ชื่อโครงการ | โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 11 |
ภายใต้โครงการ | โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ (77 จังหวัด) |
ภายใต้องค์กร | สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 1 สิงหาคม 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 5 สิงหาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2564 |
งบประมาณ | 935,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | เขต 11 |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายทวีวัตร เครือสาย |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ภูเก็ต กระบี่ ชุมพร พังงา ระนอง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 9.114916455294,99.263000041246place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ต.ค. 2562 | 30 ก.ย. 2563 | 467,500.00 | |||
2 | 1 ต.ค. 2563 | 30 เม.ย. 2564 | 467,500.00 | |||
รวมงบประมาณ | 935,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
1)พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตามประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่าย สสส. สปสช.และ สธ.
2) ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุนฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
|
0.00 | |
2 | ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
|
0.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | |||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
1 การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 30 | 142,000.00 | 2 | 140,744.00 | |
16 - 17 ธ.ค. 62 | ประชุมทีมระดับเขต เพื่อสร้างความเข้าใจ/กำหนดเป้าหมาย/วางแผนร่วม (พชอ./คกก.กองทุน) | 15 | 71,000.00 | ✔ | 55,242.00 | |
30 - 31 ม.ค. 63 | ประชุมทีมระดับเขต เพื่อติดตามความก้าวหน้าและพัฒนากระบวนการดำเนินงาน | 15 | 71,000.00 | ✔ | 85,502.00 | |
2 การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 570 | 532,600.00 | 8 | 532,558.00 | |
25 - 26 ต.ค. 62 | การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 1 จ.ภูเก็ต | 50 | 52,536.00 | ✔ | 52,536.00 | |
31 ต.ค. 62 - 1 พ.ย. 62 | การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 2 จ.นครศรีธรรมราช (ทน.นครศรีฯ) | 80 | 54,750.00 | ✔ | 54,635.00 | |
12 - 13 พ.ย. 62 | การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 3 จ.สุราษฏร์ธานี | 80 | 82,714.00 | ✔ | 70,416.00 | |
14 - 15 พ.ย. 62 | การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 4 จ.ชุมพร | 80 | 75,600.00 | ✔ | 79,028.00 | |
25 - 26 พ.ย. 62 | การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 5 จ.พังงา | 100 | 70,300.00 | ✔ | 110,033.00 | |
2 - 3 ธ.ค. 62 | การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 6 จ.นครศรีฯ (ทม.ปากพูน) | 60 | 72,000.00 | ✔ | 75,133.00 | |
12 - 13 ธ.ค. 62 | การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 7 จ.ระนอง | 60 | 64,700.00 | ✔ | 56,688.00 | |
18 - 19 ธ.ค. 62 | การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก ครั้งที่ 8 จ.กระบี่ | 60 | 60,000.00 | ✔ | 34,089.00 | |
1 ม.ค. 63 - 30 เม.ย. 63 | จัดเวทีพัฒนาศักยภาพทีมระดับพื้นที่ | 0 | 0.00 | - | ||
3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.) | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 98,000.00 | 0 | 0.00 | |
1 - 31 ธ.ค. 62 | จัดทำแผนงาน และพัฒนาโครงการ / บันทึกโครงการ (ทีมพี่เลี้ยง และเจ้าหน้ากองทุน ) | 0 | 98,000.00 | - | ||
1 - 31 ธ.ค. 62 | นำเสนอโครงการเข้าสู่คณะกรรมการกองทุน | 0 | 0.00 | - | ||
4 การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ. | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 159,000.00 | 0 | 0.00 | |
1 ม.ค. 63 - 30 เม.ย. 63 | ติดตามเสริมพลังโครงการที่ผ่านการอนุมัติ (ทีมพี่เลี้ยง และเจ้าหน้ากองทุน ) | 0 | 50,000.00 | - | ||
1 ม.ค. 63 - 30 เม.ย. 63 | ติดตามเสริมพลัง (ประสานความร่วมมือกับภาคีหรือจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้) | 0 | 25,000.00 | - | ||
1 พ.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 | ติดตามประเมินผลการบันทึกการรายงานผล | 0 | 50,000.00 | - | ||
1 พ.ค. 63 - 30 มิ.ย. 63 | ประชุมสรุปประเมินผลการดำเนินงานโครงการ | 0 | 34,000.00 | - | ||
แผนงานกิจกรรมพัฒนากลไกบูรณาการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 11 สุราษฎร์ธานี
ประชุมคณะทำงานเขตและพื้นที่เป้าหมาย
จัดเวทีเรียนรู้การวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาวะเพื่อจัดทำแผนงาน/โครงการ ระดับเขตและโซนพื้นที่
จัดทำแผนงาน และพัฒนาโครงการ / บันทึกโครงการ
ติดตามเสริมพลังโครงการที่ผ่านการอนุมัติ
ติดตามประเมินผลการบันทึกการรายงานผล
สรุปประเมินผลและการบริหารจัดการระบบสนับสนุนกลไก
1)การจัดการความรู้ นวัตกรรม และสื่อรณรงค์ ได้แก่ คู่มือการพัฒนา ติดตามประเมินผลโครงการ สื่อประสัมพันธ์ เอกสารชุดความรู้ เป็นต้น
2)เครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพเกิดความรอบรู้มีขีดความสามารถด้านสุขภาวะ ได้แก่ 1.เครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพมีความรอบรู้และมีความสามารถด้านสุขภาวะในประเด็นกิจกรรมทางกาย อาหาร จัดการปัจจัยเสี่ยงสุรายาเสพติด และด้านอื่นๆ 2.ทีมพี่เลี้ยง นักวิชาการและผู้เสนอโครงการมีทักษะการพัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผล 3.มีข้อเสนอโครงการในกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
3)เกิดพื้นที่สุขภาวะต้นแบบในการบูรณาการการทำงานร่วมของ สสส.-สปสช.-สธ. ที่สามารถนำไปขยายผลในเชิงพื้นที่และเชิงนโยบาย ได้แก่ มีพื้นที่ต้นแบบนำร่องอย่สงน้อยจังหวัดละ 1 พื้นที่
4)เกิดนโยบายสาธารณะทั้งในระดับชาติ ระดับพื้นที่ ระดับหน่วยงาน ได้แก่ 1.ข้อเสนอเชิงนโยบายระบบบริการสุขภาพในการบูรณาการสร้างเสริมสุขภาวะระดับพื้นที่ 2.กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่มีแผนงานหรือยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาวะ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 ส.ค. 2562 09:08 น.