สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการบริการคำปรึกษาและบริการข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โครงการบริการคำปรึกษาและบริการข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการบริการคำปรึกษาและบริการข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
หน่วยงานหลัก คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี,คณะทรัพยากรธรรมชาติ
หน่วยงานร่วม สำนักงานเกษตรอำเภอพังโคน,สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร,สถาบันการจัดการเทคโนโลยีนวัตกรรมเกษตร
ชื่อชุมชน หมู่บ้านนาเชือก ,บ้านโนนหัวช้าง
ชื่อผู้รับผิดชอบ รองศาสตรจารย์ ดร.โฆษิต ศรีภูธร และคณะ
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา 1. รองศาสตราจารย์ ดร.โฆษิต ศรีภูธร ผู้อำนวยการคลินิกเทคโนโลยี
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สกุลคู รองผู้อำนวยการคลินิกเทคโนโลยี
3. นางสาวชลาลัย เหง้าน้อย ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี
4. อาจารย์เดือนรุ่ง สุวรรณโสภา ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กรรณิการ์ สมบุญ ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี
6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิริพร สารคล่อง ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี
7. นางจุฑามาศ ที่อร่าม ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี
8. นางสาวนฤมล สัพโส ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี
9. นายทรงศิลป์ ประทุมวงษ์ ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี
10. นายอานันท์ สัพโส เจ้าหน้าที่คลินิกเทคโนโลย
การติดต่อ 042-772393,085-6819983
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 -
งบประมาณ 242,500.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
สกลนคร เมืองสกลนคร place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
บ้านนาเชือกก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2515 มีจํานวนครัวเรือนก่อตั้งครั้งแรก 35 ครัวเรือน เป็นหมู่บ้าน แยกออกจากบ้านโคกสะอาด หมู่ที่ 6 ตําบลแร่ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทโส้ พื้นที่หมู่บ้านตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติเทือกเขาภูพาน ซึ่งเดิมบ้านนาเชือกตั้งอยู่บริเวณที่เก็บกับน้ำเขื่อนน้ำอูน วัดดอยสุเทพนิมิตในปัจจุบัน แต่ปริมาณน้ำในเขื่อนน้ำอูนเพิ่มขึ้นทุกปีทําให้ชาวบ้านนาเชือกอพยบครัวเรือนไปสร้างบ้านใหม่ใน บริเวณที่ตั้งหมู่บ้านในปัจจุบัน และยังใช้ชื่อหมู่บ้านเดิม คือ ”บ้านนาเชือก“ โดยมีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านร่วมกับ บ้านโคกสะอาด นายชนะ โซ่เมืองแซะ นายขันหา จันฑะวงศ์ และ นายสี ไชยเชษฐ์ ได้ขอตั้งเป็นหมู่บ้านอย่าง เป็นทางการในปี พ.ศ.2530 ผู้ใหญ่บ้านคนแรกคือ นายเสริม โซ่เมืองแซะ
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
การทอผ้า การทอผ้ามัดหมี่ การจักสาน การย้อมคราม หมอสมุนไพร การนวด
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
วิจัยพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีที่จะเป็นตัวช่วยส่งเสริมศักภาพชุมชนตลิดจนร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยอาศัยแบบขอรับบริการคำปรึกษาและแบบวัดความพึงพอใจ

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ด้วยคลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นเครือข่ายคลินิกเทคโนโลยีส านักงาน
ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีบทบาทในการส่งเสริมสนับสนุน และเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ของชุมชน ด้วยการบรูณาการองค์ความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้บริการให้ค าปรึกษาและบริการ
ข้อมูลทางด้านเทคโนโลยี วิจัยพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีที่จะเป็นตัวช่วยเสริมสร้างศักยภาพแก่ เกษตรกร กลุ่ม
แม่บ้าน วิสาหกิจชุมชน OTOP ผู้ประกอบการ SMEs ประชาชนโดยทั่วไปเผยแพร่องค์ความรู้และบริการข้อมูล
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนการร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อด าเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย
ของกิจกรรม โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากคลินิกเทคโนโลยี ส านักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ซึ่งการด าเนินตามภารกิจที่ผ่านมาท าให้ประชาชน หน่วยงานต่าง ๆ ได้รับประโยชน์จากการบริการ
ของคลินิกเทคโนโลยีเป็นอย่างดี รู้จักคลินิกเทคโนโลยีมากขึ้น โดยแผนงานบริการค าปรึกษา ที่รับผิดชอบโดย
ส านักงานคลินิกเทคโนโลยี ได้ประชาสัมพันธ์น าเสนอผลการด าเนินงาน บริการข้อมูล ค าปรึกษาผ่านสื่อต่าง
ๆ ทั้งในรูปแบบเอกสาร สื่อออนไลน์ การออกพื้นที่ประชาสัมพันธ์ จัดนิทรรศการ ร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ
รวมทั้งกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่งผลให้มีผู้มาขอรับบริการและขอรับบริการข้อมูลอย่างต่อเนื่อง
คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ยังเป็นศูนย์กลางในการ
ประสานงาน ของบุคลากรในมหาวิทยาลัย และหน่วยงานต่าง ๆ ติดตามประเมินผลการด าเนินงานของ
โครงการภายใต้โครงการคลินิกเทคโนโลยีให้เป็นไปตามแผน อ านวยความสะดวกให้กับบุคลากร ผู้เชี่ยวชาญ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
ดังนั้นการบริการค าปรึกษา/บริการข้อมูลเทคโนโลยี การเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงเป็นกิจกรรมที่จะต้องด าเนินการไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นตัวกลางการติดต่อ
ประสานงาน บริการค าปรึกษา/บริการข้อมูลเทคโนโลยี การเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจทางด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ไปยังประชาชนบุคคลทั่วไป เยาวชน นักเรียนนักศึกษากลุ่มชุนชน ตลอดจนหน่วยงานต่าง ๆ
เพื่อน าไปใช้ประโยชน์ สู่การเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย แก้ไขปัญหาเทคโนโลยี ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพชีวิต
และสังคมบนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ find_in_page
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) find_in_page
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ find_in_page
5 เกิดกระบวนการชุมชน find_in_page
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ find_in_page

ภาพถ่าย

  • photo คำอธิบายภาพ

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย RMUTI RMUTI เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2562 14:00 น.