1. โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลสุขภาพ ภาวะโภชนาการและการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลางของผู้ปกครองและครูพี่เลี้ยง (พ.ศ. 2560 - 2562)
1. โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลสุขภาพ ภาวะโภชนาการและการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลางของผู้ปกครองและครูพี่เลี้ยง (พ.ศ. 2560 - 2562)
ข้อมูลโครงการ
ชื่อโครงการ | 1. โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลสุขภาพ ภาวะโภชนาการและการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลางของผู้ปกครองและครูพี่เลี้ยง (พ.ศ. 2560 - 2562) |
สถาบันอุดมศึกษาหลัก | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ประสานมิตร) |
หน่วยงานหลัก | ส่วนกิจการเพื่อสังคม |
หน่วยงานร่วม | คณะพยาบาลศาสตร์, โรงพยาบาลศูนย์การเเพทย์ |
ชื่อชุมชน | อบต.องครักษ์, เทศบาลบ้านนา, อบต.นาหินลาด, บ้านโคกสว่าง, บ้านท่ามะปราง, อ.เมือง |
ชื่อผู้รับผิดชอบ | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วนิดา วิสุุุทธิพานิช |
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ | สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะพยาบาล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หมู่ที่ 7 63 ถนน รังสิต - นครนายก ตำบลองครักษ์ อำเภอองครักษ์ นครนายก 26120 |
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา | อาจารย์ณัฐวรา จันทร์เอี่ยม อาจารย์วรานุช พฤฒารัตน์ รองศาสตราจารย์เอื้อญาติ ชูชื่น นางสาวกฤตยา แสวงทรัพย์ อาจารย์กัญญาณัฐ สุภาพร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชฎาภรณ์ วัฒนวิไล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ลาวัณย์ รัตนเสถียร อาจารย์วัชรี ด่านกุล อาจารย์วันเพ็ญ รักษ์ปวงชน อาจารย์วิไลกุล หนูแก้ว นางสาวนันธิยา รักซ้อน นางสาวศิริพร จีนหวาด นางสาวณปภัช นิ่มสง่า นางสาวสรัลชนา นครคง นางนงนุช จิตตสงัด สิริ์ดาภัทร สุขฉวี ว่าที่ร้อยตรีสัมภาษณ์ จันทคนธ์ อาจารย์วานิด ด้วงเดช อาจารย์ชุติมาภรณ์ กังวาฬ นางสุธาวี จินตกสิกรรม |
การติดต่อ | vanida@g.swu.ac.th, 026495000 ต่อ 218914 |
ปี พ.ศ. | 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 4 ธันวาคม 2561 - 24 พฤษภาคม 2562 |
งบประมาณ | 270,000.00 บาท |
พื้นที่ดำเนินงาน
จังหวัด | อำเภอ | ตำบล | ลักษณะพื้นที่ | |
---|---|---|---|---|
นครนายก | องครักษ์ | องครักษ์ | place directions | |
นครนายก | บ้านนา | บ้านนา | ในเมือง | place directions |
นครนายก | ปากพลี | นาหินลาด | ชานเมือง | place directions |
นครนายก | เมืองนครนายก | นครนายก | ในเมือง | place directions |
รายละเอียดชุมชน
ข้อมูลพื้นฐาน
จากผลสำรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) ในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลางของผู้ปกครองและครูพี่เลี้ยงตั้งแต่ปีพ.ศ. 2556-2559 ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒพบว่าจำนวนเด็กไทยที่มีพัฒนาการไม่สมวัยมีอัตราส่วนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งสอดคล้องกับรายงานของสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย (กรมอนามัย, 2554, 2557) ที่พบว่าจำนวนเด็กไทยที่มีพัฒนาการไม่สมวัยในปี พ.ศ. 2548 ปีพ.ศ. 2553 และปีพ.ศ. 2557 เท่ากับร้อยละ 15.90 ร้อยละ 30 และ ร้อยละ 27.2 หรือ (ประมาณ 1 ล้านกว่าคน) ตามลำดับ ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยขององค์การอนามัยโลก ที่รายงานว่าเด็กช่วง 3 ปีหลัง มีพัฒนาการยิ่งล่าช้าถึงกว่า 30% โดยมีพัฒนาการล่าช้าสูงสุดด้านภาษา เกือบร้อยละ 20 รองลงมาเป็นด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กประมาณร้อยละ 9 ด้านสังคมและการช่วยเหลือตนเองประมาณร้อยละ 8 และกล้ามเนื้อมัดใหญ่ประมาณ ร้อยละ 7 นอกจากนี้ การที่เด็กมีพัฒนาการล่าช้าโดยเฉพาะทางด้านภาษา พบว่ามีความสัมพันธ์กับพัฒนาการล่าช้าด้านสติปัญญา และ Effective functionอย่างไรก็ตามจากผลสำรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) ในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลางของผู้ปกครองและครูพี่เลี้ยงตั้งแต่ปีพ.