สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการบริการวิชาการแก่สังคมหรือชุมชน บัญชีครัวเรือน คณะบัญชี ม.ศรีปทุม

โครงการบริการวิชาการแก่สังคมหรือชุมชน บัญชีครัวเรือน คณะบัญชี ม.ศรีปทุม

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการบริการวิชาการแก่สังคมหรือชุมชน บัญชีครัวเรือน คณะบัญชี ม.ศรีปทุม
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
หน่วยงานหลัก คณะบัญชี ม.ศรีปทุม
หน่วยงานร่วม ชุมชนบางบัว บางเขน กรุงเทพฯ
ชื่อชุมชน ชุมชนบางบัว บางเขน กรุงเทพฯ
ชื่อผู้รับผิดชอบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ 61 อาคาร 9 ชั้น 10 ถ.พหลโยธิน แขวงลาดยาว จตุจักร
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา อาจารย์ชัยสรรค์ รังคะภูติ
การติดต่อ 0942912888
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
งบประมาณ 50,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กรุงเทพมหานคร place directions
กรุงเทพมหานคร จตุจักร ลาดยาว พื้นที่เฉพาะ:ชุมชนแออัด place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ชุมชนบางบัว ริมคลองบางบัว มีสมาชิกในชุมชน 1,500 หลังคาเรือน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
มีคนในชุมชนที่มีอาชีพหลากหลาย แต่มีรายได้ไม่สูง
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ไม่มีระบบการทำบัญชีครัวเรือน ทำให้ไม่มีการวางแผนการใช้จ่ายในแต่ละเดือน
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
รายรับ รายจ่ายและการออมเงินของชุมชน

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

การใช้โปรแกรมทางด้านบัญชีอย่างง่าย ในการบันทึกบัญชีครัวเรือนโดยใช้ Application ที่รองรับในหลายระบบ

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้ตระหนักถึงความสำคัญใน การเป็น องค์กรที่จะสร้างบัณฑิตให้มีความสมดุลทั้งด้านความรู้
ความคิด ความสามารถ ความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นคนดี คนเก่ง มีจิตสาธารณะ และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โครงการบริการวิชาการแก่สังคมหรือ ชุมชน “บัญชีครัวเรือน” เพื่อให้
นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับจาก สถานศึกษา ออกไปช่วยเหลือ
รับใช้ ดูแล สังคม ชุมชนและท้องถิ่นที่ ต้องการความช่วยเหลือได้
รวมถึงมีสำนึกในการมีส่วนร่วมในการทำ กิจกรรมเพื่อสังคม ชุมชน
และท้องถิ่น ส่งเสริมการเรียนรู้ และเสริมสร้าง ความเข้มแข็งให้ชุมชน

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย kriangkrai.sa01 kriangkrai.sa01 เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2562 11:30 น.