สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาด้วยโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สู่การตลาดออนไลน์

การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาด้วยโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สู่การตลาดออนไลน์

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาด้วยโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สู่การตลาดออนไลน์
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
หน่วยงานหลัก คณะศิลปศาสตร๋และวิทยาศาสตร์
หน่วยงานร่วม ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ชื่อชุมชน
ชื่อผู้รับผิดชอบ อาจารย์นิโรธ ศรีมันตะ
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ 0851553883
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
งบประมาณ 0.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ สหัสขันธ์ ภูสิงห์ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ผลิตผลทางการเกษตรจำนวนมากต้องแปรรูปด้วยการตากแห้งหรืออบแห้ง โดย วิธีที่เกษตรกรและผู้ประกอบการนิยมใช้กันในอดีตคือ การตากแดดตามธรรมชาติ วิธีดังกล่าวถึงแม้จะทำได้ง่าย และเสียค่าใช้จ่ายน้อย แต่ผลผลิตที่ตากมักเสียหายจากการเปียกฝน และถูกทำลายด้วยนก หนู หรือแมลง อีกทั้งยังถูกปนเปื้อนด้วยสิ่งสกปรกจากสภาพแวดล้อม และเนื่องจากจังหวัดกาฬสินธุ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิปัญญาท้องถิ่นในการผลิตปลาในรูปแบบต่างๆ ถือเป็นความภูมิใจในรากเหง้าแห่งปัญญา ความสามารถและการประยุกต์ใช้ทักษะของคนในท้องถิ่น เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยให้สมดุลกับสภาพแวดล้อมของชุมชน ที่มีความเด่นชัดในหลากหลายด้าน อย่างไรก็ตามภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ฝังลึกอยู่ในแต่ละชุมชน ยังขาดการนำองค์ความรู้และแนวคิดในการจัดการสมัยใหม่ที่มีประสิทธิภาพ มาช่วยในการบูรณาการทำให้ภูมิปัญญาดังกล่าวส่งผลดีต่อความเข้มแข็งของระบบเศรษฐกิจฐานราก ซึ่งถือเป็นปัจจัยสำคัญลำดับต้นในการยกระดับคุณภาพชีวิต ขับเคลื่อนความมั่นคง และความสุขให้กับคนในชุมชน ทั้งนี้ มีเป้าหมายในการส่งเสริมเอกลักษณ์จำเพาะถิ่นฐาน ให้เป็นแบบอย่างของภูมิปัญญาท้องถิ่น เกิดกระบวนการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น ซึ่งนำมายังความภูมิใจของชุมชน ด้วย ในการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาด้วยโรงอบแห้งผลิตภัณฑ์แบบหลังคาโค้งพลังงานแสงอาทิตย์ ชุมชนบ้านท่าเรือภูสิงห์ หมู่ 9 ตำบลภูสิงห์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สู่การตลาดออนไลน์ ของสถาบันอุดมศึกษากับภูมิปัญญาและทรัพยากรท้องถิ่น เพื่อสร้างกระบวนการในการเสริมสร้างและพัฒนา ยกระดับขีดความสามารถในการประกอบการของกลุ่มชุมชนที่รวมตัวกันสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการให้มีศักยภาพ มีมูลค่าเพิ่ม สามารถยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์หรือบริการ ให้ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดซึ่งเป็นการเสริมความมั่นคงในอาชีพและรายได้ ในขณะเดียวกันนักศึกษาของที่เข้าร่วมโครงการจะเกิดการเรียนรู้ เข้าใจในวิถีชีวิต เอกลักษณ์และภูมิปัญญาท้องถิ่น ตระหนักถึงความสำคัญของภูมิปัญญาไทยและทรัพยากรอันมีค่า และเป็นการบูรณาการการจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยกับการปฏิบัติงานจริง เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์การทำงานตามองค์ความรู้ของแต่ละศาสตร์ โดยมีชุมชนเป็นฐานในการนำองค์ความรู้ทางวิชาชีพสู่การปฏิบัติ ( Community-based Learning Program : CBL) ผ่านโครงงานที่ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของพื้นที่ของชุมชน (Area-based) ส่งผลให้เกิดการพัฒนาชุมชนอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรมอย่างยั่งยืนต่อไป

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • การส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์
  • โรงอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ find_in_page
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) find_in_page
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ find_in_page
5 เกิดกระบวนการชุมชน find_in_page
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ find_in_page

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย s.wongsuwan s.wongsuwan เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2562 16:49 น.