ศ. 2556-2559 ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ยังพบความสอดคล้องของปัญหาสุขภาพจากผลสำรวจข้อมูลพื้นฐานปัญหาและความต้องการของชุมชนด้านสุขภาพ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก ปี 2556 ที่พบปัญหาของเด็กปฐมวัยในเรื่องฟันผุถึง ร้อยละ 14.5 และมีภาวะทุโภชนาการ ประมาณร้อยละ 5 ซึ่งมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัยการพัฒนาเด็กปฐมวัย เป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดของการพัฒนาคุณภาพชีวิต เนื่องจากเป็นระยะที่สมองพัฒนาอย่างรวดเร็ว ดังนั้น จึงควรส่งเสริมให้เด็กมีความสมบูรณ์ในทุกด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพปากและฟัน โภชนาการ การได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน การป้องกันอุบัติเหตุและการได้รับสารพิษ และการส่งเสริมพัฒนาการสมองและการเรียนรู้ตามวัย
นอกจากนี้ผลของโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลสุขภาพและกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยผู้ปกครองและครูพี่เลี้ยง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก (อ้อมจิต ว่องวาณิช วนิดา วิสุทธิพานิช ทัศนียา วังสะจันทานนท์ เพ็ญนภา ฤทธิ์วงศ์ สุวรรณวงษ์ และสุปราณี ภู่ระหงษ์, 2557) พบว่าปัญหาสุขภาพของเด็กปฐมวัยยังไม่สามารถแก้ไขได้อย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน เนื่องจากขาดความร่วมมือจากผู้ปกครองที่ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลจัดการกับปัญหาสุขภาพ และสถานบริการสุขภาพ รวมทั้งไม่มีเวลาให้บุตรหลาน เนื่องจากต้องทำงาน
สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตระหนักถึงความสำคัญ
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
มีระบบการบริหารจัดการในเรื่องของสุขภาพจากภาครัฐในเรื่องเด็กเล็ก และมีครูพี่เลี้ยงดูแลข้อมูลประเด็นปัญหา
ปัญหาของเด็กปฐมวัยในเรื่องฟันผุถึง ร้อยละ 14.5 และมีภาวะทุโภชนาการ ประมาณร้อยละ 5 ซึ่งมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัยการพัฒนาเด็กปฐมวัยปัญหาสุขภาพของเด็กปฐมวัยยังไม่สามารถแก้ไขได้อย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน เนื่องจากขาดความร่วมมือจากผู้ปกครองที่ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลจัดการกับปัญหาสุขภาพ และสถานบริการสุขภาพ รวมทั้งไม่มีเวลาให้บุตรหลาน เนื่องจากต้องทำงาน
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอบต.องครักษ์ โรงเรียนอนุบาลบ้านนา (วัดช้าง) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาลบ้านนา (วัดช้าง) เทศบาลตำบลบ้านนา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนวัดเอี่ยมประสิทธิ์ อำเภอเมือง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอบต.นาหินลาด อำเภอปากพลี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบ้านโคกสว่าง อำเภอปากพลี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่ามะปราง อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ต้องการให้พัฒนาการดูแลผู้สูงอายุที่มีความต่อเนื่อง ให้ความรู้ในการดูแลที่ถูกต้องแก่พี่เลี้ยงเด็ก และผู้ปกครองต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการพัฒนาเด็กเล็กที่ถูกต้องประเด็นปัญหาหลัก
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน
2. การส่งเสริมภาวะสุขภาพ โภชนาการและกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัย
3. หลักการ Family centered care ในการดูแลเด็กปฐมวัย
รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล
อย่างไรก็ตามจากผลสำรวจพัฒนาการเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) ในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลางของผู้ปกครองและครูพี่เลี้ยงตั้งแต่ปีพ.ศ. 2556-2559 ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ยังพบความสอดคล้องของปัญหาสุขภาพจากผลสำรวจข้อมูลพื้นฐานปัญหาและความต้องการของชุมชนด้านสุขภาพ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก ปี 2556 ที่พบปัญหาของเด็กปฐมวัยในเรื่องฟันผุถึง ร้อยละ 14.5 และมีภาวะทุโภชนาการ ประมาณร้อยละ 5 ซึ่งมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัยการพัฒนาเด็กปฐมวัย เป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดของการพัฒนาคุณภาพชีวิต เนื่องจากเป็นระยะที่สมองพัฒนาอย่างรวดเร็ว ดังนั้น จึงควรส่งเสริมให้เด็กมีความสมบูรณ์ในทุกด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพปากและฟัน โภชนาการ การได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน การป้องกันอุบัติเหตุและการได้รับสารพิษ และการส่งเสริมพัฒนาการสมองและการเรียนรู้ตามวัย
นอกจากนี้ผลของโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลสุขภาพและกระตุ้นพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยผู้ปกครองและครูพี่เลี้ยง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก (อ้อมจิต ว่องวาณิช วนิดา วิสุทธิพานิช ทัศนียา วังสะจันทานนท์ เพ็ญนภา ฤทธิ์วงศ์ สุวรรณวงษ์ และสุปราณี ภู่ระหงษ์, 2557) พบว่าปัญหาสุขภาพของเด็กปฐมวัยยังไม่สามารถแก้ไขได้อย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน เนื่องจากขาดความร่วมมือจากผู้ปกครองที่ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลจัดการกับปัญหาสุขภาพ และสถานบริการสุขภาพ รวมทั้งไม่มีเวลาให้บุตรหลาน เนื่องจากต้องทำงาน
สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตระหนักถึงความสำคัญ
ดังกล่าวจึงจัดโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลางของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอบต.องครักษ์ โรงเรียนอนุบาลบ้านนา (วัดช้าง) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาลบ้านนา (วัดช้าง) เทศบาลตำบลบ้านนา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนวัดเอี่ยมประสิทธิ์ อำเภอเมือง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอบต.นาหินลาด อำเภอปากพลี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบ้านโคกสว่าง อำเภอปากพลี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่ามะปราง อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก เพื่อให้ผู้ปกครอง ครูพี่เลี้ยงและบุคลากรสุขภาพได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
คำสำคัญเพื่อการค้นหา
- ใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลางของผู้ปกครอง
- พัฒนาคุณภาพการดูแลสุขภาพ
- ภาวะโภชนาการและการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ประเมินคุณค่าโครงการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น | ผลที่เกิดขึ้น | ||
---|---|---|---|
1 | เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน | find_in_page | |
2 | เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ | ||
3 | การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) | ||
4 | การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ | ||
5 | เกิดกระบวนการชุมชน | ||
6 | มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
ภาพถ่าย
วีดิโอ
ไฟล์เอกสาร
โครงการขยายผล
project version release 2022-02-13. ช่วยเหลือ