สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์สู่สากล ในเขตพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์

การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์สู่สากล ในเขตพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์สู่สากล ในเขตพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
หน่วยงานหลัก สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน กลุ่มสวนสมุนไพรนวดแผนไทย บ้านหัวนาคำ ตำบลกลางหมื่น อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ชื่อผู้รับผิดชอบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จารุวรรณ เอกสะพัง
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไอลัดดา โอ่งกลาง / สาขาวิชาการบัญชี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กชวรา ศาลารมย์ /สาขาวิชาการบัญชี
อาจารย์สรดา วงศ์มังกร / สาขาวิชาการบัญชี
นางสาวโฉมลัดดา หลุยภูงา / ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจชุมชน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุจิตรา ผาระนัด/สาขาวิชาวิศวกรรมการไฟฟ้า
การติดต่อ สาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิ
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2562 - 30 เมษายน 2563
งบประมาณ 0.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ กลางหมี่น place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
กลุ่มสวนสมุนไพรนวดแผนไทย จัดตั้งกลุ่ม ปี 2554 โดยมีสมาชิกในกลุ่มจำนวน 16 คน ซึ่งสมาชิกแต่ละคนจะเป็นผู้รู้เรื่องสมุนไพร การนวด และการประคบ พร้อมกับการนำสมุนไพรมาแปรรูปในการรักษาผู้ป่วย โดยกลุ่มจะใช้พื้นที่บ้าน นางสำลี วรรณภา ในการรักษาผู้ป่วยในการรักษาผู้ป่วย มีการออกนวดนอกสถานที่ ขึ้นอยู่กับลูกค้า และความปลอดภัยของผู้เข้ารับการรักษา และมุ่งเน้นให้ประชาชนที่เจ็บป่วยหายเป็นปกติ และสามารถใช้ชีวิตของตนอย่างมีความสุข และมุ่งเน้นการปลูกสมุนไพร เพื่อรักษาประชาชน สมาชิกจะช่วยกันปลูกและนำสมุนไพรที่ได้มาแปรรูปเช่น การทำลูกประคบ การทำพิมเสน เป็นต้น เ็นการต่อยอดขายของกลุ่ม สามารถจำหน่ายสร้างรายได้กับกลุ่มสมาชิก
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
กลุ่มมีความรู้ด้านสมุนไพร และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสมุนไพร สามารถปลูกสมุมไพร และทำลูกประคบ พิมเสน จำหน่าย รวมถึงมีสมาชิกจำนวนมาก
ข้อมูลประเด็นปัญหา
กลุ่มสามารถผลิตสินค้าได้ในจำนวนตามที่ลูกค้าต้องการ แต่หากมียอดการสั่งซื้อที่มากขึ้น คาดว่ากลุ่มจะไม่สามารถผลิตสินค้าเพื่อรองรับยอดการส่ั่งซื้อจำนวนมากได้ กลุ่มต้องมีการวางแผนในการบริหารจัดการกระบวนการผลิตให้เป็นระบบมากกว่าในปัจจุบัน และยังขาดเรื่องการเข้าถึงยากของลูกค้า ควรมีตลาดออนไลน์ และเรื่องการบันทึกบัญชีให้เป็นมาตรฐานสากล
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
1.ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ต้องการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อสามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปยุคปัจจุบัน
2. ด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ และด้านการตลาด
ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มยังไใช้บรรจุภัณฑ์ในรูปแบบเดิมๆ ไม่มีความทันสมัย ยังขาดตลาดออนไลน์ และความรู้ด้านทางการขายของผ่านออนไลน์
3. ด้านการบริหารจัดการสินค้าคงเหลือ สินค้าไม่พอกับความต้องการ
ต้องการเข้ามาบริหารจัดการด้านสินค้าคงเหลือ
3. ด้านการบัญชี
ต้องการความรู้การจัดทำบัญชีที่ถูกต้อง และสามารถเผยแพร่ได้

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ที่ได้ ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การบริหารจัดการระบบสินค้า การตลาด และการบัญชี
นวัตกรรม ได้แก่ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ใหม่

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • สมุนไพร ภูมิปัญญาท้องถิ่น ยกระดับผลิตภัณฑ์

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย Jaruwan Jaruwan เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 11:51 น.