โครงการเกษตรอินทรีย์นาวิถีสู่ความพอเพียง : การเลี้ยงไส้เดือน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 โครงการพิเศษภาคีเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยศรีปทุม
ข้อมูลโครงการ
ชื่อโครงการ | โครงการเกษตรอินทรีย์นาวิถีสู่ความพอเพียง : การเลี้ยงไส้เดือน ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 โครงการพิเศษภาคีเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยศรีปทุม |
สถาบันอุดมศึกษาหลัก | มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน |
หน่วยงานหลัก | โรงเรียนบางบัว (เพ่งตั้งตรงจิตรวิทยาคาร ) |
หน่วยงานร่วม | มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน |
ชื่อชุมชน | โรงเรียนบางบัว (เพ่งตั้งตรงจิตรวิทยาคาร ) |
ชื่อผู้รับผิดชอบ | บุญศิริ มะสัน |
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ | คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม |
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา | อ.บุญศิริ มะสัน อ.พิมพ์วิสาข์ ติ่งเคลือบ ดร.นวรัตน์ แซ่โค้ว ผศ. จิโรจน์ จติควร |
การติดต่อ | 02-579-1111 ต่อ 2196 |
ปี พ.ศ. | 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 15 พฤษภาคม 2562 - 14 มกราคม 2562 |
งบประมาณ | 7,000.00 บาท |
พื้นที่ดำเนินงาน
รายละเอียดชุมชน
ข้อมูลพื้นฐาน
สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ และได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ตำมความสนใจและถนัดของนักเรียนแต่ละบุคคลข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
สถานศึกษาสามารถการบริหารจัดการเวลาเรียน และจัดกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้สานฝันสู่อาชีพ ที่บูรณาการให้เกิดทักษะอาชีพได้อย่างเหมาะสม ทั้งด้านวิชาการ ด้านปฏิบัติ นักเรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความสนใจและถนัดของแต่ละบุคคลข้อมูลประเด็นปัญหา
- ครูยังไม่มีความรู้ด้านทักษะกระบวนการในการเขียนโปรแกรมในการควบคุม smart farm- การจัดการเรียนรู้ไม่มี เครื่องเสียง หรือโน๊ตบุกในการเตรียมให้วิทยาการบรรยาย
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
- ปรับปรุงห้องเรียนให้มีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกให้มากขึ้น- สถานศึกษาควรมีรูปแบบการประเมินการจัดกิจกรรมร่วมกับมหาวิทยาลัยศรีปทุม
ประเด็นปัญหาหลัก
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน
การพัฒนาด้านปัญญา ทักษะการคิด การคิดเชิงนวัตกรรม การแก้ปัญหา โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตจริง รวมทั้งพัฒนากระบวนการผลิตนวัตกรรมใหม่ๆที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต
รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล
คำสำคัญเพื่อการค้นหา
ประเมินคุณค่าโครงการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น | ผลที่เกิดขึ้น | ||
---|---|---|---|
1 | เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน | ||
2 | เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ | ||
3 | การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) | ||
4 | การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ | ||
5 | เกิดกระบวนการชุมชน | ||
6 | มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
ภาพถ่าย
วีดิโอ
ไฟล์เอกสาร
โครงการขยายผล
