แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ | 17 ต.ค. 2562 |
|
|
|
|
|
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม | 18 ต.ค. 2562 |
|
|
|
|
|
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.) | 19 ต.ค. 2562 |
|
|
|
|
|
|
การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่เขต1 | 20 ต.ค. 2562 |
|
|
|
|
|
|
การประชุม coaching ทีมระดับเขต เขต 1 เชียงใหม่ | 15 พ.ย. 2562 | 15 พ.ย. 2562 |
|
1.ชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียดกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ โดยผู้รับผิดชอบโครงการ 2.อธิบายรายละอียดวิธีการจัดทำแผน รายละอียดการบันทึกสถานการณื วัตถุประสงค์ ที่มาของข้อมูลที่จะบันทึก และการพัฒนาโครงการในโปรแกรมonline โดยพี่เลี้ยงเขต 3.สาธิตการเข้าถึงโปรแกรม การบันทึกการพัฒนาแผนและพัฒนาโครงการ 4.ฝึกปฏิบัติการบันทึกกการทำแผนและพัฒนาโครงการรายบุคคลโดยทีมพี่เลี้ยงเขตช่วย 5.การจัดทำแผนการลงพื้นที่เพื่อประชุมชี้แจงทีมระดับพื้นที่ให้เข้าใจภาพรวมการดำเนินงานและcoaching |
|
1.มีผู้เข้าร่วมครบทุกจังหวัดตามเป้าหมายที่กำหนด 2.ผู้เข้าร่วมประชุมยินดีเข้าร่วมโครงการและเข้าใจกระบวนในการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการแบบonline 3.มีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรมและเกิดแผนปฏิบัติการในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่อเนื่ง |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.เวียงสา จังหวัดน่าน ครั้งที่1 | 13 ธ.ค. 2562 | 14 ธ.ค. 2562 |
|
1.รองนายกเทศมนตรีกล่าวต้อนรับและให้ข้อมูลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ของเทศบาลตำบลเวียงสา2.ชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียดกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการ โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ 2.อธิบายรายละเอียดวิธีการจัดทำแผน รายละอียดการบันทึกสถานการณ์ วัตถุประสงค์ ที่มาของข้อมูลที่จะบันทึก และการพัฒนาโครงการในโปรแกรมonline โดยพี่เลี้ยงเขต 3.สาธิตการเข้าถึงโปรแกรม การบันทึกการพัฒนาแผนและพัฒนาโครงการ 4.แจ้งUsernameและPasswordให้แก่พิ้นที่และฝึกปฏิบัติการบันทึกการทำแผนและพัฒนาโครงการรายบุคคลโดย ทีมพี่เลี้ยงเขต 5.การจัดทำแผนการcoachingของพื้นที่เพื่อหนุนเสริมในการบันทีกแผน และการพัฒนาโครงการลงในโปรแกรมโดยทีมระดับพื้นที่ |
|
มีกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมการกิจกรรมครบทั้ง 11 แห่ง ผู้เข้าร่วมทุกคนสามารถเข้าถึงโปรแกรมได้ทุกคนและมีตัวแทนกรรมการพชอ.เข้าร่วมประชุม ทดลองใช้โปรแกรมและแสดงความจำนงจะขออนุญาติอีก6 รพสต.และ 3 กองทุนเข้าร่วมกิจกรรมในคราวต่อไปและขอทีมพี่เลี้ยงพื้นที่ให้คำแนะนำกลุ่มที่จะขออนุญาตเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่ม |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.ร้องกวาง จังหวัดแพร่ ครั้งที่1 | 23 ธ.ค. 2562 | 23 ธ.ค. 2562 |
|
