แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ (โรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ) ”
จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางวาณีย์ มาชาตรี (0935836173)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ (โรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ)
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ (โรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ (โรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ (โรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กในวัยเรียนควรได้รับการดูแลเรื่องโภชนาการให้มีความเหมาะสมและพอดีกับความต้องการของร่างกาย มิฉะนั้นหากเด็กมีภาวะอ้วนหรือผอมจะเกิดผลกระทบต่อเด็กโดยมีโรคตามมาหลายชนิด เด็กเกิดปมด้อยขาดความเชื่อมั่นในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม เรียนรู้ช้า การให้ความรู้และความตระหนักให้กับนักเรียนในโรงเรียน โดยการฝึกแกนนำนักเรียนให้เรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติจริง และถ่ายทอดความรู้ไปยังเพื่อนๆและรุ่นน้อง ตลอดจนในชุมชนมีวิทยากร อสม. ที่สามารถให้ความรู้ดูแลเรื่องสุขภาพอนามัย เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมให้นักเรียนหันมากินโปรตีน ผักและผลไม้เพิ่มมากขึ้น เพื่อไม่ให้มีจำนวนเด็กอ้วน เด็กผอม และควบคุมไม่ให้เด็กที่มีภาวะสมส่วนอยู่แล้วมีแนวโน้มเป็นเด็กอ้วน และผอมเพิ่มมากขึ้นในโรงเรียน โรงเรียนมีความเห็นว่าการให้ความรู้ในรูปแบบใหม่ที่เน้นฝึกการคิดและปฏิบัติเอง จะเป็นการดึงดูดความสนใจในด้านที่เกี่ยวข้องกับอาหารและโภชนาการต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้แก่ เด็ก ครอบครัว แม่ครัว เป็นยุทธศาสตร์สำคัญที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทำให้เด็กรับประทานอาหารที่ปลอดภัยและมีประโยชน์ต่อร่างกาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดปีการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียน และชุมชนมาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร
- เพื่อให้นักเรียนมีการเจริญเติบโตสมส่วน สุขภาพดี แข็งแรง
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ด้านการเกษตรและใช้พื้นที่ว่างในสถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ซื่อพันธุ์ปลาดุกจำนวน 300 ตัว ตัวละ 2 บาท และอาหารปละดุกเล็กจำนวน 100 บาท
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
นักเรียนชั้นประถมปีที่1-6
100
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมรับหลักการโครงการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา
วันที่ 26 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผู้บริหารประชุมรับหลักการโครงการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้บริหารรับทราบหลักการโครงการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา
1
0
2. สร้างบ่อซีเมนต์เลี้ยงปลาดุกขนาด 3*3 เมตร จำนวน 2 บ่อ
วันที่ 8 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
สร้างบ่อซีเมนต์เลี้ยงปลาดุกจำนวน 2 บ่อ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้สร้างบ่อซีเมนต์เลี้ยงปลาดุกจำนวน 2 บ่อ
3
0
3. ให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์
วันที่ 25 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ครูให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องการเตรียมบ่อและการดูแลรักษาบ่อปลาดุก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรีบนได้รับความรู้เรื่องการเตรียมบ่อและการดูแลรักษาบ่อปลาดุกและปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง
8
0
4. ซื่อพันธุ์ปลาดุกจำนวน 300 ตัว ตัวละ 2 บาท และอาหารปละดุกเล็กจำนวน 100 บาท
วันที่ 21 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ซื่อพันธุ์ปลาดุกจำนวน 300 ตัว ตัวละ 2 บาท และอาหารปละดุกเล็กจำนวน 100 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผลผลิต ได้ปลาดุกสำหรับส่งเข้าโรงครัวใช้ทำอาหารกลางวันจำนวน2 บ่อๆละ300 ตัว จับแล้ว1 บ่อตลอดการทำโครงการ ได้ปลาดุก 50 กิโลกรัมตอนนี้ยังมีปลาดุกอีกหนึ่งบ่อ จะจับตอนสิ้นเดือน
0
0
5. ซื้อก้อนเห็ดจำนวน 300 ก้อน ราคาก้อนละ 10 บาท เป็นเงินจำนวน 3,000 บาท
วันที่ 23 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ซื้อก้อนเห็ดจำนวน 300 ก้อน ราคาก้อนละ 10 บาท เป็นเงินจำนวน 3,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ก้อนเห็ดจำนวน 300 ก้อน
- ผลผลิต ได้เห็ดสำหรับโครงการอาหารกลางวัน สัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการได้ 60 กิโลกรัม และสามารถจำหน่ายให้ผู้ปกครองในชุมชน
10
0
6. ซื้ออาหารปลาดุกขนาดกลาง
