การสร้างอาชีพเสริมด้วยผลิตภัณฑ์อาหารว่างจากเห็ด
ข้อมูลโครงการ
ชื่อโครงการ | การสร้างอาชีพเสริมด้วยผลิตภัณฑ์อาหารว่างจากเห็ด |
สถาบันอุดมศึกษาหลัก | มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ |
หน่วยงานหลัก | |
หน่วยงานร่วม | |
ชื่อชุมชน | กลุ่มผู้ผลิตและแปรรูปเห็ดครบวงจร อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ |
ชื่อผู้รับผิดชอบ | นางกรรณิการ์ ห้วยแสน |
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ |
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา | |
การติดต่อ | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร |
ปี พ.ศ. | 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 11 มีนาคม 2560 - 12 มีนาคม 2560 |
งบประมาณ | 47,200.00 บาท |
พื้นที่ดำเนินงาน
รายละเอียดชุมชน
ข้อมูลพื้นฐาน
บ้านโนนสูง อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้มีการแปรรูปเห็ดออกจำหน่าย ได้แก่ แหนมเห็ด เห็ดทอดกรอบและน้ำพริกเผาเห็ด อย่างไรก็ตามทางกลุ่มเกษตรกรมีความสนใจเพิ่มพูนทักษะการแปรรูปเห็ด เป็นอาหารว่างชนิดต่าง ๆ ได้แก่ ขนมปั้นขลิบทอด ขนมปั้นขลิบนึ่งไส้เห็ด กะหรี่พัฟไส้เห็ด สาคูไส้เห็ด ตะโก้เห็ดและขนมเทียนไส้เห็ด โดยสามารถสร้างเป็นอาชีพเสริม นอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มช่องทางในการจำหน่ายเห็ดรูปแบบต่าง ๆข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
ประเด็นปัญหาหลัก
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน
รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล
คำสำคัญเพื่อการค้นหา
ประเมินคุณค่าโครงการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น | ผลที่เกิดขึ้น | ||
---|---|---|---|
1 | เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน | find_in_page | |
2 | เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ | ||
3 | การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) | ||
4 | การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ | ||
5 | เกิดกระบวนการชุมชน | ||
6 | มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
ภาพถ่าย
วีดิโอ
ไฟล์เอกสาร
โครงการขยายผล