ชี้แจงนโยบายพชอ.ร้องกวางโดยผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอ นำเสนอวัตุประสงค์โครงการแนวทางการดำเนินการของโครงการโดย ผู้รับผิดชอบโครงการ ชี้แจงสาธิตการบันทึการทำแผนทั้ง5 แผนและการพัฒนาโครงการโดยใช้โปรแกรมออนไลน์และฝึกปฎิบัติการบันทึกกการทำแผนและพัฒนาโครงการโดยมีพี่เลี้ยงในระดับเขตและพื้นที่ร่วมดูแล |
|
มีผู้เข้าร่วมประชุมครบทั้ง 11 แห่ง กลุ่มเป้าหมายสามารถบันทึกการทำแผนและพัฒนาโครงการได้และมีการร่างแผนการติดตามของทีมพี่เลี่ยงในพื้นที่ |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.ลี้ จังหวัดลำพูน ครั้งที่1 | 24 ธ.ค. 2562 | 24 ธ.ค. 2562 |
|
1.ผู้อำนวยการโรงพยาบาลลี้กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม 2. สสอ.ลี้ นำเสนอนโยบายของพชอ.ลี้ 3.ชี้แจงความเป็นมา วัตถุประสงค์และเป้าหมายการการบูรณาการขับเคลื่อนการ โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ 4.นำเสนอระเบียบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ สาธิตการวางแผนการทำงาน การพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย ทีมพี่เลี้ยงระดับเขต 5.ฝึกปฏิบัติบันทึกจัดทำแผน การพัฒนาโครงการในการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ในโปรแกรมออนลน์ โดย ทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและพื้นที่ 6. วางแผนการเสริมพลังและการติดามของพี่เลี้ยงในพื้นที่ |
|
1.มีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมครบทุกแห่ง 2. ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถบันทึกข้อมูลการทำแผน และการพัฒนาโครงการเข้าในโปรแกรมได้ 3. มีการจัดทำแผนติดตามเสริมพลังของพื้นที่ |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.เมือง จังหวัดพะเยาครั้งที่1 | 26 ธ.ค. 2562 | 26 ธ.ค. 2562 |
|
1.นายกเทศมนตรีตำบลต๋อม กล่าวต้อนรับและเปิดการประชุม
2.ผช.สสอ เมืองนำเสนอนโยบายของพชอ.เมือง
3.ชี้แจงความเป็นมา วัตถุประสงค์และเป้าหมายการการบูรณาการขับเคลื่อนการ |
|
1.กลุ่มเป้าหมายมาเข้าร่วมเพิ่มจากเป้าหมายอีก 3แห่ง และให้ทดลองบันทึดข้อมูลสามารถทำได้ทุกแห่ง นอกกลุ่มเป้าหมายอีก 3แห่งขอเข้าร่วมโครงการ 2.มีการทำแผนการเสริมพลังและการติดามของพี่เลี้ยงในพื้นที่ |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.แม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอนครั้งที่1 | 9 ม.ค. 2563 | 14 ม.ค. 2563 |
|
1.สสอ.แม่ลาน้อยกล่าวต้อนรับนำเสนอนโยบายของพชอ.แม่ลาน้อย 2.พี่เลี้ยงจังหวัดชี้แจงและนำเสนอระเบียบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงและประชาสัมพันธ์รายละเอียดการเข้าร่วมกองทุนฟื้นฟูของแม่ฮ่องสอนในเรื่องระเบียบและแนวทางการสนับสนุนงบของกองทุนนี้และซักถามปัญหาอุปสสคในการดำเนิงานของกองทุนฯในอำเภอแม่ลาน้อย
3.ชี้แจงความเป็นมา วัตถุประสงค์และเป้าหมายการการบูรณาการขับเคลื่อนการ |
|
1.มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมครบทั้ง 9 กองทุน 2.ตัวแทนแต่ละกองทุนมีความเข้าใจการจัดทำแผน แนวทางการพัฒนาโครงการและสามารถบันทึกข้อมูลในโปรแกรรมได้ 3.สสอ.ซักถามกระบวนการในการใช้ข้อมูลในการบริหารจัดการ และขอความร่วมมือทุกแห่งให้บันบันทึกข้อมูลเข้าโปรแกรมให้ครบทุกแห่ง |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่รพสต.สันนาเม็ง อ.สันทราย จังหวัดเชียงใหม่ครั้งที่1 | 24 ม.ค. 2563 | 24 ม.ค. 2563 |
