การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากฟักข้าว : กรณีศึกษากิจการน้ำฟักข้าวครูไพรินทร์ ตำบลหาดคำ อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย
ข้อมูลโครงการ
ชื่อโครงการ | การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากฟักข้าว : กรณีศึกษากิจการน้ำฟักข้าวครูไพรินทร์ ตำบลหาดคำ อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย |
สถาบันอุดมศึกษาหลัก | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี |
หน่วยงานหลัก | คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี |
หน่วยงานร่วม | สาขาวิชาการจัดการทั่วไป |
ชื่อชุมชน | กิจการ น้ำฟักข้าวครู ไพรินทร์ ตำบล หาดคำ อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย |
ชื่อผู้รับผิดชอบ | ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร. คณิศรา ธัญสุนทรสกุล |
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ | 64 ถ.ทหาร ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี |
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา | กนกพรรณ บุญจันทร์ศรี นฤมล ศรีวัฒนา วราภรณ์ ตันนารัตน์ ชลนิชา วิเศษเพ็ง วิยะดา ศรีสมดี อินทุอร แสนสีลา |
การติดต่อ | 0894221212 |
ปี พ.ศ. | 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 สิงหาคม 2561 - 30 พฤศจิกายน 2562 |
งบประมาณ | 0.00 บาท |
พื้นที่ดำเนินงาน
รายละเอียดชุมชน
ข้อมูลพื้นฐาน
ในปี พ.ศ.2556 สามีของครูไพรรินทร์ พุฒเขียว ได้ป่วยเป็นโรคมะเร็งที่ตับอ่อน ไส้อ่อน ลำไส้ กระเพาะ ถุงน้ำดีและแต่ได้ทำการผ่าตัดและทำคีโมมาแล้ว จึงได้มีผู้แนะนำให้ครูไพรรินทร์ พุฒเขียวนำน้ำฟักข้าวมาให้ลองชิมโดยสั่งจากแม่ฮ่องสอน เมื่อทานได้สักระยะสามีของครูไพรรินทร์ พุฒเขียว มีอาการดีขึ้นและไปตรวจพบว่าเชื้อมะเร็งได้ลดลง ร่างกายมีน้ำหนักเพิ่มมากขึ้น ผลเลือดดีขึ้น
น้ำฟักข้าวที่สั่งมาจากแม่ฮ่องสอนมีรสชาติเปรี้ยวไม่หวาน ทุกครั้งที่สามีของครูไพรินทร์ทานจะต้องเติมน้ำผึ้งเพื่อเพิ่มความหวานน้ำฟักข้าว และต้องสั่งมาคราวละมากๆ ครั้งละ 10-20 โหล โหลละ 450 บาท ครูไพรินทร์ พุฒเขียว จึงได้คิดที่จะทำน้ำฟักข้าวขึ้นมาเองเพื่อที่จะปรับ
รสชาติใหม่และเล็งเห็นว่าแถวบ้านมีวัตถุดิบเยอะเพียงพอที่จะทำขึ้นมาได้เองสูตรน้ำฟักข้าวนำมาจากฉลากข้างขวดที่บอกส่วนผสมของการทำน้ำฟักข้าวที่สั่งมาจากแม่ฮ่องสอน
ในปี พ.ศ.2558 ครั้งแรกที่ลองทำมีรสชาติเปรี้ยวไม่หวานจึงนำน้ำผึ้งมาผสมเพื่อให้รสชาติที่อร่อยแต่มีอายุการเก็บรักษาได้ไม่นานเนื่องจากภาชนะที่ใช้คือขวดพลาสติก
ในปี พ.ศ.2559 ครูไพรินทร์ พุฒเขียว ต้องการให้น้ำฟักข้าวมีอุณหภูมิการรักษานานขึ้นจึงได้เปลี่ยนภาชนะเป็นขวดแก้วและได้นำเครื่องพลาสเจอร์ไรส์เข้ามาในการผลิตเพื่อที่จะทำให้น้ำ
ฟักข้าวมีความสะอาดปราศจากแบคทีเรียเพราะเครื่องนี้มีคุณสมบัติที่สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรีย
ปัจจุบัน ครูไพรินทร์ พุฒเขียว ได้มีการนำผลฟักข้าวมาแปรรูปทำเป็นน้ำฟักข้าว เพราะน้ำฟักข้าวนั้นกำลังเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายของกลุ่มบุคคลที่รักสุขภาพ เนื่องจากฟักข้าวมีสรรพคุณมากมาย เช่น ต้านมะเร็ง มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูง ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย มีส่วนช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งปอด และมะเร็งกระเพาะอาหาร เป็นต้น เนื้อฟักข้าวที่เหลือถูกทิ้งไปโดยไม่นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ครูไพรินทร์ พุฒเขียว ได้คิดที่จะทำน้ำฟักข้าวขึ้นมาเองเพื่อที่จะปรับรสชาติใหม่และเล็งเห็นว่าแถวบ้านมีวัตถุดิบเยอะเพียงพอที่จะทำขึ้นมาได้เองสูตรน้ำฟักข้าวนำมาจากฉลากข้างขวดที่บอกส่วนผสมของการทำน้ำฟักข้าวที่สั่งมาจากแม่ฮ่องสอนข้อมูลประเด็นปัญหา
