ.กระบุรี
- นายสมศักดิ์ ไชยนาศักดิ์ หมู่2 ต.ละอุ่นใต้ อ.ละอุ่น
- นายบาหรี หมาดหมัน หมู่8ต.นาคา อ.สุขสำราญ
- นายวินัย ทองพร้อม หมู่7 ต .นาคา อ.สุขสำราญ
- การดำเนินการศูนย์เรียนรู้สวนยางยั่งยืน
รูปแบบโครงสร้างการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้สวนยางยั่งยืน (พูนธวัช เล่าประวัติชัย ) กลุ่มเกษตรกรทำสวนยาง สกย.ฝายคลองน้ำจืด จ.ระนอง
โดยมีแนวทางการดำเนินงานดังนี้
1)จัดอบรมเชิงปฎิบัติการบำรุงรักษาและใช้ประโยชน์ระบบสูบน้ำโซล่าเซล
2)ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนพัฒนาศูนย์เรียนรู้สวนยางยั่งยืน ทั้งสถาบันวิชาการ กยท. หน่วยงานอื่นๆ
0
0
5. พัฒนาศักยภาพเกษตรกรสวนยาง 10 รายร่วมกับ กยท.
วันที่ 30 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
ประสานทีม กยท.ระนอง ออกแบบกระบวนการ นัดวันอบรมและเชิญวิทยากรโดยใช้สวนพูนธวัชเป็นที่อบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเกษตรกรบ้านน้ำจืดมีบ่อบาดาลที่ใช้ประโยชน์ได้จริงน้อยซึ่งทางแกนนำได้ประสานขอความร่วมมือจากทุกภาคส่วนเพื่อทำให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งน้ำแต่ยังมีความเป็นไปได้น้อยเพราะหน่วยงานต่างๆยังไม่มีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลเรื่องการจัดการน้ำให้กับเกษตรกร
การยางแห่งประเทศไทยมีการสนับสนุนให้เกษตรกรทำสวนยางยั่งยืนจากการขอสงเคราะห์ตามมาตรา 49(2) ในรูปแบบ 3 คือการปลูกแบบผสมผสานคือการปลูกแบบ 40 ต้นและให้มีการผสมผสานด้วยการปลูกไม้ผล เลี้ยงปลา ซึ่งเป็นแรงจูงใจให้ต่อจากการสงเคราะห์ไร่ละ 16,000 บาทตามระเบียบ ทาง กยท.แห่งประเทศไทยได้เล็งเห็นว่าการปลูกแบบผสมผสานซึ่งต้องมีส่วนประกอบของน้ำ ดังนั้นจึงได้มีการสนับสนุนโซล่าเซลล์ให้กับแปลงต้นแบบจำนวน 9 รายในจังหวัดระนองตามมาตรา 49(3) คือการปลูกแบบธรรมชาติ นอกจากนี้การยางยังมีการทำประกันให้แก่เกษตรกรที่เสียชีวิตตามระเบียบของการยางเพื่อให้เกษตรกรได้มีการเยียวยา แต่ทาง กยท.แห่งประเทศไทยไม่ได้มีการให้ความรู้ในการดูแลรักษาระบบโซล่าร์เซลล์ทำให้ผู้ที่ได้รับขาดความรู้ในการดูแลรักษาซึ่งเป็นเรื่องใหม่สำหรับชาวเกษตรกรสวนยาง จึงได้นำเรื่องนี้มาพูดคุยและได้รับการสนับสนุนจากสมาคมประชาสังคมชุมพรซึ่งได้รับงบประมาณการขับเคลื่อนสวนยางยั่งยืนจากสำนักนโยบายสาธารณะ(มอ.หาดใหญ่)ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้
ในปี 53 ทาง กยท.ได้อุดหนุนงบประมาณจำนวน 9 แสนบาทแก่เกษตรกร 9 ราย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการทำเกษตร ซึ่งทาง กยท.มีสิทธิประโยชน์หลากหลายที่ให้แก่เกษตรกรที่มีบัตรเขียวจะได้รับสิทธิประโยชน์จาก กยท.ทั้งในเรื่องของการสนับสนุนงบประมาณในการปรับปรุงหรือเปลี่ยนรูปแบบการปลูกยาง ส่วนเกษตรกรที่ยังมีบัตรสีชมพูต้องคอยการจัดสรร
การบำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่าด้วยระบบโซล่าเซลล์
โซล่าเซลล์ คือ ระบบโฟตอนที่ใช้การผลักพลังงานซึ่งเป็นกฎของธรรมชาติในการสร้างกระแสไฟซึ่งจากการทำงานต้องมีการแปลงกระแสไฟซึ่งในบ้านที่เราใช้อยู่เป็นกระแสสลับเพราะจะทำให้การส่งไฟได้เร็ว ซึ่งการทำให้เกิดพลังงานจะต้องมีกระแสความดัน ตามทฤษฎี 1 แรงม้าเท่ากับ 750 วัตต์ การดูแลรักษาแผลโซล่าเซลล์จะต้องทำความสะอาดด้วยน้ำเพราะจะทำให้ประสิทธิภาพของการใช้พลังงานมีประสิทธิภาพ การติดตั้งแผงควรติดตั้งตามเส้นศูนย์สูตรของโลกเพื่อให้เกิดการรับแสงที่ดีจากดวงอาทิตย์ ลักษณะคลื่นจะมี 3 ชนิด คลื่นบริสุทธิ์ คลื่นตกแต่ง คลื่นสี่เหลี่ยม
ระบบโซล่าเซลล์มี 4 ระบบ คือ