|
|
|
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมมีความครอบคลุมทั้ง ตัวแทนพชอ.จากสสอ ผอรพสต. ผู้รับผิดชอบโครงการทั้งของเทศบาลและรพสต กรรมการกองทุน กรรมการกลั่นกรองโครงการ ผู้เสนอโครงการ และผู้นำชุมชน ให้ความสนใจซักถามการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการ และมีการ และมีการนัดหมายให้ทีมพี่เลี้ยงในพื้นที่ซักซ้อมและรวมกลุ่มโครงการที่เหลือกรอกข้อมูลต่อไป |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่เทศบาลนครเชียงราย ครั้งที่1 | 28 ม.ค. 2563 | 28 ม.ค. 2563 |
|
28มกราคม 2563 มีกระบวนการดังนี้
29มกราคม 2563 มีกระบวนการดังนี้
|
|
28มค.2563 มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมครอบคลุมตามกำหนด ประกอบด้วยประธานอสม. 30 ชุมชน กรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้ความสนใจและมีส่วนร่วมในการทดลองทำแผนครอบคลุมทั้ง 5 แผน กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่สามารถทดลองบันทึกการทำแผนและการพัฒนาโครงการ กิจกรรมได้ 29มค.2563 มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมครอบคลุมตามกำหนด ประกอบด้วยประธานอสม. 35 ชุมชน กรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในรพสต.ในเครือข่ายของเทศบาลให้ความสนใจและมีส่วนร่วมในการทดลองทำแผนครอบคลุมทั้ง 5 แผน กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่สามารถทดลองบันทึกการทำแผนและการพัฒนาโครงการ กิจกรรมได้ |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่เทศบาลนครลำปาง ครั้งที่1 | 30 ม.ค. 2563 | 30 ม.ค. 2563 |
|
1.แนะนำตัวแทยผู้บริหารและนายกเทศมนตรีนครลำปางกล่าวต้อนรับและให้ข้อมูลสภาพปัญหาของเทศบาลนครลำปางพบว่า มีฝุ่นควัน น้ำเน่าและผลกระทบในการท่องเที่ยวและด้านสุขภาพของคนในชุมชนจากโรคโคโรน่าไวรัส แนวทางและช่วงเวลาในการเสนอโครงการ 2.ชี้แจงวัตถุประสงค์ ความเป็นมาของโครงการ รูปแบบการสนับสนุนกิจกรรมในโครงการโดยผู้รับผิดชอบโครงการ 3.พี่เลี้ยงเขตอธิบายแนวทางการจัดแผนงาน รายละเอียดความเชื่อมโยงในการพัฒนาโครงการ 4.อธิบายภาพรวมโครงสร้างการจัดทำแผนงาน การพัฒนาโครงการในโปรแกรมonlineที่จะอำนวยความสะดวกในการทำงานเมื่อนำไปใช้โดยพี่เลี้ยงเขต 5.แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม ทดลองบันทึกแผนงาน ทั้ง 5 แผน และพัฒนาโครงการ โดยมีพี่เลี้ยงเขตและพี่เลี้ยงในพนที่ร่วมดูแล |
|
มีผู้เข้าร่วมประชุมครอบคลุมตามกลุ่มที่กำหนดคือกรรมการกองทุน ประธานชุมชน ประธานชมรมสูงอายุ ตัวแทนกลุ่มต่างๆในชุมชน 45 ชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของเทศบาล และโรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจทดลองบันทึก ซักถาม การใช้โปรแกรม และส่วนใหญ่สามารถบันทึกข้อมูลการจัดทำแผนและการพัฒนาดครงการ รวมทั้งมีความเข้าใจในการใช้ข้อมูลลบันทึกในส่วนของสานการณ์ ได้แผนงานโครงการในพื้นที่ |
