สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

อบรมยุวมัคคุเทศก์ท้องถิ่น

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ อบรมยุวมัคคุเทศก์ท้องถิ่น
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
หน่วยงานหลัก คณะศิลปศาสตร์
หน่วยงานร่วม โรงไฟฟ้าบางปะกง
ชื่อชุมชน ชุมชนรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง
ชื่อผู้รับผิดชอบ อาจารย์ฐมจารี ปาลอภิไตร
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ 79 มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี อ.เมือง จ. ชลบุรี 20000
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา 1. อาจารย์ฐมจารี ปาลอภิไตร
2. อาจารย์มนตรี พลเยี่ยม
3. อาจารย์ศิริลาภ เหลืองเจริญลาภ
4. อาจารย์เจกิตาน์ ศรีสรวล
5. นางสาวสุทธิดา ศรีสุวรรณ
6. นักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ จำนวน 20 คน
การติดต่อ 0859152407
ปี พ.ศ. 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 8 ตุลาคม 2562 - 9 ตุลาคม 2562
งบประมาณ 18,900.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
ฉะเชิงเทรา บางปะกง ท่าสะอ้าน place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
อำเภอบางปะกง มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำสูงกว่าระดับน้ำทะเล 1-2 เมตร พื้นที่บางส่วนอยู่ติดทะเล มีสภาพเป็นป่าชายเลน สภาพน้ำในแม่น้ำบางปะกง น้ำจะจืดอยู่ประมาณ 6 เดือน และมีน้ำเค็มประมาณ 6 เดือน พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ประกอบการเกษตร เช่น เลี้ยงกุ้ง เลี้ยงปลา
4. ประวัติความเป็นมา
อำเภอบางปะกง อยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดฉะเชิงเทรา อยู่บนฝั่งขวาของแม่น้ำบางปะกง ห่างจากตัวจังหวัด ประมาณ 22 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากกรุงเทพ ประมาณ 45 กิโลเมตร ถือเป็นประตูเข้าเขตภาคตะวันออก บางปะกง ซึ่งแต่เดิมมีต้นโกงกางที่ป่าชายเลนเป็นจำนวนมาก จึงเรียกว่า "บางปะกง" จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2450
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม
1. ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ กุ้ง , ปลา , ปูไข่ , ไข่เป็ด
2. ชื่อแหล่งน้ำ (แม่น้ำ/บึง/คลอง)ที่สำคัญ ได้แก่ แม่น้ำบางปะกง
3. โรงงานอุตสาหกรรมที่สำคัญ ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมเวลโกร์ว

ข้อมูลด้านการท่องเที่ยว
ล่องเรือชมปลาโลมาบริเวณปากแม่น้ำบางปะกง ตำบลท่าข้าม
ข้อมูลด้านที่พัก ของฝาก ที่ระลึก และสินค้า OTOP
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ประชาชนยังไม่รู้วิธีการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์และสถานที่ในพื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
วิธีการจัดการการท่องเที่ยวชุมชน

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การฝึกเยาวชนให้มีความตระหนักในการเป็นมัคคุเทศก์

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อให้เยาวชนได้รับความรู้และทักษะการเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นในการแนะนำและประชาสัมพันธ์ชุมชน ด้วยจิตสำนึกในคุณค่าและภาคภูมิใจในท้องถิ่นตน นำไปสู่การอนุรักษ์และประชาสัมพันธ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวท้องถิ่นได้อย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์แก่ท้องถิ่นตน
2. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเยาวชนในท้องถิ่นให้มากขึ้นด้วยการถ่ายทอดความรู้ด้านมัคคุเทศก์และการท่องเที่ยวจากมหาวิทยาลัยฯ ผสมผสานกับองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นจากผู้รู้และปราชญ์ชาวบ้านมาบูรณาการอย่างมีส่วนร่วมสู่ชุมชนท้องถิ่น
3. เพื่อนำผลการดำเนินโครงการมาบูรณาการกับการเรียนการสอนและงานวิจัยของคณะ
4. เพื่อบริการวิชาการแบบให้เปล่าแก่ชุมชนรอบมหาวิทยาลัย
5. เพื่อประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ที่ดีของมหาวิทยาลัยต่อชุมชน

ลักษณะกิจกรรม

คณะศิลปศาสตร์ร่วมมือกับโรงไฟฟ้าบางปะกงนำองค์ความรู้ทางวิชาการด้านการท่องเที่ยวและทักษะการเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นให้กับเยาวชนของชุมชนต่างๆ ทั้งในจังหวัดชลบุรี และจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีการอบรมทักษะการเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นแก่เยาวชนจำนวน 30 คน ให้ความสำคัญกับประเด็นการท่องเที่ยวในชุมชน ซึ่งอาจสามารถนำมาใช้เป็นจุดสนใจในการทำหน้าที่มัคคุเทศก์ท้องถิ่นในชุมชนได้ และการปฏิบัติหน้าที่จริงยังสถานที่ท่องเที่ยวของชุมชน

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • การจัดการ องค์ความรู้ การท่องเที่ยวชุมชน
  • การท่องเที่ยวชุมชน
  • การท่องเที่ยว
  • มหาวิทยาลัยศรีปทุม ชลบุรี
  • ยุวมัคคุเทศก์ท้องถิ่น
  • โรงไฟฟ้าบางปะกง

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย kriangkrai.sa01 kriangkrai.sa01 เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 06:29 น.