สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการหมู่บ้านราชมงคลอีสาน

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านราชมงคลอีสาน
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
หน่วยงานหลัก สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
หน่วยงานร่วม มทร.อีสาน นครราชสีมา, มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น, มทร.อีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ และ มทร.อีสาน วิทยาเขตสกลนคร
ชื่อชุมชน 1. ณ หมู่บ้านโพนสูง ตำบลหมื่นไวย อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 2. ณ บ้านโนนสะอาด ตำบลนาแพง อำเภอโคกโพธิ์ชัย จังหวัดขอนแก่น 3. บ้านเหล่าใหญ่ ตำบลบ้านขาม อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 4. ณ บ้านห้วยม่วง หมู่ที่ 3 ตำบล ห้วยม่วง อำเภอภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น 5. ณ บ้านศาลา ตำบลท่าสว่าง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 6. บ้านระไซร์ หมู่ที่ 5 ตำบลตั้งใจ อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 7. ณ บ้านสมบูรณ์ ตำบลกุดหวาย อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ 8. ณ หมู่บ้านหนองแคน ตำบลแร่ อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร 9. ณ หมู่บ้านคึม ตำบลโพนแพง อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร 10. ณ บ้านกุดเรือคำ ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร 11. ณ บ้านพันนาใต้ หมู่ที่ 10 ตำบลพันนา อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร 12. ณ บ้านโนนหัวช้าง อำเภอสร้างค้อ จังหวัดสกลนคร 13. ณ บ้านนาเชือก หมู่ที่ 9 อำเภอ พังโคน จังหวัด สกลนคร 14. ณ บ้านศาลา ตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา 15. ณ กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์กกบ้านโคกสี หมู่ที่ 2 ตำบลโคกสี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 16. ณ บ้านดงมัน หมู่ที่ 8 ตำบล คอโค อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์
ชื่อผู้รับผิดชอบ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ 744 ถนนสุรนารายณ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 -
งบประมาณ 2,500,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

องค์ความรู้ที่มาจากหลากหลายศาสตร์วิชาของมหาวิทยาลัยและนำไปบูรณาการเพื่อพัฒนาชุมชน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

จากนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาลที่มุ่งเน้นให้ทุกภาคส่วนในชุมชนร่วมกันบริหารจัดการ และพัฒนาศักยภาพของตนเองที่มีอยู่ให้มีศักยภาพเพิ่มมากขึ้น โดยการสร้างงาน สร้างรายได้ การลดต้นทุนและลดปัจจัยการผลิต ทางการเกษตร พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติระดับชุมชนให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น และการสร้างโอกาสเพื่อพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถด้านการพัฒนาเศรษฐกิจระดับฐานรากให้กับชุมชน จากแนวคิดดังกล่าว มีความสอดคล้องกับพันธกิจ (Mission) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ที่มุ่งเน้นสร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสู่การผลิต การบริการและสร้างมูลค่าเพิ่มให้ประเทศ รวมทั้งมุ่งบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่สังคม และทำนุบำรุงศาสนา อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และรักษาสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญมีความรู้ความสามารถในแต่ละศาสตร์ สามารถประสมประสานต่อนโยบายดังกล่าว เพื่อการพัฒนาชุมชนได้เป็นอย่างดี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ตระหนักถึงความสำคัญและพยายามที่จะส่งเสริมและขับเคลื่อนให้คนในชุมชนสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยความพออยู่พอกิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จึงเห็นควรให้ดำเนินโครงการหมู่บ้านราชมงคลอีสาน ขึ้น ภายใต้กระบวนทัศน์การพัฒนาขององค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช “การพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ต้องสร้างพื้นฐาน ความพออยู่ พอกิน พอใช้ก่อน แล้วจึงค่อยเสริม ค่อยสร้าง ความเจริญ และเศรษฐกิจขั้นสูงต่อไป” เพื่อเป็นการสร้างวิถีแห่งอาชีพ การดำรงชีวิต ด้วยความพออยู่พอกิน การพึ่งพาตนเอง พึ่งพากันเองอย่างเข้มแข็ง นำพาไปสู่การสร้างเครือข่ายการพัฒนา อย่างยั่งยืน โดยมีอาจารย์ นักศึกษา และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานในแต่ละเขตพื้นที่เป็นหนึ่งในกลไกการขับเคลื่อนการพัฒนา เพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชนสู่วิถีชีวิตแห่งความพออยู่พอกิน อันสามารถนำไปสู่วิถีชีวิตอย่างยั่งยืน สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ด้วยลำแข้งของตนเอง “อย่างมีความสุขบนพื้นฐานคุณภาพชีวิตที่ดี” ซึ่งมีเป้าหมายสร้างหมู่บ้านเป็น “หมู่บ้านราชมงคลอีสานต้นแบบ” เพื่อเป็นต้นแบบ เป็นศูนย์การเรียนรู้ ศึกษาดูงาน และเป็นพี่เลี้ยงให้กับหมู่บ้าน/ชุมชนอื่นต่อไป

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • หมู่บ้านราชมงคลอีสาน

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ

วีดิโอ

  • โครงการหมู่บ้านราชมงคลอีสาน

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย nantawan_6726 nantawan_6726 เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 09:48 น.