|
การประชุมเชิงปฎิบัติการสาธิตและพัฒนาทักษะในการบันทึกการพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการโปรแกรมแก่ทีมพื้นที่ใน8 พื้นที่เขต1ครั้งที่2 | 5 มิ.ย. 2563 | 5 ส.ค. 2563 |
|
ผู้เข้าร่วมประชุมทดลองบันทึกการจัดทำแผนโควิด การตรวจสอบการลงโปรแกรมรายจังหวัด เกิดแผนในการทบทวนและติดตามในพื้นที่ภายใน3 เดือนต่อไป |
|
ผู้เข้าร่วมประชุมทดลองบันทึกการจัดทำแผนโควิด การตรวจสอบการลงโปรแกรมรายจังหวัด เกิดแผนในการทบทวนและติดตามในพื้นที่ภายใน3 เดือนต่อไป |
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอร้องกวางจ.แพร่ครั้งที่2 | 2 ก.ค. 2563 | 2 ก.ค. 2563 |
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมาย10 พีืนที่ให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตามโดย
|
|
|
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายเทศบาลตำบลสันนาเม็ง อำเภอสันทราย จ.เชียงใหม่ครั้งที่ 2 | 8 ก.ค. 2563 | 8 ก.ค. 2563 |
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม โดย
1.ทบทวนเป้าหมายการดำเนินงานโครงการ โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ |
|
1.มีตัวแทนรพสต. พี่เลี้ยงพื้นที่ ผู้รับผิดชอบงานกองทุน แกนนำชุมชน ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมกิจกรรมรวม 35 คน 2.มีแผนงานโครงการครอบคลุม ใน5 ประเด็น |
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอเมือง จ.พะเยา ครั้งที่ 2 | 9 ก.ค. 2563 | 9 ก.ค. 2563 |
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม โดย
|
|
|
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอเวียงสา จ. น่าน ครั้งที่2 | 10 ก.ค. 2563 | 10 ก.ค. 2563 |
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม โดย
|
|
ตัวแทนรพสต. พี่เลี้ยงพื้นที่ ผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้รับผิดชอบโครงการ |
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอลี้ จ.ลำพูน ครั้งที่2 | 17 ก.ค. 2563 | 17 ก.ค. 2563 |
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม โดย
|
|
1.มีตัวแทนรพสต. พี่เลี้ยงพื้นที่ ผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้รับผิดชอบโครงการบางส่วนเข้าร่วมกิจกรรม 35 คนยกเว้นผู้รับผิดชอบงานกองทุนในเขตเทศบาล 5แห่งติดภาระกิจ 2.มีการบันทึกแผนงานปัจจัยเสี่ยง 5 แผน และบันทึกโครงการที่เกี่ยวข้องกับแผนทั้ง5 แผน |
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายอำเภอแมาน้อย จ.แม่ฮ่องสอน ครั้งที่2 | 23 ก.ค. 2563 | 23 ก.ค. 2563 |
|
ตัวแทนรพสต. พี่เลี้ยงพื้นที่ ผู้รับผิดชอบงานกองทุน ผู้รับผิดชอบโครงการ |
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม โดย
|
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายเทศบาลนครลำปาง อ.เมือง จ.ลำปาง ครั้งที่2 | 29 ก.ค. 2563 | 20 ก.ค. 2563 |
|
การ coaching ทีมเทศบาลนครลำปางและพื้นที่เป้าหมายให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน โครงการให้พื้นที่สามารถในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม โดย
