สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 5

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ 31 ต.ค. 2562

 

 

 

 

 

การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการ ในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม 31 ต.ค. 2562

 

 

 

 

 

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.) 31 ต.ค. 2562

 

 

 

 

 

การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ. 31 ต.ค. 2562

 

 

 

 

 

ทีมพี่เลี้ยงลงติดตามในพื้นที่ เพื่อพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ 1 ม.ค. 2563

 

 

 

 

 

การประชุมคณะทำงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับเขต 13 ม.ค. 2563 13 ม.ค. 2563

 

ชี้แจงทำความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์ กระบวนการและผลลัพธ์ความสำเร็จของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ โดย ดร. ประเสริฐ เล็กสรรเสริญ ร่วมวางแผนการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัด •สร้างทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด •ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อร่วมทำความเข้าใจต่อแนวทางขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัดที่เชื่อมโยงกับ การขับเคลื่อนประเด็นของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น (กปท.) และการใช้งานโปรแกรมการทำแผน (การพัฒนาข้อเสนอ และการติดตามประเมินผลโครงการ) •การดำเนินงานสนับสนุนให้พื้นที่มีโครงการที่ลดปัจจัยเสี่ยงและประเด็นความต้องการอื่นของพื้นที่ •การประชุมเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัด นำเสนอแผนการขับเคลื่อนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะในระดับจังหวัด และถาม - ตอบ ประเด็นข้อสงสัย

 

คณะทำงานได้ร่วมวางแผนการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ  ระดับพื้นที่  เขต 5 โดยกำหนดให้มีการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะในระดับพื้นที่ เขต 5 ในวันที่ 2-3 มีนาคม 2563  ณ โรงแรมริเวอร์ จังหวัดนครปฐม โดยมีกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมประชุมจำนวนทั้งสิ้น 137 คน
2. การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะในระดับพื้นที่ เขต 5 มีสาระสำคัญของการประชุมประกอบไปด้วย
1)ชี้แจงทำความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์ กระบวนการและผลลัพธ์ความสำเร็จของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะแนวทางการบูรณาการภาคีเครือข่าย เพื่อร่วมขับเคลื่อนระบบสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในระดับพื้นที่ 2) กระบวนการกลุ่ม การเพื่อเชื่อมโยงแผนการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนระบบสุขภาพ ภายใต้การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น  (แบ่งกลุ่ม ตามจังหวัดกลุ่มเป้าหมาย) •บูรณาการแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น แผนปฏิบัติงานสาธารณสุขประจำปี กับทิศทางตามประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
•การใช้งานเว็บไซด์กองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) พัฒนาแผนงาน/โครงการ เพื่อเป็นพี่เลี้ยงภาคีเครือข่ายต่างๆในการจัดทำโครงการที่ขอสนับสนุนงบกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมถึงการติดตามประเมินผล
•สรุปแผนงาน/โครงการที่ขับเคลื่อนตามประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและการควบคุมกำกับติดตาม

 

จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่ 1 19 มิ.ย. 2563 19 มิ.ย. 2563

 

1  ประธานแจ้งให้ทราบ 1.1 ความเป็นมาของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ เขต 5 ราชบุรี 1.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ วาระที่  2  รับรองรายงานการประชุม
ไม่มี วาระที่ 3 เรื่องแจ้งให้ทราบ/สืบเนื่อง 3.1 พื้นที่ดำเนินการ และงบประมาณที่ได้รับสนับสนุนฯ วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.1 ขั้นตอนการดำเนินการโครงการฯ ในระยะต่างๆ
    1) ขั้นเตรียมการ
- การจัดประชุมคณะกรรมการระดับเขต (ผลลัพธ์ที่ต้องการ วาระการประชุม เนื้อหาในการ             ประชุม) 2) ขั้นดำเนินการ - การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการระดับพื้นที่ (ผลลัพธ์ที่ต้องการ กำหนดการประชุม
                      เนื้อหาในการประชุม ขั้นตอนในการประชุม การทำกลุ่มเป็นรายจังหวัดเพื่อมอบหมาย และ                       แบ่งหน้าที่) - ขั้นตอนการดำเนินงานในพื้นที่ - การนิเทศ กำกับติดตามงานในพื้นที่ 3) สรุปผลการดำเนินงาน
4.2 การมอบหมายหน้าที่ในการกำกับติดตามการดำเนินงานในพื้นที่

