สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำชุมชน วิเคราะห์และพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม

การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำชุมชน วิเคราะห์และพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำชุมชน วิเคราะห์และพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หน่วยงานหลัก วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หน่วยงานร่วม เทศบาลตำบลอิตึ้อ
ชื่อชุมชน เทศบาลตำบลอิตึ้อ
ชื่อผู้รับผิดชอบ รศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงค์ธนวสุ
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มข. 123/2017 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ 0815923443, supawata@kku.ac.th
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2562 - 31 พฤษภาคม 2563
งบประมาณ 439,500.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ด้วยเทศบาลตําาบลอิตื้อ อําาาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้รับการยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตําาบลอิตื้อเป็นเทศบาลตําาบลอิตื้อ ตามพระราชบัญญัติสภาตําาบลและองค์การบริหารส่วนตําาบล พ.ศ. 2537 นายประเทือง บุตรวงค์เป็นนายกเทศมนตรีตําาบลอิตื้อคนแรกจนถึงปัจุบันเดิมสําาานักงานเทศบาลตําาบลอิตื้อ ในช่วงเริ่มก่อตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตําาบลอิตื้อขอใช้ศาลากลางบ้านหนองแวงบ่อแก้วเป็นการชั่วคราว ต่อมาได้มีการสร้างสําาานักงานแล้วเสร็จ ซึ่งตั้งอยู่ที่บ้านหนองแวงบ่อแก้ว หมู่ที่ 8 และได้ย้ายสําาานักงานเป็นการถาวร ในวันที่ 3 เดือน มกราคม พ.ศ.2540 จนถึงปัจจุบันตั้งแต่วันที่โดยมี พ.จ.ต.สมชาย ภูขียวขําาาเป็น ปลัดองค์การบริหารส่วนตําาบลคนแรกและมี นางชลนิภา รัตตะเวทิน เป็นปลัดองค์การคนที่ 2 จนถึงปัจจุบัน เทศบาลตําาบลอิตื้อ มีภูมิประเทศเป็นที่ราบ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 12 หมู่บ้าน มีจําานวนประชากรจําานวนประชากรทั้งสิ้น 8,976 คน แยกเป็นชาย4,429 คน หญิง 4,547คนมีความหนาแน่นเฉลี่ย289.55 คน/ตารางกิโลเมตร
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
แก้ปัญหาน้ำท่วมในฤดูฝนและปัญหาขาดแคลนน้ำในบางพื้นที่และบางฤดูกาลโดยระดมความคิดเห็นเพื่อหาทางออกไม่ให้เกิดน้ำท่วมรุนแรง ส่วนภาวะภัยแล้งเกิดขึ้นทุกปี น้ำท่วมเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เนื่องจากฝนที่ตกในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำมีปริมาณมาก และตกติดต่อกันเป็นเวลานาน จนเกิดน้ำไหลบ่าเหนือผิวดิน ลงสู่ร่องน้ำลำธาร และในแม่น้ำมากกว่าปกติ ซึ่งในขณะที่น้ำจำนวนมากไหลไปตามร่องน้ำ ลำธาร และแม่น้ำนั้น หากลำน้ำตอนใด ไม่สามารถรับปริมาณน้ำทั้งหมดให้ไหลอยู่เฉพาะภายในตัวลำน้ำได้ ก็จะทำให้น้ำมีระดับท้นสูงกว่าตลิ่ง แล้วไหลล้นฝั่งบ่าไปท่วมพื้นที่สองฝั่งลำน้ำ หรืออาจไหลไปท่วมขังตามที่ลุ่มต่ำไกลออกไปเป็นบริเวณกว้างด้วย นอกจากนั้นตามพื้นที่ลุ่ม และพื้นที่ในเขตชุมชน ซึ่งไม่มีระบบการระบายน้ำที่สมบูรณ์ เมื่อเกิดฝนตกหนักเป็นเวลานานๆ ในแต่ละครั้ง มักเป็นปัญหา ทำให้เกิดน้ำท่วมขังบนพื้นที่ แล้วทำความเสียหายแก่พื้นที่เพาะปลูก และทรัพย์สินต่าง ๆ ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงเป็นที่มาของแนวคิดโครงการอาสาประขารัฐ ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่จะนักศึกษานำที่เข้าร่วมโครงการดำเนินการ
1. สำรวจว่าแต่ละครัวเรือนได้รับผลกระทบจากปัญหาน้ำท่วม
2. เตรียมการหาแนวทางป้องกันการเกิดน้ำท่วมในเขตพื้นที่ชุมชน และการเกษตร
3. นักศึกษาดำเนินการ วิธีการแก้ไข และวิธีการปฏิบัติตนก่อนและหลังการเกิดอุทกภัยน้ำท่วม
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2562 18:12 น.