1.ทบทวนเป้าหมายการดำเนินงานโครงการ โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ |
|
1.มีพี่เลี้ยงพื้นที่ ตัวแทนเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุข ตัวแทนผู้รับผิดชอบงานกองทุน ตัวแทนจนท.เวชกรรมสังคมโรงพยาบาลลำปางและผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมกิจกรรม 60 คน 2.มีการบันทึกแผนงานครอบคลุมทั้ง5 แผน และมีการบันทึกโครงการตัวอย่าง |
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมายเทศบาลนครเชียงราย จ.เชียงราย ครั้งที่2 | 5 ส.ค. 2563 | 5 ส.ค. 2563 |
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ และพื้นที่เป้าหมาย11 พื้นที่ให้สามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน ในการจัดทำแผนตำบลทั้ง 5 แผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการ ในระบบ โดย 1.ทบทวนเป้าหมายการดำเนินงาน โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ ทบทวนการทำแผนงาน 6แผน และพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงเขต สาธิตการบันทึกการพัฒนาและทดลองบันทึกการติดตามโครงการในโปรแกรม ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกไว้เดิม ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกโดยมีทีมพี่เลี้ยงเขต จังหวัดและพื้นที่ให้คำแนะนำ วางแผนการติดตามของพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่ |
|
พื้นสามารถปฏิบัติการบันทึกแผนงาน ในการจัดทำแผนตำบลทั้ง 5 แผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการ ในระบบ โดย 1.ทบทวนเป้าหมายการดำเนินงาน โดย ผู้รับผิดชอบโครงการ ทบทวนการทำแผนงาน 6แผน และพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงเขต สาธิตการบันทึกการพัฒนาและทดลองบันทึกการติดตามโครงการในโปรแกรม ตรวจสอบข้อมูลที่บันทึกไว้เดิม ฝึกปฏิบัติการลงบันทึกโดยมีทีมพี่เลี้ยงเขต จังหวัดและพื้นที่ให้คำแนะนำ วางแผนการติดตามของพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่ได้ |
|
การประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาแผน การบันทึกการพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการในโปรแกรมในพื้นที่พชอ.ร้องกวาง | 26 ส.ค. 2563 | 26 ส.ค. 2563 |
|
1.เลขานุการพชอ.ร้องกวางพบปะและให้ข้อมูลการดำเนินงานของพชอ.ร้องกวาง 2.ทีมพี่เลี้ยงทบทวนการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์โดย ทีมพี่เลี้ยงระดับเขต 3.ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการจัดทำแผน ในการติดตามเสริมพลังการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ อ.ร้องกวางโดย ทีมพี่เลี้ยงเขตและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ 4.ตรวจสอบการจัดทำแผนงานและโครงการภาพรวมในระบบ |
|
1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการประชุมครอบคลุมทุกกลุ่มจำนวน 25 คน 2.มีการจัดทำแผนครอบคลุมทั้ง10 แห่งอย่างน้อย 5 แผน 3.มีการบันทึกโครงการอปท.ละ 1โครงการ |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการกองทุนในพื้นที่พชอ.เวียงสา จ.น่าน | 28 ส.ค. 2563 | 28 ส.ค. 2563 |
