สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การสำรวจและพัฒนาแนวทางการจัดการดูแลผู้สูงอายุ

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ การสำรวจและพัฒนาแนวทางการจัดการดูแลผู้สูงอายุ
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หน่วยงานหลัก วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หน่วยงานร่วม มูลนิธิปิดทองหลังพระ, อบต.กมลาไสย
ชื่อชุมชน อบต.กมลาไสย อ.กมลาไสย
ชื่อผู้รับผิดชอบ รศ.ดร.เพ็ญณี แนรอท
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ วิทยาลัยปกครองท้องถิ่น มข. 123/2017 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ 0897158245, pennee@kku.ac.th
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2563
งบประมาณ 489,900.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ตั้งอยู่ อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอำเภอกมลาไสย ห่างจากอำเภอกมลาไสยประมาณ 4 กิโลเมตร สภาพพื้นที่
ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตเทศบาลตำบลห้วยโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลโนนศิลาเลิง อำเภอฆ้องชัย เทศบาลตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหลักเมือง อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนตำบลธัญญา, เทศบาลตำบลหนองแปน อำเภอกมลาไสย
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
จากการสำรวจปัญหาของชุมชนในพื้นที่เทศบาลตำบลกมลาไสย อำเภอกมลาไสย ปัญหาที่พบส่วนใหญ่คือสังคมผู้สูงอายุ ซึ่งประชากรในเขตพื้นที่ต่างเข้าทำงานในตัวเมืองและให้ผู้สูงอายุอยู่คนเดียวในช่วงเวลากลางวัน ผู้สูงอายุส่วนหนึ่งมีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความโลหิตสูงฯ ต้องคอยดูแลตัวเองและระวังอาการของแต่ละโรคอย่างสม่ำเสมอ ทั้งยังมีอาการซึมเศร้า คิดถึงลุกหลาน ที่ไปทำงานที่อื่น กิจกรรมที่ผู้สูงอายุจะได้พบปะกันก็มีแค่ช่วงงานบุญ งานประเพณีในหมู่บ้าน และผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพเสริมหรือกิจกรรมทำคลายเหงา
การที่จะพัฒนาแนวทางในการดูแลผู้สูงอายุ ผู้ที่จะดูแลต้องมีองค์ความรู้และทักษะพื้นฐานในการเข้าใจผู้สูงอายุรวมถึงการดูแลผู้สูงอายุที่เป้นผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว รวมถึงการจัดให้มีการรวมกลุ่มพัฒนาอาชีพให้ผู้สูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมทำร่วมกัน เป็นการคลายเครียดและสร้างรายได้เสริมนอกเหนือจากเบี้ยยังชีพ
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2562 15:47 น.