สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

diversity_2

โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ และพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ (77 จังหวัด)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
ตัวชี้วัด : 1. ตัวชี้วัดด้านการจัดการความรู้ นวัตกรรม และสื่อรณรงค์ 1.1ได้คู่มือการพัฒนา ติดตามประเมินผลโครงการ เพื่อใช้สนับสนุนการพัฒนาโครงการสร้างเสริมสุขภาวะ อย่างน้อย 5 ชุด 1.2ได้คู่มือการ Coaching การให้คำปรึกษา1 ชุด 1.3ได้เอกสารชุดการสังเคราะห์ความรู้และประสบการณ์การบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะระดับพื้นที่ 1.4เกิดชุดสื่อรณรงค์ เพื่อการสื่อสารสาธารณะที่เป็น mass media อย่างน้อย 1 เรื่อง 1.5 เกิดการสื่อสารเรื่องการสร้างเสริมสุขภาวะ ขยายเผยแพร่สู่สาธารณะในวงกว้างของสังคม นำไปสู่การรับรู้ เข้าใจ และมีความตระหนักต่อการสร้างเสริมสุขภาวะของตนเอง 1.6 ได้ข้อเสนอโครงการสร้างเสริมสุขภาวะที่สอดคล้อง แผนสร้างเสริมสุขภาวะ สสส. สปสช. และสธ.โดยเป็นโครงการที่มีคุณภาพ ร้อยละ 80 1.7 ได้เครื่องมือ (Tool) ระบบสารสนเทศ online ที่ใช้ในการพัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการสร้างเสริมสุขภาวะระดับพื้นที่ 4. เกิดนโยบายสาธารณะทั้งระดับชาติ ระดับพื้นที่ ระดับหน่วยงาน 4.1เกิดข้อเสนอเชิงนโยบายในระบบบริการสุขภาพ ในการบูรณาการการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ ระดับพื้นที่ 4.2 กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ มีแผนและโครงการการสร้างเสริมสุขภาวะ ประเด็นกิจกรรมทางกายอาหาร การจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ ยาเสพติด จำนวนประมาณ821กองทุน
0.00

 

 

 

2 ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ตัวชี้วัด : 2. เครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพเกิดความรอบรู้มีขีดความสามารถด้านสุขภาวะ 2.1 เครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพที่มีความรอบรู้มีขีดความสามารถด้านสุขภาวะ ประเด็นกิจกรรม ทางกาย อาหาร การจัดการปัจจัยเสี่ยงสุรา ยาสูบ สารเสพติด และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง  เครือข่ายกระทรวงสาธารณสุข (บุคลากรสายสุขภาพ ใน รพ.สต. และอสม.)  เครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่สปสช. กองทุน  เครือข่ายวิชาการ สถาบันการศึกษา  เครือข่ายคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) 77 อำเภอ 2.2ทีมพี่เลี้ยง นักวิชาการ และผู้เสนอโครงการสร้างเสริมสุขภาวะ ร้อยละ 100ได้รับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพด้านการเขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผล และนำความรู้ไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.3เกิดข้อเสนอโครงการ 821 โครงการ ในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ในพื้นที่ 77 อำเภอ ของ 77 จังหวัด และในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นที่รับการถ่ายโอน รพ.สต. 3. เกิดพื้นที่สุขภาวะต้นแบบในการบูรณาการการทำงานร่วมของสสส. สปสช. และสธ. ที่สามารถนำไปขยายผลในเชิงพื้นที่ และเชิงนโยบาย 3.1 เกิดพื้นที่ต้นแบบนำร่อง ในการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะระดับพื้นที่อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง
0.00