 

1  ประธานแจ้งให้ทราบ 1.1 ความเป็นมาของโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับ
พื้นที่ เขต 5 ราชบุรี สปสช.เห็นความสำคัญ ว่าการร่วมมือกับภาคีที่เกี่ยวข้องจะทำให้ประชาชนได้ประโยชน์ ในการทำงานจริงพื้นที่มีการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพในบทบาทหน้าที่ของแต่ละหน่วยงานอยู่แล้ว แต่เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนงานแบบบูรณาการในการสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ เขต 5 ราชบุรี จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการขึ้น โดยมีความคาดหวังให้ช่วยวางแผน ควบคุมกำกับ และติดตามประเมินผล เป็นในลักษณะการเติมเต็มให้กับพื้นที่

1.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการเพื่อขับเคลื่อนงานในภาพรวม (รายละเอียดอยู่ในวารที่ 4) ขั้นตอนการทำงานร่วมกับ สสส.อาจดูว่ามีหลายขั้นตอน ซึ่งหากพิจารณากิจกรรมเป็นสิ่งที่พื้นที่ดำเนินการตามปกติ  สปสช.ถืองบประมาณที่จะดำเนินการด้านสุขภาพในระดับตำบลคือกองทุนสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่(กองทุนตำบล)  สสส. ขับเคลื่อนด้วยการเติมกระบวนการให้เกิดความเข้มแข็งในพื้นที่ หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่จัดทำโครงการด้านสุขภาพที่ตอบสนองปัญหาและใช้งบกองทุนตำบล 3.1 โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะระดับพื้นที่ ของ สสส. ก่อนที่จะเข้าสู่โครงการในภาพเขต ขอนำเข้าสู่โครงการในภาพรวมของ สสส.เพื่อจะได้เห็นความเชื่อมโยง และเป็นพิมพ์เขียวส่งยกร่างโครงการระดับเขต ดังนี้

โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะระดับพื้นที่ โดย กลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ.)
      กลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (สปสช.)
      กลไกภายใต้สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน่วยงานที่รับผิดชอบ
 สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส. ม.อ.) หน่วยงานสนับสนุน
 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)  สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)  กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กลไกสุขภาพชุมชนที่สำคัญในปัจจุบัน กระทรวงสาธารณสุข (สธ.)  โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) : กลไกการสร้างเสริมสุขภาพประชาชน กระจายทั่วทุกตำบล
 คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอําเภอ (พชอ.) : ทุกอำเภอ เพื่อแก้ปญหาระดับพื้นที่ อย่างน้อย 2
เรื่อง โดยใชเกณฑ์ตามบริบทพื้นที่  คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (พชข.) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)  กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่หรือท้องถิ่น  (กปท.) หรือที่ เราเรียกว่ากองทุนตำบล สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)  มีการดำเนินงานของแผนสุขภาวะชุมชนมาอย่างต่อเนื่อง  มีการพัฒนากลไกหน่วยจัดการ (Node) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพให้สามารถดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อจำกัดการดำเนินงานระบบสุขภาพชุมชนในปัจจุบัน ทบทวนข้อจำกัดในการดำเนินการตั้งแต่อดีดถึงปัจจุบัน ได้ข้อจำกัดดังนี้  กลไกของทั้ง สธ. สปสช. สสส. มีการบูรณาการการทำงานกันน้อย  การวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ และการกำหนดภาพอนาคตระบบสุขภาพของชุมชน ยังไม่ครบถ้วน สมบูรณ์  การจัดทำแผน และ คุณภาพของแผนสุขภาพชุมชน ไม่ตอบโจทย์ที่แท้จริง ความเข้าใจในกระบวนการ จัดทำแผน การปฏิบัติตามแผน และ การติดตาม ประเมินผล มีความหลากหลายแตกต่างกัน  โครงการต่างๆ มักเป็นกิจกรรมซ้ำ ๆ ที่ทำกันมาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากเป้าหมายไม่ชัดเจน โครงการ ไม่มีคุณภาพคุณภาพ ยังต้องการปรับปรุง  ขาดการจัดเก็บข้อมูล เป็นคลังข้อมูลที่จะใช้ประโยชน์ต่อเนื่อง  ขาดการติดตาม ประเมินผลอย่างเป็นระบบ การดำเนินงานที่ผ่านมาในการบูรณาการความร่วมมือของ สปสช. สสส. พ.ศ. 2560-2561 ภายใต้การทำงานของ สจรส.มอ.
 เพื่อเพิ่มศักยภาพของโครงการในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยทำงานร่วมกับ
สปสช.ใน 4 ภาค 12 เขตทั่วประเทศ มีกองทุนนำร่องมากกว่าเป้าหมาย 270 กองทุน (ประมาณ 700 กองทุน) ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา  กองทุนฯ มีแผน มีโครงการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง (เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด) อาหาร และ กิจกรรมทางกาย
 เกิดหลักสูตรการจัดการปัจจัยเสี่ยง (เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด) อาหาร และการส่งเสริมกิจกรรมทางกายใน กองทุน ฯ  มีการพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบกองทุน ให้รู้ เข้าใจ สามารถพัฒนาโครงการในพื้นที่ได้
 มีเครือข่ายนักวิชาการในการทำหลักสูตร
 มีแผนกองทุน (ประเด็นเหล้า บุหรี่ ยาเสพติด อาหาร และกิจกรรมทางกาย) ทั้ง 12 เขตทั่วประเทศรวมกัน จำนวน 6,602 แผนงาน / โครงการพัฒนา 9,271 โครงการ / การติดตามประเมินผล 29,897 โครงการ (ข้อมูล ณ วันที่ 24 มิถุนายน 2562)  รายละเอียดตามตาราง

 

ประชุมการติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการฯในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี 23 มิ.ย. 2563 23 มิ.ย. 2564

 

-รายงานสถานการณ์ และความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการฯในพื้นที่ -นำเสนอแผนต่อนายอำเภอกับการดำเนินงาน

 

1.จากกระบวนการทำแผน จะได้รับข้อมูลสถานการณ์แต่ละปัญหาาสุขภาพและเป้าหมายของการแก้ปัญหา ทั้งระดับชาติ ภาค จังหวัด 2.สามารถสังเคราะห์ผลและคุณค่าที่เกิดขึ้นจากแผนและการดำเนินโครงการ 3.สามารถติดตามการดำเนินโรางการอย่างเป็นปัจจุบัน

 

จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่ 2 13 ก.ค. 2563 13 ก.ค. 2563

 

2  รับรองรายงานการประชุม
รายงานการประชุมคคณะกรรมการอำนวยการฯ ครั้งที่ 1/2563 วันที่ 19 มิถุนายน 2563 วาระที่ 3 เรื่องแจ้งให้ทราบ/เรื่องสืบเนื่อง 3.1 งบประมาณดำเนินการกิจกรรมการดำเนินงานนำร่องพื้นที่ต้นแบบเสริมสร้างสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กิจกรรมที่ 2.1 : 2) จัดประชุมติดตาม และสนับสนุนโครงการ ในพื้นที่ พชอ. 3.2 ………………………………………………………………………………………………………………………….......... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… วาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.1 พิจารณากิจกรรมดำเนินการ ในกิจกรรมที่ 2.1 :  2) จัดประชุมติดตาม และสนับสนุนโครงการ ในพื้นที่ พชอ. ของจังหวัดกาญจนบุรี  จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดราชบุรี 4.2 พิจารณารายละเอียดของการประชุมคณะกรรมการระดับเขต วันที่ 24 กรกฎาคม 2563
- กำหนดการ / สถานที่จัดประชุม / การแบ่งหน้าที่ฯ - เนื้อหา - คู่มือต่างๆ
- ตัวชี้วัดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ

