สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

โครงการบริการวิชาการด้านการวางแผนพัฒนาพื้นที่และผลิตภัณฑ์ในหมู่บ้านโพนสูง ชุมชนหมื่นไวย

โครงการบริการวิชาการด้านการวางแผนพัฒนาพื้นที่และผลิตภัณฑ์ในหมู่บ้านโพนสูง ชุมชนหมื่นไวย

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการบริการวิชาการด้านการวางแผนพัฒนาพื้นที่และผลิตภัณฑ์ในหมู่บ้านโพนสูง ชุมชนหมื่นไวย
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
หน่วยงานหลัก สาขาวิชา การจัดการผังเมือง คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม
หน่วยงานร่วม 744 ถนนสุรนารายณ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000
ชื่อชุมชน
ชื่อผู้รับผิดชอบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิคม บุญญานุสิทธิ์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ 082-7504997 nikhom_boon@hotmail.com
ปี พ.ศ. 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
งบประมาณ 0.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
นครราชสีมา place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

การดำเนินโครงการหมู่บ้านราชมงคลอีสาน บ้านโพนสูง ต.หมื่นไวย อ.เมือง จ.นครราชสีมา ในปีนี้เป็นการดำเนินโครงการในปีที่สองต่อเนื่องจากในปีแรกที่เป็นการวางแผนพัฒนาหมู่บ้านในช่วงระยะเวลา 5 ปี โดยทางหมู่บ้านโพนสูง ได้มีการกำหนดฉากทัศน์ในการวางแผนพัฒนาพื้นที่ที่ต้องการจะเป็น “ชุมชนนิเวศ เกษตรขอบเมือง” โดยความหมายที่จะมุ่งให้ความสำคัญในการเป็นชุมชนวิถีเกษตรให้ความสำคัญกับการทำเกษตรกรรมตามวิถีชาวนาที่ชุมชนเคยปฏิบัติมาแต่ดั้งเดิมที่เป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต แต่โดยบริบทของชุมชนในปัจจุบันที่แวดล้อมไปด้วยวิถีชีวิตเมืองรอบพื้นที่ การดำรงวิถีเกษตรปัจจุบันจึงต้องมีการเพิ่มมูลค่าและสร้างความยั่งยืนให้กับการพัฒนาโดยใช้แนวทางวิถีเกษตรนี้เข้าไปด้วย ทางคณะทำงานหมู่บ้านโพนสูงจึงมีความเห็นว่าควรที่จะนำแนวทางการสร้างวิสาหกิจหมู่บ้านด้วยการจัดทำการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Base Tourism) ให้เกิดขึ้นภายในระยะเวลา 5 ปี ทั้งนี้เพื่อเป็นการรักษาไว้ซึ่งพื้นที่เกษตรสำคัญดั้งเดิม วิถีวัฒนธรรม สร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในพื้นที่เป็นการรักษาคนรุ่นใหม่ของหมู่บ้านให้เห็นความสำคัญของวิถีเกษตรและสร้างรายได้ สร้างอาชีพที่มั่นคงเป็นโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้อยู่อาศัย ประกอบอาชีพ และเป็นกำลังสำคัญที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านโดยไม่ต้องอพยพออกไปจากหมู่บ้านไปทำงานในพื้นที่อื่นอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
การดำเนินงานโครงการในปีที่ 2 นี้จึงเป็นการเน้นการให้ความรู้ และการสร้างการมีส่วนร่วมในการวางแผนรายละเอียดเพื่อสร้างหมู่บ้านให้เป็นหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีเกษตร รักษาระบบนิเวศ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยในหมู่บ้าน มุ่งสร้างความเข้าใจให้กับประชากรของหมู่บ้านได้เห็นภาพรวมของโอกาสและประโยชน์ที่จะได้รับจากการเปลี่ยนแปลงหมู่บ้านไปสู่แนวทางที่วางแผนไว้นี้ กิจกรรมส่วนใหญ่จึงเป็นการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อวางแผนรายละเอียดที่เกี่ยวกับองค์ประกอบด้านต่าง ๆ ที่จะทำให้เกิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ทั้งนี้ได้มีการบูรณาการโครงการเข้ากับโครงการบริการวิชาการโครงการอื่นของสาขาวิชาการจัดการผังเมืองที่เกี่ยวเนื่องกันด้วย ทำให้เกิดประโยชน์มากขึ้นและสามารถดำเนินโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังรายละเอียดที่จะได้กล่าวถึงในรายงานการดำเนินโครงการประจำปีที่ 2 ต่อไป

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • บ้านโพนสูง
  • วางแผนพัฒนาพื้นที่

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย nantawan_6726 nantawan_6726 เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2562 17:49 น.