|
1.สาธารณสุขอำเภอเวียงสาเลขานุการ พชอ.เวียงสาพบปะ ให้ข้อมูลสถานการณ์ การดำเนินงานของพชอ.เวียงสา 2.ทบทวนการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์โดย ทีมพี่เลี้ยงระดับเขต 3.ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการจัดทำแผน ในการติดตามเสริมพลังการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ อ.เมืองพะเยา โดย ทีมพี่เลี้ยงเขตและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ 4.ตรวจสอบการบันทึกแผนงานและโครงการภาพรวมในระบบ |
|
1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมครอบคลุมตามเป้าหมายที่กำหนด 45 คน 2.มีการจัดทำแผนอย่างน้อย5 แผนต่อกองทุน |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผน ข้อเสนอโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามกองทุนในพื้นที่พชอ.เมือง จังหวัดพะเยา | 30 ส.ค. 2563 | 30 ส.ค. 2563 |
|
1.ผู้แทนเทศบาลตำบลต๋อมกล่าวต้อนรับ2.ตัวแทนทีมเลขานุการพชอ.เมืองให้ข้อมูลการดำเนินการของคณะทำงานพชอ.เมือง 3.ทีมพี่เลี้ยงระดับเขตทบทวนการบันทึกแผนในภาพรวมของอำเภอเมือง และ ตรวจสอบข้อมูลการบันทึกข้อมูลเดิม 4.ปฏิบัติการบันทึกข้อมูลการจัดทำแผนงาน และการบันทึกพัฒนาโครงการและการติดตามโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงเขตและพื้นที่ 5.ตรวจสอบภาพรวมการบันทึกแผนงานโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงเขตและพื้นที่ |
|
1.มีผู้เข้าร่วมประชุมเป็นตัวแทนพชอ .กองทุนและรพสต.ครบทุกแห่ง รวม 20 คน 2.มีแผนงานอย่างน้อย 5 แผนต่อกองทุนและมีการพัฒนาโครงการ |
|
การประชุมเชิงปฎิบัติการในการบันทึกแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการในโปรแกรมแก่ทีมพื้นที่รพสต.โอนย้ายตำบลสันนาเม็งอ.สันทรายจ.เชียงใหม่ | 31 ส.ค. 2563 | 31 ส.ค. 2563 |
|
1.ทีมพี่เลี้ยงระดับเขตทบทวนการบันทึกแผนในภาพรวมของเทศบาลตำบลสันนาเม็ง และ ตรวจสอบข้อมูลการบันทึกข้อมูลเดิม 2.ปฏิบัติการบันทึกข้อมูลการจัดทำแผนงาน และการบันทึกพัฒนาโครงการและการติดตามโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงเขตและพื้นที่ 3.ตรวจสอบภาพรวมการบันทึกแผนงานโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงเขตและพื้นที่ |
|
1.มีผู้เข้าร่วมประชุมเป็นแกนนำชุมชน จนท.กองทุนและตัวแทนรพสต.ครบทุกแห่ง รวม 20 คน 2.มีแผนงานอย่างน้อย 5 แผนต่อกองทุนและมีการพัฒนาโครงการ |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการcoachingทีมระดับเขตและพื้นที่ในการติดตามและประเมินผลโครงการของพื้นที่โดยใช้โปรแกรมออนไลน์ | 15 พ.ย. 2563 | 20 ธ.ค. 2563 |
|
1.ทบทวนการสนับสนุนกิจกรรมโครงการ 2.นำเสนอผลการติดตามภาพรวมรายจังหวัดโดยตัวแทนทีมพี่เลี้ยงแต่ละพื้นที่ 3.ตรวจสอบข้อมูลการบันทึกกิจกรรมและการติดตามโครงการ4.ทดลองบันทึกการติดตามประเมินโครงการในโปรแกรม 5.จัดทำแผนปฎิบัติการของกิจกรรมการติดตามประเมินผลในแค่ละพื้นที่ 6.สรุปแผนการดำเนินการอภิปราย |
|
