สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวเม่าเขตพื้นที่ อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวเม่าเขตพื้นที่ อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวเม่าเขตพื้นที่ อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
หน่วยงานหลัก วิทยาการจัดการ
หน่วยงานร่วม การจัดการทั่วไป
ชื่อชุมชน ภายในเขตอำเภอเมืองอุดรธานี
ชื่อผู้รับผิดชอบ อาจารย์วฤธรณ์ ตุลย์ณวัฒน์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ 64 ถ.ทหาร ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา นางสาวศศิมาภรณ์ อ้วนนวล นางสาวเมธิรา พรหมภิภักดร์ นางสุภาภรณ์ นิลคูหา นางสาวปาริกา ดวนดี นางสาวกุลธิณี ลุคเซซี
การติดต่อ 0894221212
ปี พ.ศ. 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2561 - 30 เมษายน 2562
งบประมาณ 0.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
อุดรธานี เมืองอุดรธานี หมากแข้ง place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ข้าวเม่าเป็นข้าวที่ใช้ระยะเวลาในการปลูก 3 เดือน ซึ่งยังเป็นข้าวที่ยังไม่แก่จัดและยังไม่เป็นข้าวสารเพราะข้าวเม่ามีผลช่วยเสริมสภาพจิตใจมีความตื่นตัว มีสมาธิ และยังคงเสริมสร้างวิตามินบี ช่วยปรับระบบกลูโครส และเป็นสารอาหารที่เข้าไปพัฒนาระบบสมอง โดยข้าวเม่าอุดมไปด้วยเส้นใยอาหาร ไขมัน วิตามินบี1 วิตามินบี2 ธาตุเหล็ก แคลเซียม ฟอสฟอรัส แม็กนีเซียม และโปรตีน ซึ่งสารอาหารเหล่านี้ล้วนส่งผลดีต่อสุขภาพจึงเล็งเห็นประโยชน์และคุณค่าของข้าวเม่าดังนั้นจึงเพิ่มมูลค่าให้กับข้าวเม่าโดยการน้ามาท้าเป็นน้้าข้าวเม่าเพื่อสุขภาพพร้อมดื่มและท้าเป็นผงข้าวเม่าส้าหรับชง เนื่องจากทุกวันนี้คนรักสุขภาพมากขึ้นจึงหันมาสนใจผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพไม่ว่าจะเป็นเครื่องดื่มหรืออาหารและน้้าข้าวเม่าเป็นอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่อุดมไปด้วยประโยชน์และสารอาหารที่คนรักสุขภาพต้องการ
แต่เนื่องจากข้าวเม่ามีความชื้นท้าให้ขึ้นราได้ง่ายซึ่งท้าให้ไม่สามารถเก็บไว้ได้นาน จึงทดลองค้นหาวิธีในการรักษากลิ่นของข้าวเม่าเพื่อให้ผลิตภัณฑ์ข้าวเม่ายังคงมีกลิ่นธรรมชาติของข้าวเม่าเช่นเดิม
ด้วยเหตุผลนี้ผู้ศึกษาจึงมีความเห็นว่าควรน้าข้าวเม่ามาพัฒนาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ให้เกิดความหลากหลายเพื่อการเก็บรักษาไว้ได้นาน

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • แปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวเม่า

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย udonthani_ru udonthani_ru เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 10:49 น.