1.ระบบ ON-Grid คือ ระบบที่ใช้ร่วมกับสายส่งของการไฟฟ้าและเป็นระบบผสมไฟฟ้า
2.ระบบ Hybrid system คือ ระบบที่ใช้แบบผสมทั้งไฟฟ้าและพลังงานโซล่าเซลล์
3.ระบบHybrid On – Off Grid คือ ระบบผสมที่ใช้กับไฟฟ้าหรือไม่ใช้ก็ได้
4.ระบบ Off-Grid คือ ไม่ใช้ไฟจากการไฟฟ้าแต่ใช้ไฟจากโซล่าเซลล์
ความรู้ไฟฟ้าพื้นฐานที่ต้องมี
ประสบการณ์จากการใช้โซล่าเซลล์ที่ทาง กยท.สนับสนุน
- ขาดความเข้าใจเรื่องระบบและการดูแลรักษาแผง
- กยท.จัดจ้างช่างมาติดตั้งแต่ไม่บอกการดูแลรักษา
- การใช้ประโยชน์จากโซล่าร์เซลล์
สรุปแนวทางการขับเคลื่อน
ในภาวะที่เป็นช่วงหน้าแล้งเกษตรกรจะขาดน้ำที่จะใช้ประโยชน์ทางการเกษตรและครัวเรือน ซึ่งมีการจัดเก็บน้ำแต่ไม่เพียงพอกับการทำเกษตร ดังนั้นกลุ่มชาวสวนยางจึงอยากให้ทาง กยท.สนับสนุนเรื่องการใช้พลังงานโซล่าร์เซลล์ในการจัดการน้ำ
10
0
6. ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโดยทีมวิชาการเชื่อมโยงเครือข่าย กับเกษตรต้นแบบ และหรือ สถาบันเกษตรที่สังกัด
วันที่ 5 พฤศจิกายน 2564กิจกรรมที่ทำ
รวบรวมรายชื่อเกษตรกรที่ทำสวนยางผสมผสานและร่วมคัดกรองกับ กยท.ระนองเพื่อลงพื้นที่ถอดบทเรียนสวนยางยั่งยืนต้นแบบ 10 ราย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เกิดชุดข้อมุลการถอดบทเรียนพื้นที่ต้นแบบจำนวน 10 พื้นที่ ซึ่งแต่ละพื้นที่มีรูปแบบการจัดการที่แตกต่างกันและเป้นพื้นที่แปลงขนาดใหญ่
10
0
7. ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำ
ประสานความร่วมมือ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การขับเคลื่อนการดำเนินงานพืชร่วมยางจังหวัดระนองโดยในภาพรวมของการขับเคลื่อนจะมองตามทิศทางของชาวสวนยางภาคใต้ ดังนี้
1. การดำเนินงานสวนยางยั่งยืน ภายใต้ทิศทางของเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยางภาคใต้
2. รายงานผล/การติดตาม โครงการประกันรายได้ โครงการพัฒนาอาชีพ โครงสวนยางแปลงใหญ่ การปลูกแทน ยางพารา ไร่ละ 16,000 บาท และตามหลักเกณฑ์การส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการปลูกแทน ได้ปรับแบบและวิธีการปลูกแทน ไว้ 3 รูปแบบ ได้แก่ แบบที่ 1 ปลูกแทนด้วยยางพันธุ์ดี แบบที่ 2 ปลูกแทนด้วยต้นไม้ยืนต้นชนิดอื่นที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ แบบที่ 3 ปลูกแทนแบบเกษตรกรรมยั่งยืน โดยแบ่งเป็นพืชหลักเป็นปลูกยางพันธุดีเป็นพืชหลัก และปลูกไม้ยืนต้นที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจเป็นพืชหลัก
3. การดำเนินงานของสถาบันเกษตรกรปี 63 ให้รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการสนับสนุนปี 63 ได้แก่ การใช้เงินตามหลักเกณฑ์ การรับเงินอุดหนุนปี 63 และการเสนอโครงการขอใช้เงิน ปี 64 รวมทั้งการประกันอุบัติเหตุกลุ่มเกษตรสาวนยาง,สวนประสบภัย
การดำเนินงานพืชร่วมยางหรือสวนยางยั่งยืน โดยสรุปสาระสำคัญการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคง
ทางอาหาร :เกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ (พืชร่วมยาง,ตำบลบูรณาการระบบอาหาร,แผนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ) ในจังหวัดชุมพร,ระนอง,นครศรีธรรมราช,นราธิวาส (สุราษฎร์ธานี ) ภายใต้แผนงาน :ศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศนส.มอ.)ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อยกระดับและขยายผลกระบวนการทำงานแบบเครือข่ายและเพิ่มการประสานความร่วมมือของภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน และสื่อมวลชน ในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะตามประเด็นความมั่นคงทางอาหาร
