แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ งานบริหารจัดการกลาง ศวสต. ปี 2 ”
หัวหน้าโครงการ
ซูวารี มอซู
ชื่อโครงการ งานบริหารจัดการกลาง ศวสต. ปี 2
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 60-00-18 เลขที่ข้อตกลง 60-00-1889
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"งานบริหารจัดการกลาง ศวสต. ปี 2 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
งานบริหารจัดการกลาง ศวสต. ปี 2
บทคัดย่อ
โครงการ " งานบริหารจัดการกลาง ศวสต. ปี 2 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 60-00-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 736,739.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- บริหารจัดการโครงการ ศวสต.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินงานโครงการ ศวสต.ปี 2
วันที่ 5 ตุลาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมคณะทำงานในโครงการ ศวสต. เพื่อวางแผนการดำเนินงาน และมอบหมายงานให้รับผิดชอบ โดยแบ่งตามโซนที่รับผิดชอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้มอบหมายงานตามโซนให้รับผิดชอบ ดังนี้
- โซนใต้บน ทำเรื่องการจัดการปัจจัยเสี่ยง ผู้รับผิดชอบ น.ส.ซุวารี มอซู
- โซนใต้กลาง ทำเรื่องระบบอาหารในจังหวัดสงขลา และพัทลุง ให้ น.ส.วรรณา สุวรรณชาตร รับผิดชอบ ส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช ให้ น.ส.ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
- โซนใต้ล่าง ทำเรื่องสันติสุขภาวะและการแพทย์พหุวัฒนธรรมให้ น.ส.ซูวารี มอซู
- โซนอันดามัน ทำเรื่องการท่องเที่ยวโดยชุมชน มอบหมายให่ น.ส.ซุวารี มอซู
ซึ่งทั้งหมดมี อ.เพ็ญ สุขมาก เป็นผู้ดูแลภาพรวมและที่ปรึกษาในการทำโครงการ
10
0
2. ค่าธรรมเนียมบริการวิชาการ 15% งวดที่ 1
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
100
0
3. ประชุุมคณะกรรมการกำกับทิศทางโครงการ ศวสต.ครั้งที่ 1/2560
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2560 ลงพื้นที่อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
รับฟังการนำเสนอการทำงานเขตสุขภาพระดับอำเภอ (DHB) เรื่อง การจัดการบุหรี่ระดับอำเภอ โดย คณะทำงาน DHB บ้านนาสาร ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลบ้านนาสารจ.สุราษฎร์ธานี
ลงพื้นที่เยี่ยมชมการดำเนินงานบูรณาการระดับตำบล เรื่อง ความมั่นคงของมนุษย์ ประเด็น ผู้สูงอายุ หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และหมู่บ้านปลอดขยะ แลกเปลี่ยน/ให้ข้อเสนอแนะ โดย คณะกรรมการกำกับทิศ ศวสต. และ สจรส. ม.อ.
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09.00 – 15.00 น.
ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศ โครงการ ศวสต. ณ ห้องประชุม สปสช.เขต 11 จ.สุราษฎร์ธานี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานเรื่องการจัดการขยะและงานผู้สูงอายุในระดับตำบลและ พชอ.
- ได้คำแนะนำต่อการดำเนินงานโครงการ ศวสต.ในงวดที่ 1 และการดำเนินงานสร้างสุขภาคใต้ โดยเฉพาะการทำงานในพื้นที่โซนใต้บน ด้านการจัดการปัจจัยเสี่ยง และการขับเคลื่อนผ่าน พชอ.
60
40
4. ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศทางครั้งที่ 2
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.นำเสนอการทำงาน เรื่อง การแพทย์พหุวัฒนธรรมชายแดนใต้ กรณีอำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ณ โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
2.ลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินวิถีชุมชน ชุมชนบ้านซือเลาะ ต.เรียง อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส
3. ลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานชุมชนพหุวัฒนธรรม เรื่อง “สุขภาพดีวิถีธรรม” ของชุมชนวัดและมัสยิด ต.ลาโละ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส
4. รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ ศวสต. งวดที่ ๑
5. การดำเนินงาน การจัดระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม
โรงพยาบาลยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
โรงพยาบาลธารโต จังหวัดยะลา
โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
โรงพยาบาลเทพา จังหวัดสงขลา โรงพยาบาลสตูล จังหวัดสตูล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานประเด็นการแพทย์พหุวัฒนธรรมในพื้นที่บ้านซือเลาะ ดำเนินงานเรื่องการแพทย์ฉุกเฉิน และบ้านลาโล๊ะ ดำเนินงานเรื่องสังคม 2 ศาสนา ที่อยู่ร่วมกันอย่างสันติ
2. ได้จัดประชุมคณะกรรมการฯ และนำเสนอผลการดำเนินงานการแพทย์ฯพหุ ใน 5 โรงพยาบาล พร้อมกับคำแนะนำในการดำเนินงานจากทีมบอร์ด ศวสต.