 

หารือในขั้นตอนการวางแผนระหว่างและสิ้นสุดการดำเนินงานโครงการ

 

จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่3 25 ก.ค. 2563

 

 

 

 

 

จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการอำนวยการ ครั้งที่4 25 ก.ค. 2563

 

 

 

 

 

จัดประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการระดับเขต 25 ก.ค. 2563

 

 

 

 

 

ประชุมทำความเข้าใจ การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดกาญจนบุรี 25 ก.ค. 2563

 

 

 

 

 

พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการ จังวัดกาญจนบุรี 25 ก.ค. 2563

 

 

 

 

 

ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดกาญจนบุรี 25 ก.ค. 2563

 

 

 

 

 

ประชุมทำความเข้าใจ การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี 11 ส.ค. 2563 11 ส.ค. 2563

 

ประชุมทำความเข้าใจการดำเนินงาน การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ และมีการบูรณาการขับเคลื่อนฯ 2) ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกข้อมูลตามโปรแกรม

 

วันที่ 11 สิงหาคม 2563 นายแพทย์เพชรฤกษ์ แทนสวัสดิ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี เป็นประธานพิธีเปิดการประชุม “การบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี” ร่วมด้วยนางมัลลิกา แทนสวัสดิ์ ประธานชมรมแม่บ้านสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี โดยมีนายสมชัย วัฒนธรรม นายกองค์การบริหาร-ส่วนตำบลบางครกให้การต้อนรับ นางทิพาพรรณ หอศิวาลัย ผู้ช่วยผู้อำนวยการ-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 5 ราชบุรี กล่าวรายงาน โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลบางครก อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือพื้นที่อำเภอบ้านแหลม ได้แก่ ผู้บริหารสูงสุดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปลัดองค์การ-ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ และเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล/ผู้ช่วยงานกองทุนฯ ของท้องถิ่น จำนวน 65 คน โดยมีกิจกรรม 4 กิจกรรมหลัก ดังนี้ 1. เสวนา “การบูรณาการขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาพของท้องถิ่น กับ พชอ.” 2. บรรยายวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ 3. ซักซ้อมประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 โดย จ.อ.อนันต์ พันธุ์บ้านแหลม 4. บันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ

 

ประชุมทำความเข้าใจ การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมจังหวัดราชบุรี 1 ก.ย. 2563 1 ก.ย. 2563

 

1)ประชุมทำความเข้าใจการดำเนินงาน การบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ และมี การบูรณาการขับเคลื่อนฯ 2)ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลตามโปรแกรมฯ

 

1)มีการบูรณาการเสริมสร้าง สุขภาวะกับทุกหน/วยงานใน พื้นที่ 2)พื้นที่สามารถสนับสนุนการ จัดทำแผนการพัฒนาข้อเสนอ โครงการ และการใช้ระบบ ติดตามและประเมินผล โครงการ 3)ได้กรอบแนวคิดของ โครงการที่จะดำเนินการ พชอ. 4)ทุกภาคส่วนทราบกรอบ ระยะเวลาดำเนินการของ จังหวัดราชบุรี

 

ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดราชบุรี ครั้งที่1 20 ต.ค. 2563 20 ต.ค. 2563

 

1)ประชุมติดตามการบันทึกข้อมูลฯ -นำเสนอโครงการฯ 5 แผนงานราย กองทุนฯ เพื่อกระตุ้นการดำเนินงาน -ติดตามการลงบันทึกข้อมูล 2)แลกเปลี่ยนเรียนรูปัญหา/อุปสรรคใน การดำเนินงาน -ติดตามการลงบันทึกข้อมูล ถาม/ตอบ แลกเปลี่ยนปัญหา/ อุปสรรคในการดำเนินงาน