การดำเนินงานพืชร่วมยาง กรอบกิจกรรมและผลลัพธ์ตามแผนงานโครงการที่ตั้งไว้ ดังนี้
พืชร่วมยาง ตามงบประมาณ 200,000 บาท
กิจกรรมตามแผนงาน
- ประชุมปรึกษาหารือคณะทำงานจังหวัด
- คัดเลือกเกษตรกรนำร่อง 10 ราย/จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสวนยางยั่งยืน และการเพิ่มเติมทักษะการดูแลบำรุงรักษาระบบสูบน้ำด้วยโซลาเซล
- ติดตาม สนับสนุน ถอดบทเรียน
- เวทีแลกเปลี่ยนสรุปบทเรียน/จัดทำข้อเสนอ
- ร่วมเวทีสังเคราะห์บทเรียนและข้อเสนอระดับภาคใต้ (เวทีร่วมระดับภาค)
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
- เกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเป้าหมาย ทำพืชร่วมยางเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90
- ครัวเรือนเป้าหมายที่ทำพืชร่วมยางมีผลผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือนร้อยละ 90
- เศรษฐกิจครัวเรือนเป้าหมายดีขึ้น (รายได้เพิ่มขึ้น/รายจ่ายลดลง)
- จำนวนเกษตรกรที่ทำเกษตรแบบอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพในพื้นที่เป้าหมายเพิ่มขึ้นร้อยละ 90
ซึ่งตามแผนการขับเคลื่อนงานพืชร่วมยางของจังหวัดระนองได้มีการปรับเปลี่ยนคนรับผิดชอบเพื่อให้การดำเนินงานไปในทิศทางที่สอดคล้องกับ กยท.จังหวัดระนองซึ่งเป็นการยอมรับของทุกฝ่ายและทาง ผอ.กยท.จังหวัดระนองและทีมเห็นชอบให้ ผู้ช่วย กยท.นายเรืองวิทย์ และ นายสว่าง เป็นผู้รับผิดชอบและมีการทบทวนเกษตรกร 10 ราย ดังนี้
1. นายอุดม คำแป้น มีสวนยางจำนวน 100 ไร่ โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน ในส่วนที่ 2-3มีการปลูกยางแบบสวนผลมผสาน โดยมี การปลูก ปาล์ม โกโก้ ทุเรียน กาแฟ ไม้เศรษฐกิจ มะพร้าว กล้วย และมีการเลี้ยงปลา หมูหลุม เพื่อผลิตปุ๋ยใช้เอง
2.นายพงษ์ศร สีสิน มีที่ดินจำนวน 200 ไร่ 7 แปลงซึ่งไม่มีเอกสารสิทธิจึงไม่สามารถขอเงินสงเคราะห์การทำสวนยางได้ แต่มีการทำไร่ผสมผสานในสวนยางมีการปลูก ทุเรียน หมาก สะตอ กาแฟ ตะเคียน
3.นายอภิชัย นาคฤทธิ์ มีสวนยางจำนวน 50 ไร่ โดยมีการปลูกแบบผสมผสานแต่เป็นการปลูกไม้เศรษฐกิจ เช่น ตะเคียน จำปา ยางนา พะยอม และผักเหลียง มะเดื่อ
4.นายสุลาวัตร เตาตระกูล มีสวนยาง 30 ไร่ โดยมีการปลูกแบบผสมผสาน คือ ทุเรียน กาแฟ สะตอ หมาก กล้วยหอมและมีการขุดสระเพื่อสร้างแหล่งน้ำในพื้นที่
5.นายสินมหัด ด่อนศรี มีสวนยาง 6 ไร่ ปาล์ม 30 ไร่ โดยมีการปลูกจำปาทองและมีการขุดสระเพื่อสร้างแหล่งน้ำในพื้นที่ และมีการใช้พื้นที่แยกจากสวนปาล์ม ยาง เป็นพื้นที่เลี้ยงสัตว์โดยมีการเลี้ยงวัว 40 ตัว หมู 80 ตัวโดยมีการขายเนื้อหมูเดือนละ 180 ตัวและใช้ขี้หมูในการเป็นปุ๋ยให้แก่หญ้าเนียเปีย
6.นายพูนธวัช เหล่าประวัติชัย มีพื้นที่ 15 ไร่ โดยมีการปลูกผักเหลียง กล้วย ไม้ดอก เพื่อให้มีการปลูกที่หลากหลายและจะทำให้เป็นพื้นที่ตัวอย่างของจังหวัดระนอง
7.นางสุจินต์ ศรีเกตุ หมู่11ต.ลำเลียง อ.กระบุรี
8.นายสมศักดิ์ ไชยนาศักดิ์ หมู่2 ต.ละอุ่นใต้ อ.ละอุ่น
9.นายบาหรี หมาดหมัน หมู่8ต.นาคา อ.สุขสำราญ
10.นายวินัย ทองพร้อม หมู่7 ต .นาคา อ.สุขสำราญ
โดยหลังจากการประชุมทาง กยท.ระนองจะมีการบูรณาการแผนพืชร่วมยางกับแผนงานของ กยท.เพื่อให้การดำเนินงานเกิดประโยชน์กับทุกฝ่ายและจะมีการลงพื้นที่เก็บข้อมูลเกษตรกรต้นแบบในพื้นที่เป็นลำดับต่อไป
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างความร่วมมือกับภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชน ในการขยายผลเกษตรผสมผสานหรือวนเกษตรในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1. เกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเป้าหมาย ทำพืชร่วมยางเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90
