โครงการบริการวิชาการสู่สังคม "การสร้างสรรค์และผลิตสื่อเพื่อเผยแพร่บนสื่อออนไลน์ ตลาดโก้งโค้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา"
ข้อมูลโครงการ
ชื่อโครงการ | โครงการบริการวิชาการสู่สังคม "การสร้างสรรค์และผลิตสื่อเพื่อเผยแพร่บนสื่อออนไลน์ ตลาดโก้งโค้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา" |
สถาบันอุดมศึกษาหลัก | มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน |
หน่วยงานหลัก | คณะนิเทศศาสตร์ |
หน่วยงานร่วม | |
ชื่อชุมชน | ชุมชนตลาดโก้งโค้ง บ้านแสงโสม |
ชื่อผู้รับผิดชอบ | ผศ.วรรณี งามขจรกุลกิจ |
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ | คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม |
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา | ผศ.นับทอง ทองใบ และ ผศ.บุณยนุช สุขทาพจท์ สาขาวิชาวิทยุ-โทรทัศน์, อ.จิตรา วรรณสอน และ อ.ชุมพล มียิ่ง สาขาวิชาการออกแบบสื่อสารออนไลน์ |
การติดต่อ | 02-579-1111 ต่อ 2335 |
ปี พ.ศ. | 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 10 ธันวาคม 2561 - 10 พฤษภาคม 2562 |
งบประมาณ | 15,000.00 บาท |
พื้นที่ดำเนินงาน
รายละเอียดชุมชน
ข้อมูลพื้นฐาน
ชุมชนตลาดโก้งโค้งเป็นตลาดย้อนยุคที่น่าสนใจแห่งหนึ่งซึ่งมีลักษณะเป็นบ้านเรือนไทยหมู่ใหญ่ ที่คงความเป็นสถาปัตยกรรมไทยโบราณไว้อย่างเด่นชัด ซึ่งในอดีตเป็นด่านขนอน (ด่านเก็บภาษีในอดีต) และเป็นสถานที่ที่มีการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้านานาชนิด ทั้งสินค้าในชุมชนและสินค้า และสินค้าที่มาจากต่างเมืองชื่อตลาดโก้งโค้ง มาจากการที่คนขายสินค้าจะนั่งอยู่บนพื้นดิน และคนที่มาซื้อของจะต้องโก้งโค้งเพื่อเลือกดูสินค้าที่ตนสนใจ การโก้งโค้งของคนไทยนั้นทำได้สุภาพ นุ่มนวล เป็นกิริยาที่แสดงถึงความอ่อนน้อมถ่อมตนในการซื้อขาย พ่อค้าแม่ค้าแต่งชุดไทยแบบชาวบ้าน ในปัจจุบันตลาดโก้งโค้งได้รับการรื้อฟื้นขึ้นมาเพื่อให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสกับประสบการณ์ย้อนยุคในการเลือกซื้อสินค้าภูมิปัญญาชุมชน และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางเลือกอีกหนึ่งแห่งสำหรับผู้คนที่เดินทางมาท่องเที่ยวจ.พระนครศรีอยุธยาข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ขาดเรื่องของการสร้างสรรค์และผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ชุมชนตลาดโก้งโค้งข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
ประเด็นปัญหาหลัก
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน
รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล
คำสำคัญเพื่อการค้นหา
ประเมินคุณค่าโครงการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น | ผลที่เกิดขึ้น | ||
---|---|---|---|
1 | เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน | ||
2 | เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ | ||
3 | การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) | ||
4 | การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ | ||
5 | เกิดกระบวนการชุมชน | ||
6 | มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
ภาพถ่าย
วีดิโอ
ไฟล์เอกสาร
โครงการขยายผล