 

1)ติดตาม กำกับ แก้ไขปัญหา และอุปสรรคระหว่างดำเนินการ 2)บันทึกข้อมูลถูกต้อง และครบถ้วน 3)สามารถนำข้อมูลสรุปเพื่อ นำเสนอคณะทำงานระดับ จังหวัด

 

ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี ครั้งที่1 28 ต.ค. 2563 28 ต.ค. 2563

 

1) ประชุมติดตามการบันทึกข้อมูลฯ 2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน - ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯของ อปท. (10) - ผู้ช่วยงานกองทุนฯของ อปท. (10) - จนท.สาธารณสุข (รพ.2+รพ.สต.12=14) 1) เพื่อกระตุ้นการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน 2)เพื่อให้การลงข้อมูลมีประสิทธิภาพ

 

ติดตาม กำกับ แก้ไขปัญหาและอุปสรรคระหว่าง วันที่ 28 เดือนตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลบางขุนไทร อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ได้ดำเนินการจัดประชุมโดยมีกิจกรรมติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน ดังนี้ 1. ทบทวนการดำเนินงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ โดย นางทิพาพรรณ หอศิวาลัย ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 5 ราชบุรี 2. กองทุนฯ นำเสนอแผนงาน/โครงการของแต่ละพื้นที่ เพื่อสะท้อนปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ 3. ติดตามการลงบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ ให้เป็นตามวัตถุประสงค์ของโครงการ นำเสนอแผนงำน/โครงกำรของแต่ละพื้นที่ , ติดตำมกำรลงบันทึกข้อมูลตำมโปรแกรมฯ

 

ติดตามผลการดำเนินงาน ราชบุรี ครั้งที่1 17 มี.ค. 2564 17 มี.ค. 2564

 

1) ลงพื้นที่ติดตามผู้รับผิดชอบแต่ละกองทุน 2) ซักถามปัญหาและข้อสงสัย

 

  • การบันทึกข้อมูลมีประสิทธิภาพ
  • ผู้บันทึกข้อมูลมีความเข้าใจโปรแกรมสามารถปฏิบัติได้

 

ติดตามการบันทึกข้อมูลตามโปรแกรมฯ จังหวัดเพชรบุรี ครั้งที่2 19 มี.ค. 2564 19 มี.ค. 2564

 

1) ประชุมติดตามการบันทึกข้อมูลฯ 2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ 1) เพื่อกระตุ้นการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน 2)เพื่อให้การลงข้อมูลมีประสิทธิภาพ

 

ติดตาม กำกับ แก้ไขปัญหาและอุปสรรคระหว่างดำเนินการ

 

ประชุมการติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการฯในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี 9 มิ.ย. 2564 9 มิ.ย. 2564

 

-รายงานสถานการณื และความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ -ติดตามการบันทึกข้อมูล และสรุปผลการดำเนินงานระดับพื้นที่

 

1.มีระบบคลังข้อมูลที่สามารถเรียกดุได้ตลอดเวลา 2.สามารถทำรายงานผลการำเนินงานและรายงานการเงินได้แบบReal time 3.สามารถติดตามการดำเนินโครงการอย่าง้ป็นปัจจุบัน

 

ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ครั้งที่2 16 มิ.ย. 2564 16 มิ.ย. 2564

 

ลงพื้นที่ติดตามการบันทึกข้อมูล ในพื้นที่เป้าหมาย

 

รองนายแพทย์สาธารสุขจังหวัดราชบุรีและคณะ ลงพืนที่ อำเภอจอมบึง เพื่อติดตามผลการดำเนินงาน กระตุ้นการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบันเพื่อให้การลงข้อมูลมีประสิทธิภาพ

 

ประชุมถอดบทเรียน 8 ก.ค. 2564 8 ก.ค. 2564

 

สรุปผลดำเนินงานของแต่ละพื้นที

 

เห็นถึงศักยภาพการทำงานร่วมกลับกองทุน,พชอ,รพสต