2. ครัวเรือนเป้าหมายที่ทำพืชร่วมยางมีผลผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือนร้อยละ 90
3. เศรษฐกิจครัวเรือนเป้าหมายดีขึ้น (รายได้เพิ่มขึ้น/รายจ่ายลดลง) 4)จำนวนเกษตรกรที่ทำเกษตรแบบอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพในพื้นที่เป้าหมายเพิ่มขึ้นร้อยละ 90
0.00
2
เพื่อติดตาม สนับสนุนและสังเคราะห์ความรู้พร้อมข้อเสนอต่อการทำสวนยางยั่งยืนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : เกิดเครือข่ายจาก 4 ภาคส่วน คือ ภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
พืชร่วมยาง ระนอง จังหวัด ระนอง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายภัทร์พงศ์รวิญ สุวรรณสอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ พืชร่วมยาง ระนอง ”
จังหวัดระนองหัวหน้าโครงการ
นายภัทร์พงศ์รวิญ สุวรรณสอง
ชื่อโครงการ พืชร่วมยาง ระนอง
ที่อยู่ จังหวัดระนอง จังหวัด ระนอง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 ตุลาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"พืชร่วมยาง ระนอง จังหวัดระนอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดระนอง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
พืชร่วมยาง ระนอง
บทคัดย่อ
โครงการ " พืชร่วมยาง ระนอง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดระนอง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 ตุลาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดำเนินงานประเด็นความมั่นคงอาหาร:ระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ ของคณะทำงานศึกษาและพัฒนาข้อเสนอพัฒนาระบบเกษตร
และอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ และคณะทำงานยุทธศาสตร์ กขป.ภาคใต้ จากเวทีสร้างสุขภาคใต้ ปี 2562 ภายใต้หลักคิดสำคัญ 3 ประการ ได้แก่ อธิปไตยทางอาหาร สร้างหลักประกันในชีวิต จัดความสัมพันธ์ใหม่ โดยมีเป้าหมายร่วมกัน คือ ความมั่นคงทางอาหารและชีวิตพลเมืองฅนใต้ มีประเด็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญ 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่ เพื่อนำเข้า การพัฒนาระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ ตั้งอยู่ภายใต้หลักคิดสำคัญ 3 ประการ ได้แก่ อธิปไตยทางอาหาร ด้วยการส่งเสริมสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรให้เกิดความสมดุลยั่งยืน มีระบบจัดการผลผลิตที่เกื้อกูลและเหมาะสมกับบริบทพื้นที่ เพื่อให้มีปริมาณอาหารที่เพียงพอ มีคุณภาพอาหารปลอดภัย สร้างหลักประกันในชีวิต ด้วยการเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ มีหลักประกันทางรายได้และสวัสดิการ สวัสดิภาพ มีความมั่นคงทางสุขภาพแก่พลเมืองฅนใต้ จัดความสัมพันธ์ใหม่ ปรับกระบวนทัศน์ใหม่ในการจัดหรือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน ระหว่างชุมชนท้องถิ่นกับหน่วยงานองค์กรภาครัฐและเอกชน ระหว่างกลุ่มองค์กรเครือข่ายด้วยกัน มีความเคารพศักดิ์ครีความเป็นมนุษย์ต่อกันด้วยหลักปฏิบัติ “คิดเอื้อ คิดเผื่อ เพื่อนช่วยเพื่อน พี่ดูแลน้อง ” และแบ่งปันผลประโยชน์ที่เหมาะสม เท่าเทียม เป็นธรรม ด้วยความพึงพอใจร่วมกันของหุ้นส่วนผลประโยชน์ตน ประโยชน์สาธารณะ จากฐานหลักคิดข้างต้นเพื่อให้เกิดหรือบรรลุเป้าหมายร่วมกัน คือ ความมั่นคงทางอาหารและชีวิตพลเมืองฅนใต้ จำเป็นต้องมีประเด็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญ 7 แนวทาง/ประเด็นสำคัญ ได้แก่ 1) การพัฒนาระบบและกลไกขับเคลื่อนระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ ทำหน้าที่ในการติดตาม ผลักดันแผนยุทธศาสตร์และข้อเสนอเชิงนโยบายสู่การปฏิบัติตามศักยภาพและโอกาสที่เอื้ออำนวย ด้วยยุทธวิธีสำคัญ เช่น การสร้างความรอบรู้ด้านอาหารศึกษาและบริโภคศึกษาแก่ประชาชนพลเมือง ติดตามทบทวนแผนยุทธศาสตร์พัฒนาระบบเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ให้เหมาะสมกับภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร และประยุกต์ใช้กระบวนการธรรมนูญสุขภาพระดับพื้นที่ ประกาศเขตเกษตรสุขภาพ (พื้นที่คุ้มครองทางเกษตรกรรมสุขภาพ) ในระดับพื้นที่ชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ และการสร้างความเข้มแข็งแก่สถาบันเกษตรกรให้เป็นเสาหลักของชุมชนท้องถิ่น พร้อมการเชื่อมโยงประสานเครือข่ายในระดับท้องถิ่น จังหวัดหรือภูมิภาคให้เป็นพลังสร้างการเปลี่ยนแปลงทางนโยบาย 2) การพัฒนาระบบเกษตรสุขภาพที่สอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น เกษตรยั่งยืน วนเกษตร เกษตรธรรมชาติ (mao) ธนาคารต้นไม้ เกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดภัย เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ และ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำประมงชายฝั่ง) โดยส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตแก่เกษตรกรและผู้ประกอบการ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานและเพิ่มมูลผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานโดยหลักอาชีวอนามัย การส่งเสริมการผลิตเกษตรปลอดสารอาหารปลอดภัย การเฝ้าระวังสารเคมีเกษตรและอาหารปลอดภัย การส่งเสริมสนับสนุนและขยายผลให้ต้นไม้เป็นทรัพย์และหลักประกันในชีวิตเพื่อรองรับสังคมสูงวัย เป็นต้น 3) เสริมสร้างสุขภาวะชาวสวนยางและปาล์มน้ำมัน โดยการส่งเสริมวิจัยและพัฒนา เพิ่มมูลค่าในกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์จากปาล์มน้ำมันและยางพารา ให้แก่กลุ่มเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และผู้ประกอบการ การส่งเสริมและสนับสนุนสวนยางยั่งยืน ส่งเสริมการปรับวิถีการผลิตปาล์มน้ำมันแบบผสมผสานและเพิ่มประสิทธิการจัดการแปลง การส่งเสริมและขยายผลสวนเกษตรธาตุสี่หรือสวนสมรม สร้างมาตรการส่งเสริมการออมและสวัสดิการเพื่อเป็นหลักประกันในชีวิตแก่ชาวสวนยางพาราและปาล์มน้ำมัน เป็นต้น 4) การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมและพืชอัตลักษณ์ถิ่น โดยการอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาพันธุ์พืชและสัตว์ ให้คงอยู่เป็นฐานทรัพยากรกับชุมชนท้องถิ่น การส่งเสริมธนาคารเมล็ดพันธุ์และพันธุกรรมถิ่น การวิจัยและพัฒนาสมุนไพรเพื่อสุขภาพและการแพทย์ประจำถิ่น เช่น กัญชาเพื่อการแพทย์ กระท่อมชูกำลัง ขมิ้นถิ่นใต้ ฯ การพัฒนาต่อยอดพืชอัตลักษณ์ถิ่นให้เกิดมูลค่าและคุณค่าเพิ่มขึ้น เช่น กล้วยเล็บมือนางชุมพร ข้าวสังข์หยดพัทลุง ข้าวเหลืองปะทิว ส้มโอทับทิมสยาม เป็นต้น 5) การอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาระบบนิเวศสิ่งแวดล้อมที่สมดุลยั่งยืน โดยการขยายผลการสร้างฝายมีชีวิตและการจัดการน้ำแบบมีส่วนร่วม การอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาทรัพยากรดิน น้ำ ป่า และสภาพแวดล้อม การพัฒนากลไกเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและภูมิอากาศแบบมีส่วนร่วม การประเมินผลกระทบเชิงยุทธศาสตร์ และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA) เป็นต้น 6) สุขภาวะชาวประมง โดยมีแนวทางสำคัญ เช่น