1.กลุ่มแกนนำตัวแทนระดับเขต 7 คน ตัวแทนแต่ละพื้นที่ 7 คนและตัวแทนจากเทศบาลนครและรพสต.ถ่ายโอน 5 คน ได้ร่วมอภิปรายปัญหาและอุปสรรค ในการดำเนินงานในแต่ละพื้นที่และร่วมกันตรวจสอบการบันทึกรายละเอียดข้อมูลในการจัดทำแผนและการบันทึกข้อมูลในแต่ละกิจกรรมของแต่ละพื้นที่ พบการลงบันทึกข้อมูลสถานการณ์ยังไม่ถูกต้อง ครบถ้วนในแต่ละแผน การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้แยกรายกิจกรรมในบางแห่ง 2.พี่เลี้ยงจังหวัดแต่ละจังหวัดจัดทำแผนในการกำหนดการติดตามผลการดำเนินงานในแต่พื้นที่ |
|
การติดตามแผนและโครงการ การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานและสรุปผลการทำงานของแต่ละพื้นที่ของแต่ละกองทุนตำบลฯ และท้องถิ่นที่รับโอนรพ.สต. ในพื้นที่ 8 จังหวัด | 2 ก.พ. 2564 | 5 ก.พ. 2564 |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการ การติดตามแผนและโครงการ การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานและสรุปผลการทำงานในพื้นที่เขต ๑ 1.ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม และรายงานสถานการณ์การทำงานและแนวทางในการคัดเลือกโครงการคุณภาพในแต่พื้นที่โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 2.นำเสนอผลการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรคของแต่ละพื้นที่โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด 3.นำเสนอสถานการณ์ผลการดำเนินงานของกองทุนแต่ละจังหวัดโดยพี่เลี้ยงเขต สปสช.1 4.ปฏิบัติการการบันทึกกิจกรรมและการติดตามประเมินผลโครงการในแต่จังหวัด โดยใช้เว็บไซต์กองทุนฯ โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต 5.ทวนสอบการบันทึกกิจกรรมและการติดตามประเมินผลโครงการของกองทุนเป้าหมาย โดย ทีมพี่เลี้ยง 6.จัดทำแผนในการสนับสนุนติดตามหนุนเสริมกองทุนเป้าหมายในแต่ละจังหวัดและข้อเสนอแนะการดำเนินงาน |
|
1.มีพี่เลี้ยงเขต จังหวัดและตัวแทนพื้นที่เข้าร่วม 6 จังหวัด 2.มีการกำหนดแนวทางในการคัดเลือก1 โครงการ 1จังหวัดนัดหมายส่งรายละเอียดก่อน 10 กพ 64 |
|
การติดตามแผนและโครงการของแต่ละกองทุนตำบลฯ และท้องถิ่น. ในพื้นที่ เขต1 | 18 มี.ค. 2564 | 3 ส.ค. 2564 |
|
16 มีนาคม -15 มิถุนายน 2564 ออกติดตาม หนุนเสริมการจัดทำแผนปัจจัยเสี่ยงและแผนงานตามบริบทพื้นที่อย่างน้อย 5 แผน แก้ไขข้อมูลสถานการณ์ แนะนำแหล่งที่มาของข้อมูลในการบันทึก การการตรวจสอบข้อมูล โดยทีมพี่เลี้ยงและตัวแทนผู้รับผิดชอบกองทุนในแต่ละพื้นที่ ร่วมดำเนินการในการบันทึก การแก้ไขเพิ่มเติมและลบข้อมูลที่ไม่ถูกต้องในโปรแกรมทั้งการพัฒนาแผน การพัฒนาโครงการและการติดตามโครงการ การตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลการจัดทำแผนระดับอำเภอ ในพื้นที่เขต 1 ดังนี้
1.ในพื้นที่เทศบาลขนาดใหญ่ที่นครลำปาง 2 ครั้ง ในวันที่ 10 เมษายน 2564และ 5 พฤษภาคม 2564 |
|
ติดตามในพื้นที่ 7 จังหวัด จำนวน 19 ครั้ง และมีการปรับปรุงแผนคงเหลือ 16 ชุดแผนงาน จำนวน 528 แผนและพัฒนาโครงการ 350 โครงการ
โดยมีการจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการ ติดตามโครงการใน 5 แผน ดังนี้
1.แผนงานอาหารและโภชนาการ 57 แผน 31 โครงการ |
|
ประชุมสรุปผลการดำเนินงานและทบทวนแผนการทำงานของแต่ละพื้นที่เขต1 อำเภอร้องกวาง จ.แพร่ | 30 มี.ค. 2564 | 1 เม.ย. 2564 |
