สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการชุมชนต้นแบบปลอดขยะและสารพิษ ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

โครงการชุมชนต้นแบบปลอดขยะและสารพิษ ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนต้นแบบปลอดขยะและสารพิษ ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานหลัก สาขาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม สาขาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ชื่อชุมชน บ้านหัวงัวหมู่ 4 5 และ14
ชื่อผู้รับผิดชอบ นางสาวอรัญญา นนทราช
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา นางสาวนิตยา แสงประจักษ์ สาขาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
การติดต่อ
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
งบประมาณ 264,800.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ นามน สงเปลือย place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ตำบลสงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ์
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ตำบลสงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ์ เป็นสังคมเกษตรกรรม ชาวบ้านส่วนใหญเป็นเกษตรกร นับตั้งแต่มีการตั้งมหาวิทยาลัย ปี 2542 ชุมชนมีการขยายตัวเรื่อยมามีการก่อสร้างร้านค้าและหอพักต่างๆ ทำให้มีขยะเกิดขึ้นจากชุมชนและการประกอบการของแม่ค้าปริมาณมากขึ้นทุกปี แม้รัฐบาลจะมีการณรงค์ให้แยกขยะ แต่จากการสังเกตองค์ประกอบของขยะที่เกิดขึ้นจากชุมชนทั้งร้านค้าและ
ข้อมูลประเด็นปัญหา
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์พื้นที่นามน ตั้งอยู่ที่ตำบลสงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ์ อยู่ใกล้กับหมู่บ้าน 3 หมู่บ้านขึ้นกับตำบลสงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ์ นับตั้งแต่มีการตั้งมหาวิทยาลัย ปี 2542 ชุมชนมีการขยายตัวเรื่อยมามีการก่อสร้างร้านค้าและหอพักต่างๆ ทำให้มีขยะเกิดขึ้นจากชุมชนและการประกอบการของแม่ค้าปริมาณมากขึ้นทุกปี แม้รัฐบาลจะมีการณรงค์ให้แยกขยะ แต่จากการสังเกตองค์ประกอบของขยะที่เกิดขึ้นจากชุมชนทั้งร้านค้าและครัวเรือน ยังมีขยะอินทรีย์ปนกับขยะพลาสติกก่อให้เกิดกลิ่นเหม็นและมีปริมาณขยะมากเกินความจำเป็น ทำให้เป็นภาระของเทศบาลสงเปลือยในการขนย้ายไปทิ้งแหล่งฝังกลบซึ่งห่างออกไปหลายสิบกิโลเมตรและทำให้สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง ตลอดจนมีการแพร่กระจายของกองขยะพลาสติกลงคลองข้างถนนทำให้เกิดสารพิษที่ปนมาในขยะแพร่กระจายลงไปยังพื้นที่การเกษตร
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การใช้ขยะอินทรีย์ในการหมักจุลินทรีย์สูตรต่างๆ เช่น พด.2 พด.3 และไตรโคเดอรมา

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์พื้นที่นามน ตั้งอยู่ที่ตำบลสงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ์ อยู่ใกล้กับหมู่บ้าน 3 หมู่บ้านขึ้นกับตำบลสงเปลือย อ.นามน จ.กาฬสินธุ์ ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม นับตั้งแต่มีการตั้งมหาวิทยาลัย ปีพ.ศ. 2542 ชุมชนมีการขยายตัวเรื่อยมามีการก่อสร้างร้านค้าและหอพักต่างๆ ทำให้มีขยะเกิดขึ้นจากชุมชนและการประกอบการของแม่ค้าปริมาณมากขึ้นทุกปี แม้รัฐบาลจะมีการณรงค์ให้แยกขยะ แต่จากการสังเกตองค์ประกอบของขยะที่เกิดขึ้นจากชุมชนทั้งร้านค้าและครัวเรือน ยังมีขยะอินทรีย์ปนกับขยะพลาสติกก่อให้เกิดกลิ่นเหม็นและมีปริมาณขยะมากเกินความจำเป็น ทำให้เป็นภาระของเทศบาลสงเปลือยในการขนย้ายไปทิ้งแหล่งฝังกลบซึ่งห่างออกไปหลายสิบกิโลเมตรและทำให้สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง ตลอดจนมีการแพร่กระจายของกองขยะพลาสติกลงคลองข้างถนนทำให้เกิดสารพิษที่ปนมาในขยะแพร่กระจายลงไปยังพื้นที่การเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพมหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ได้มีการจัดการเรียนการสอนหลายหลายสาขารวมทั้งวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและสาธารณสุขศาสตร์ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงมีโครงการชุมชนปลอดขยะและสารพิษ เป็นการนำนักศึกษาที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมโครงการ เพื่อลดปัญหาจากขยะและนำขยะไปใช้ประโยชน์เช่น การคัดแยกขยะเพื่อจำหน่าย การนำขยะอินทรย์ไปทำสารกำจัดศตรูพืชแบบชีวภาพโดยใช้นวัตกรรมการหมักจุลินทรีย์สูตรต่างๆ เช่น พด.2 พด.3 และไตรโคเดอรมา ซึ่งสอดคล้องกับสถาณการปัจจุบันที่มีการยกเลิกการใช้สารอันตราย พาราควอท ไกลโฟเสต คลอไพรีฟอส จะเป็นจุกเริ่มต้นในการสร้างชุมชนปลอดสารพิษและเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนในอนาคต

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • ชุมชนต้นแบบปลอดขยะและสารพิษ ตำบลสงเปลือย อำเภอนามน จังหวัดกาฬสินธุ์

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ find_in_page
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) find_in_page
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย aranyanontarach aranyanontarach เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 15:06 น.