มาตรการคุ้มครองพื้นที่สัวต์น้ำและประมงชายฝั่ง ธนาคารอาหารสัตว์น้ำ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าประมง ฯ 7)เพิ่มประสิทธิการบริหารจัดการตลาดให้เกิดการลดช่องว่างระหว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภค โดย เสริมสร้างการเชื่อมโยงการจัดการของกลุ่มผู้ผลิตเกษตรสุขภาพกับผู้ประกอบการท่องเที่ยวหรือกลุ่มท่องเที่ยวชุมชน การสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการภาคเกษตร (เกษตรกรมืออาชีพ เกษตรกรรุ่นใหม่ ครัวเรือนพอเพียง ผู้ประกอบการครัวเรือน ) สร้างและพัฒนาโอกาสบริหารจัดการตลาดชุมชนท้องถิ่น ตลาดทั่วไป ตลาดออนไลน์แก่ผู้ประกอบการ การยกระดับการตลาดด้วยเชื่อมโยงจับคู่ธุรกิจ (Business Matching) การค้าการลงทุนหรือการร่วมทุน ระหว่างผู้ประกอบการกับหุ้นส่วนทางธุรกิจ โดยในจังหวัดระนอง................................
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความร่วมมือกับภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชน ในการขยายผลเกษตรผสมผสานหรือวนเกษตรในพื้นที่
- เพื่อติดตาม สนับสนุนและสังเคราะห์ความรู้พร้อมข้อเสนอต่อการทำสวนยางยั่งยืนในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง
- ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง
- ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง
- ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง
- ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโดยทีมวิชาการเชื่อมโยงเครือข่าย กับเกษตรต้นแบบ และหรือ สถาบันเกษตรที่สังกัด
- จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อทบทวนวิเคราะห์ รูปแบบ/วิธีการปรับใช้การทำเกษตรกรรมยั่งยืนในสวนยาง ที่เหมาะสมและสรุปร่างข้อเสนอ
- ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง
- ประชุมประสานเครือข่ายจังหวัดระนอง
- เครือข่ายร่วมกับ กยท. จัดทำพัฒนาข้อเสนอ แนวทางการทำเกษตรกรรมยั่งยืนในสวนยาง และสร้างความร่วมมือขับเคลื่อนและผลักดันทางนโยบายต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- พัฒนาศักยภาพเกษตรกรสวนยาง 10 รายร่วมกับ กยท.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดเครือข่ายความร่วมมือในการขยายผลการทำสวนยางยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดชุมพร
- เกษตรชาวสวนยางรายย่อยเป้าหมาย ทำเกษตรผสานผสาน/วนเกษตร (พืชร่วมยาง)เพิ่มขึ้นร้อยละ90
- ครัวเรือนเกษตรกรเป้าหมายที่ทำพืชร่วมยางมีผลผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อการบริโภคในครัวเรือนร้อยละ90
- เกิดชุดความรู้การทำเกษตรผสมผสาน/วนเกษตรและข้อเสนอเชิงนโยบายการทำสวนยางยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง |
||
วันที่ 20 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำประสานผู้เข้าร่วม -แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
2. ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง |
||
วันที่ 28 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำประสานความร่วมมือ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
3. ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายและภาคีที่เกี่ยวข้อง |
||
วันที่ 20 ตุลาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
30 | 0 |
4. ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง |
||
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2563กิจกรรมที่ทำประสานผู้เข้าร่วม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ประสานความร่วมมือ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