ผลลัพธ์
1. ทางชุมชนและคณะทำงานทีมการแพทย์พหุทั้ง 5 โรงพยาบาล และชุมชนในพื้นที่ ได้รับแนวทางการหนุนเสริมงาน และความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ร่วมลงพื้นที่
2. เกิดความร่วมมือการทำงานกับ กอ.รมน.ภาค 4 ในการแก้ไขปัญหาชายแดนใต้ โดยใช้เรื่องการแพทย์พหุ เป้นแนวทางสันติร่วมกัน
100
120
5. เบิกจ่ายเงินโครงการศูนย์วิชาการสร้าง้สริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.) งวดที่2
วันที่ 31 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
1
1
6. ค่าธรรมเนียมบริการวิชาการ 15% งวดที่ 2
วันที่ 1 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
100
0
7. ประชุมปรึกษาหารือร่วมกับ HIA RC
วันที่ 4 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
8
0
8. วางแผนการประเมินแผนงานสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง ปีที่ 1
วันที่ 5 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชุมปรึกษาหารือแผนการประเมินแผนงานสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง ปีที่ 1
2.วางแนวทางและกรอบการประเมิน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
4
4
9. ประชุมกรรมการกำกับทิศ ศวสต
วันที่ 30 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุม คณะกรรรมการกำกับทิศ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชุมคณะกรรรมการกำกับทิศ
30
185
10. ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศทางโครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้(ศวสต) ปีที่2 พ.ศ.2561-2562ครั้งที่4
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
64
64
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
บริหารจัดการโครงการ ศวสต.
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
งานบริหารจัดการกลาง ศวสต. ปี 2 จังหวัด
รหัสโครงการ 60-00-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ซูวารี มอซู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ งานบริหารจัดการกลาง ศวสต. ปี 2 ”
หัวหน้าโครงการ
ซูวารี มอซู
ชื่อโครงการ งานบริหารจัดการกลาง ศวสต. ปี 2
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 60-00-18 เลขที่ข้อตกลง 60-00-1889
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"งานบริหารจัดการกลาง ศวสต. ปี 2 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
งานบริหารจัดการกลาง ศวสต. ปี 2
บทคัดย่อ
โครงการ " งานบริหารจัดการกลาง ศวสต. ปี 2 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 60-00-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 736,739.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- บริหารจัดการโครงการ ศวสต.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินงานโครงการ ศวสต.ปี 2 |
||
วันที่ 5 ตุลาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 0 |
2. ค่าธรรมเนียมบริการวิชาการ 15% งวดที่ 1 |
||
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
100 | 0 |
3. ประชุุมคณะกรรมการกำกับทิศทางโครงการ ศวสต.ครั้งที่ 1/2560 |
||
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำวันที่ 14 พฤศจิกายน 2560 ลงพื้นที่อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09.00 – 15.00 น. ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศ โครงการ ศวสต. ณ ห้องประชุม สปสช.เขต 11 จ.สุราษฎร์ธานี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
60 | 40 |
4. ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศทางครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.นำเสนอการทำงาน เรื่อง การแพทย์พหุวัฒนธรรมชายแดนใต้ กรณีอำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ณ โรงพยาบาลรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
2.ลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินวิถีชุมชน ชุมชนบ้านซือเลาะ ต.เรียง อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส
3. ลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานชุมชนพหุวัฒนธรรม เรื่อง “สุขภาพดีวิถีธรรม” ของชุมชนวัดและมัสยิด ต.ลาโละ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส
4. รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ ศวสต. งวดที่ ๑
5. การดำเนินงาน การจัดระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานประเด็นการแพทย์พหุวัฒนธรรมในพื้นที่บ้านซือเลาะ ดำเนินงานเรื่องการแพทย์ฉุกเฉิน และบ้านลาโล๊ะ ดำเนินงานเรื่องสังคม 2 ศาสนา ที่อยู่ร่วมกันอย่างสันติ 2. ได้จัดประชุมคณะกรรมการฯ และนำเสนอผลการดำเนินงานการแพทย์ฯพหุ ใน 5 โรงพยาบาล พร้อมกับคำแนะนำในการดำเนินงานจากทีมบอร์ด ศวสต. ผลลัพธ์ 1. ทางชุมชนและคณะทำงานทีมการแพทย์พหุทั้ง 5 โรงพยาบาล และชุมชนในพื้นที่ ได้รับแนวทางการหนุนเสริมงาน และความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ร่วมลงพื้นที่ 2. เกิดความร่วมมือการทำงานกับ กอ.รมน.ภาค 4 ในการแก้ไขปัญหาชายแดนใต้ โดยใช้เรื่องการแพทย์พหุ เป้นแนวทางสันติร่วมกัน
|
100 | 120 |
5. เบิกจ่ายเงินโครงการศูนย์วิชาการสร้าง้สริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.) งวดที่2 |
||
วันที่ 31 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
1 | 1 |
6. ค่าธรรมเนียมบริการวิชาการ 15% งวดที่ 2 |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
100 | 0 |
7. ประชุมปรึกษาหารือร่วมกับ HIA RC |
||
วันที่ 4 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
8 | 0 |
8. วางแผนการประเมินแผนงานสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง ปีที่ 1 |
||
วันที่ 5 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชุมปรึกษาหารือแผนการประเมินแผนงานสุขภาวะท่ามกลางวิกฤตความรุนแรง ปีที่ 1 2.วางแนวทางและกรอบการประเมิน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
4 | 4 |
9. ประชุมกรรมการกำกับทิศ ศวสต |
||
วันที่ 30 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุม คณะกรรรมการกำกับทิศ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชุมคณะกรรรมการกำกับทิศ
|
30 | 185 |
10. ประชุมคณะกรรมการกำกับทิศทางโครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้(ศวสต) ปีที่2 พ.ศ.2561-2562ครั้งที่4 |
||
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
64 | 64 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | บริหารจัดการโครงการ ศวสต. ตัวชี้วัด : |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
งานบริหารจัดการกลาง ศวสต. ปี 2 จังหวัด
รหัสโครงการ 60-00-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ซูวารี มอซู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......