|
1.ตรวจทานการบันทึกการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและการติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ ภาพรวมของอำเภอร้องกวางโดย เพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ และ นายสุวิทย์ สมบัติ |
|
1.มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจากอปท. รพ.ร้องกวางและรพสต.เข้าร่วมแห่งละ1-2 คนรวม 31คน
2.มีแผนงานเดิม และได้ดำเนินการแก้ไขปรับปรุงและลบแผนงานที่ไม่สมบูรณ์ทั้งหมดจำนวน13 ชุด คงบันทึกแผนงาน ทั้งหมด 89 แผน |
|
การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการพื้นที่เขต1เทศบาลสันนาเม็ง อ.สันทรายจ.เชียงใหม่ | 7 เม.ย. 2564 | 7 เม.ย. 2564 |
|
ตรวจสอบการบันทึกแผนงานโครงการการบันทึกกิจกรรมและลงบันทึกการติดตามโครงการและการประเมินผลโครงการ
๑.ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม และรายงานสถานการณ์การดำเนินงานโครงการโดย นายสุวิทย์ สมบัติ ดังนี้
๑.๑ วัตถุประสงค์ในการประชุมครั้งนี้เพื่อติดตามการบันทึกข้อมูลแผนงานและโครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ดำเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพ และการพิจารณาโครงการที่สามารถเป็นพื้นที่นำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะได้ |
|
มีพี่เลี้ยงเขต จังหวัดเข้าร่วม 10 คน มีการแก้ไขแผนงาน ลบแผนงานที่ไม่ได้ดำเนินการ คงเหลือ จำนวน 11 แผนงาน และโครงการที่พัฒนา 7 โครงการคือ ด้านอาหารโภชนาการ 2 กิจกรรมทางกาย 3 การบริหารจัดการกองทุน 1และอนามัยแม่และเด็ก 1และโครงการที่ติดตาม 8 โครงการ คือ ด้านอาหารโภชนาการ1 กิจกรรมทางกาย3 และอนามัยแม่และเด็ก 1กลุ่มเสี่ยง โรคระบาดและเหล้า อย่างละ 1โครงการ |
|
การประชุมสรุปผลการดำเนินงานโครงการในพื้นที่เขต1ในทีมระดับเขตและพื้นที่ | 26 มิ.ย. 2564 | 17 ก.ค. 2564 |
|
26 มิถุนายน 2564
1.ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม และรายงานนำเสนอภาพรวมผลการดำเนินงาน ผ่านเว็บ |
|
สรุปการรายงานผลการดำเนินงานโครงการ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ ดังนี้ |
|
การถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ | 2 ก.ค. 2564 | 17 ก.ค. 2564 |
|
2กรกฎาคม 2564
1.ชี้แจงวัตถุประสงค์ และกรอบการทำรายงาน การถ่อดบทเรียนการดำเนินงาน โครงการ โดย |
|
มีตัวแทนพี่เลี้ยงเขต พื้นที่ตัวแทน พชอ กองทุนเข้าร่วมการถอดบทเรียนประเด็นในการถอดบทเรียน 1. ภาพรวม - ศักยภาพของกรรมการกองทุน/ ผู้รับผิดชอบกองทุน/ เครือข่ายที่ขอการสนับสนุน - มีแผน/ คุณภาพของแผน - มีโครงการ/ คุณภาพของโครงการสอดคล้องกับแผน - มีการประเมินผล/ คุณภาพของการประเมินผล 2. พชอ. - การทำงานร่วมกับ พชอ. - การมีแผนประเด็นระดับอำเภอ 3. กองทุนขนาดใหญ่ - การทำงานร่วมกับกองทุนขนาดใหญ่ - เงินรายได้สะสมลดลงหรือไม่ 4. รพ.สต.ถ่ายโอน - การทำงานร่วมกับ รพ.สต.ถ่ายโอน - เปรียบเทียบโครงการของ รพ.สต. ระหว่าง รพ.สต.ที่ไม่ถ่ายโอน กับ รพ.สต.ที่ถ่ายโอนให้กับท้องถิ่น 5. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ และข้อเสนอแนะในการปรับปรุง |
|