5. พัฒนาศักยภาพเกษตรกรสวนยาง 10 รายร่วมกับ กยท. |
||
วันที่ 30 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำประสานทีม กยท.ระนอง ออกแบบกระบวนการ นัดวันอบรมและเชิญวิทยากรโดยใช้สวนพูนธวัชเป็นที่อบรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเกษตรกรบ้านน้ำจืดมีบ่อบาดาลที่ใช้ประโยชน์ได้จริงน้อยซึ่งทางแกนนำได้ประสานขอความร่วมมือจากทุกภาคส่วนเพื่อทำให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งน้ำแต่ยังมีความเป็นไปได้น้อยเพราะหน่วยงานต่างๆยังไม่มีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลเรื่องการจัดการน้ำให้กับเกษตรกร
การยางแห่งประเทศไทยมีการสนับสนุนให้เกษตรกรทำสวนยางยั่งยืนจากการขอสงเคราะห์ตามมาตรา 49(2) ในรูปแบบ 3 คือการปลูกแบบผสมผสานคือการปลูกแบบ 40 ต้นและให้มีการผสมผสานด้วยการปลูกไม้ผล เลี้ยงปลา ซึ่งเป็นแรงจูงใจให้ต่อจากการสงเคราะห์ไร่ละ 16,000 บาทตามระเบียบ ทาง กยท.แห่งประเทศไทยได้เล็งเห็นว่าการปลูกแบบผสมผสานซึ่งต้องมีส่วนประกอบของน้ำ ดังนั้นจึงได้มีการสนับสนุนโซล่าเซลล์ให้กับแปลงต้นแบบจำนวน 9 รายในจังหวัดระนองตามมาตรา 49(3) คือการปลูกแบบธรรมชาติ นอกจากนี้การยางยังมีการทำประกันให้แก่เกษตรกรที่เสียชีวิตตามระเบียบของการยางเพื่อให้เกษตรกรได้มีการเยียวยา แต่ทาง กยท.แห่งประเทศไทยไม่ได้มีการให้ความรู้ในการดูแลรักษาระบบโซล่าร์เซลล์ทำให้ผู้ที่ได้รับขาดความรู้ในการดูแลรักษาซึ่งเป็นเรื่องใหม่สำหรับชาวเกษตรกรสวนยาง จึงได้นำเรื่องนี้มาพูดคุยและได้รับการสนับสนุนจากสมาคมประชาสังคมชุมพรซึ่งได้รับงบประมาณการขับเคลื่อนสวนยางยั่งยืนจากสำนักนโยบายสาธารณะ(มอ.หาดใหญ่)ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้
ในปี 53 ทาง กยท.ได้อุดหนุนงบประมาณจำนวน 9 แสนบาทแก่เกษตรกร 9 ราย เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการทำเกษตร ซึ่งทาง กยท.มีสิทธิประโยชน์หลากหลายที่ให้แก่เกษตรกรที่มีบัตรเขียวจะได้รับสิทธิประโยชน์จาก กยท.ทั้งในเรื่องของการสนับสนุนงบประมาณในการปรับปรุงหรือเปลี่ยนรูปแบบการปลูกยาง ส่วนเกษตรกรที่ยังมีบัตรสีชมพูต้องคอยการจัดสรร
ระบบโซล่าเซลล์มี 4 ระบบ คือ ประสบการณ์จากการใช้โซล่าเซลล์ที่ทาง กยท.สนับสนุน - ขาดความเข้าใจเรื่องระบบและการดูแลรักษาแผง - กยท.จัดจ้างช่างมาติดตั้งแต่ไม่บอกการดูแลรักษา - การใช้ประโยชน์จากโซล่าร์เซลล์ สรุปแนวทางการขับเคลื่อน ในภาวะที่เป็นช่วงหน้าแล้งเกษตรกรจะขาดน้ำที่จะใช้ประโยชน์ทางการเกษตรและครัวเรือน ซึ่งมีการจัดเก็บน้ำแต่ไม่เพียงพอกับการทำเกษตร ดังนั้นกลุ่มชาวสวนยางจึงอยากให้ทาง กยท.สนับสนุนเรื่องการใช้พลังงานโซล่าร์เซลล์ในการจัดการน้ำ
|
10 | 0 |
6. ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโดยทีมวิชาการเชื่อมโยงเครือข่าย กับเกษตรต้นแบบ และหรือ สถาบันเกษตรที่สังกัด |
||
วันที่ 5 พฤศจิกายน 2564กิจกรรมที่ทำรวบรวมรายชื่อเกษตรกรที่ทำสวนยางผสมผสานและร่วมคัดกรองกับ กยท.ระนองเพื่อลงพื้นที่ถอดบทเรียนสวนยางยั่งยืนต้นแบบ 10 ราย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเกิดชุดข้อมุลการถอดบทเรียนพื้นที่ต้นแบบจำนวน 10 พื้นที่ ซึ่งแต่ละพื้นที่มีรูปแบบการจัดการที่แตกต่างกันและเป้นพื้นที่แปลงขนาดใหญ่
|
10 | 0 |
7. ประชุม ประสานความร่วมมือเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จ.ระนอง |
||