น้ำฟักข้าวที่สั่งมาจากแม่ฮ่องสอนมีรสชาติเปรี้ยวไม่หวาน ทุกครั้งที่จะทานจะต้องเติมน้ำผึ้งเพื่อเพิ่มความหวานน้ำฟักข้าว และต้องสั่งมาคราวละมากๆ ครั้งละ 10-20 โหล โหลละ 450 บาทข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
การนำเนื้อฟักข้าวที่ผู้ประการไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ โดยการนำมาแปรรูปทำเป็นผลิตภัณฑ์ชาและคุกกี้ที่เน้นใช้ส่วนผสมที่มาจากเนื้อฟักข้าว เพื่อต่อยอดสร้างรายได้เพิ่มอีกทางประเด็นปัญหาหลัก
ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน
รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล
ในปี พ.ศ.2556 สามีของครูไพรรินทร์ พุฒเขียว ได้ป่วยเป็นโรคมะเร็งที่ตับอ่อน ไส้อ่อน ลำไส้ กระเพาะ ถุงน้ำดีและแต่ได้ทำการผ่าตัดและทำคีโมมาแล้ว จึงได้มีผู้แนะนำให้
ครูไพรรินทร์ พุฒเขียวนำน้ำฟักข้าวมาให้ลองชิมโดยสั่งจากแม่ฮ่องสอน เมื่อทานได้สักระยะสามีของครูไพรรินทร์ พุฒเขียว มีอาการดีขึ้นและไปตรวจพบว่าเชื้อมะเร็งได้ลดลง ร่างกายมีน้ำหนักเพิ่มมากขึ้น ผลเลือดดีขึ้น
น้ำฟักข้าวที่สั่งมาจากแม่ฮ่องสอนมีรสชาติเปรี้ยวไม่หวาน ทุกครั้งที่สามีของครูไพรินทร์ทานจะต้องเติมน้ำผึ้งเพื่อเพิ่มความหวานน้ำฟักข้าว และต้องสั่งมาคราวละมากๆ ครั้งละ 10-20 โหล โหลละ 450 บาท ครูไพรินทร์ พุฒเขียว จึงได้คิดที่จะทำน้ำฟักข้าวขึ้นมาเองเพื่อที่จะปรับ
รสชาติใหม่และเล็งเห็นว่าแถวบ้านมีวัตถุดิบเยอะเพียงพอที่จะทำขึ้นมาได้เองสูตรน้ำฟักข้าวนำมาจากฉลากข้างขวดที่บอกส่วนผสมของการทำน้ำฟักข้าวที่สั่งมาจากแม่ฮ่องสอน
ในปี พ.ศ.2558 ครั้งแรกที่ลองทำมีรสชาติเปรี้ยวไม่หวานจึงนำน้ำผึ้งมาผสมเพื่อให้รสชาติที่อร่อยแต่มีอายุการเก็บรักษาได้ไม่นานเนื่องจากภาชนะที่ใช้คือขวดพลาสติก
ในปี พ.ศ.2559 ครูไพรินทร์ พุฒเขียว ต้องการให้น้ำฟักข้าวมีอุณหภูมิการรักษานานขึ้นจึงได้เปลี่ยนภาชนะเป็นขวดแก้วและได้นำเครื่องพลาสเจอร์ไรส์เข้ามาในการผลิตเพื่อที่จะทำให้น้ำ
ฟักข้าวมีความสะอาดปราศจากแบคทีเรียเพราะเครื่องนี้มีคุณสมบัติที่สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรีย
ปัจจุบัน ครูไพรินทร์ พุฒเขียว ได้มีการนำผลฟักข้าวมาแปรรูปทำเป็นน้ำฟักข้าว เพราะน้ำฟักข้าวนั้นกำลังเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายของกลุ่มบุคคลที่รักสุขภาพ เนื่องจากฟักข้าวมีสรรพคุณมากมาย เช่น ต้านมะเร็ง มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูง ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย มีส่วนช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งปอด และมะเร็งกระเพาะอาหาร เป็นต้น เนื้อฟักข้าวที่เหลือถูกทิ้งไปโดยไม่นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
ดังนั้นทางคณะผู้ศึกษาโครงการจึงได้มองเห็นโอกาสในการนำเนื้อฟักข้าวที่ผู้ประการไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ โดยการนำมาแปรรูปทำเป็นผลิตภัณฑ์ชาและคุกกี้ที่เน้นใช้ส่วนผสมที่มาจากเนื้อฟักข้าว เพื่อต่อยอดสร้างรายได้เพิ่มอีกทาง
คำสำคัญเพื่อการค้นหา
ประเมินคุณค่าโครงการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น | ผลที่เกิดขึ้น | ||
---|---|---|---|
1 | เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน | find_in_page | |
2 | เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ | ||
3 | การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) | ||
4 | การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ | ||
5 | เกิดกระบวนการชุมชน | ||
6 | มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
ภาพถ่าย
วีดิโอ
ไฟล์เอกสาร
โครงการขยายผล