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2565กิจกรรมที่ทำประสานความร่วมมือ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการขับเคลื่อนการดำเนินงานพืชร่วมยางจังหวัดระนองโดยในภาพรวมของการขับเคลื่อนจะมองตามทิศทางของชาวสวนยางภาคใต้ ดังนี้
1. การดำเนินงานสวนยางยั่งยืน ภายใต้ทิศทางของเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยางภาคใต้ การดำเนินงานพืชร่วมยางหรือสวนยางยั่งยืน โดยสรุปสาระสำคัญการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคง
ทางอาหาร :เกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพภาคใต้ (พืชร่วมยาง,ตำบลบูรณาการระบบอาหาร,แผนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพ) ในจังหวัดชุมพร,ระนอง,นครศรีธรรมราช,นราธิวาส (สุราษฎร์ธานี ) ภายใต้แผนงาน :ศูนย์วิชาการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศนส.มอ.)ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อยกระดับและขยายผลกระบวนการทำงานแบบเครือข่ายและเพิ่มการประสานความร่วมมือของภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน และสื่อมวลชน ในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะตามประเด็นความมั่นคงทางอาหาร การดำเนินงานพืชร่วมยาง กรอบกิจกรรมและผลลัพธ์ตามแผนงานโครงการที่ตั้งไว้ ดังนี้
พืชร่วมยาง ตามงบประมาณ 200,000 บาท
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ซึ่งตามแผนการขับเคลื่อนงานพืชร่วมยางของจังหวัดระนองได้มีการปรับเปลี่ยนคนรับผิดชอบเพื่อให้การดำเนินงานไปในทิศทางที่สอดคล้องกับ กยท.จังหวัดระนองซึ่งเป็นการยอมรับของทุกฝ่ายและทาง ผอ.กยท.จังหวัดระนองและทีมเห็นชอบให้ ผู้ช่วย กยท.นายเรืองวิทย์ และ นายสว่าง เป็นผู้รับผิดชอบและมีการทบทวนเกษตรกร 10 ราย ดังนี้
1. นายอุดม คำแป้น มีสวนยางจำนวน 100 ไร่ โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน ในส่วนที่ 2-3มีการปลูกยางแบบสวนผลมผสาน โดยมี การปลูก ปาล์ม โกโก้ ทุเรียน กาแฟ ไม้เศรษฐกิจ มะพร้าว กล้วย และมีการเลี้ยงปลา หมูหลุม เพื่อผลิตปุ๋ยใช้เอง
2.นายพงษ์ศร สีสิน มีที่ดินจำนวน 200 ไร่ 7 แปลงซึ่งไม่มีเอกสารสิทธิจึงไม่สามารถขอเงินสงเคราะห์การทำสวนยางได้ แต่มีการทำไร่ผสมผสานในสวนยางมีการปลูก ทุเรียน หมาก สะตอ กาแฟ ตะเคียน โดยหลังจากการประชุมทาง กยท.ระนองจะมีการบูรณาการแผนพืชร่วมยางกับแผนงานของ กยท.เพื่อให้การดำเนินงานเกิดประโยชน์กับทุกฝ่ายและจะมีการลงพื้นที่เก็บข้อมูลเกษตรกรต้นแบบในพื้นที่เป็นลำดับต่อไป
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างความร่วมมือกับภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชน ในการขยายผลเกษตรผสมผสานหรือวนเกษตรในพื้นที่ ตัวชี้วัด : 1. เกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเป้าหมาย ทำพืชร่วมยางเพิ่มขึ้น ร้อยละ 90 2. ครัวเรือนเป้าหมายที่ทำพืชร่วมยางมีผลผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือนร้อยละ 90 3. เศรษฐกิจครัวเรือนเป้าหมายดีขึ้น (รายได้เพิ่มขึ้น/รายจ่ายลดลง) 4)จำนวนเกษตรกรที่ทำเกษตรแบบอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยเพื่อสุขภาพในพื้นที่เป้าหมายเพิ่มขึ้นร้อยละ 90 |
0.00 | |||
2 | เพื่อติดตาม สนับสนุนและสังเคราะห์ความรู้พร้อมข้อเสนอต่อการทำสวนยางยั่งยืนในพื้นที่ ตัวชี้วัด : เกิดเครือข่ายจาก 4 ภาคส่วน คือ ภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
พืชร่วมยาง ระนอง จังหวัด ระนอง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายภัทร์พงศ์รวิญ สุวรรณสอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......