วันที่ 6 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ซื้ออาหารปลาดุกขนาดกลาง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้อาหารปลาดุกขนาดกลางจำนวน 2 กระสอบ
0
0
7. ซื่อพันธุ์ปลาดุกจำนวน 300 ตัว ตัวละ 2 บาท และอาหารปละดุกเล็กจำนวน 100 บาท
วันที่ 26 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ซื่อพันธุ์ปลาดุกจำนวน 300 ตัว ตัวละ 2 บาท และอาหารปละดุกเล็กจำนวน 100 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้พันธุ์ปลาดุกจำนวน 300 ตัว ตัวละ 2 บาท และอาหารปละดุกเล็กจำนวน 100 บาท
0
0
8. ซื้อพันธุ์ไก่ไข่จำนวน 20 ตัว ราคาตัวละ 180 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท และซื้ออาหารไก่ไข่จำนวน 2 กระสอบ เป็นเงิน 1,000 บาท
วันที่ 30 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ซื้อพันธุ์ไก่ไข่จำนวน 20 ตัว ราคาตัวละ 180 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท และซื้ออาหารไก่ไข่จำนวน 2 กระสอบ เป็นเงิน 1,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้พันธุ์ไก่ไข่จำนวน 20 ตัว ราคาตัวละ 180 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท และซื้ออาหารไก่ไข่จำนวน 2 กระสอบ เป็นเงิน 1,000 บาท
14
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดปีการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียน และชุมชนมาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร
ตัวชี้วัด : มีผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตในโรงเรียนและชุมชนมาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร ร้อยละ 70
0.00
2
เพื่อให้นักเรียนมีการเจริญเติบโตสมส่วน สุขภาพดี แข็งแรง
ตัวชี้วัด : นักเรียนอ้วนและนักเรียนผอมลดลงร้อยละ 5
0.00
3
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ด้านการเกษตรและใช้พื้นที่ว่างในสถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียนทุกคนมีความรู้ ทักษะ ด้านการเกษตร และสามารถใช้พื้นที่ที่ว่างในสถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนชั้นประถมปีที่1-6
100
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ (โรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวาณีย์ มาชาตรี (0935836173) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ (โรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ) ”
จังหวัดสงขลาหัวหน้าโครงการ
นางวาณีย์ มาชาตรี (0935836173)
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ (โรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ)
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ (โรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ (โรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ (โรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กในวัยเรียนควรได้รับการดูแลเรื่องโภชนาการให้มีความเหมาะสมและพอดีกับความต้องการของร่างกาย มิฉะนั้นหากเด็กมีภาวะอ้วนหรือผอมจะเกิดผลกระทบต่อเด็กโดยมีโรคตามมาหลายชนิด เด็กเกิดปมด้อยขาดความเชื่อมั่นในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม เรียนรู้ช้า การให้ความรู้และความตระหนักให้กับนักเรียนในโรงเรียน โดยการฝึกแกนนำนักเรียนให้เรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติจริง และถ่ายทอดความรู้ไปยังเพื่อนๆและรุ่นน้อง ตลอดจนในชุมชนมีวิทยากร อสม. ที่สามารถให้ความรู้ดูแลเรื่องสุขภาพอนามัย เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมให้นักเรียนหันมากินโปรตีน ผักและผลไม้เพิ่มมากขึ้น เพื่อไม่ให้มีจำนวนเด็กอ้วน เด็กผอม และควบคุมไม่ให้เด็กที่มีภาวะสมส่วนอยู่แล้วมีแนวโน้มเป็นเด็กอ้วน และผอมเพิ่มมากขึ้นในโรงเรียน โรงเรียนมีความเห็นว่าการให้ความรู้ในรูปแบบใหม่ที่เน้นฝึกการคิดและปฏิบัติเอง จะเป็นการดึงดูดความสนใจในด้านที่เกี่ยวข้องกับอาหารและโภชนาการต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้แก่ เด็ก ครอบครัว แม่ครัว เป็นยุทธศาสตร์สำคัญที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทำให้เด็กรับประทานอาหารที่ปลอดภัยและมีประโยชน์ต่อร่างกาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดปีการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียน และชุมชนมาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร
- เพื่อให้นักเรียนมีการเจริญเติบโตสมส่วน สุขภาพดี แข็งแรง
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ด้านการเกษตรและใช้พื้นที่ว่างในสถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ซื่อพันธุ์ปลาดุกจำนวน 300 ตัว ตัวละ 2 บาท และอาหารปละดุกเล็กจำนวน 100 บาท
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
นักเรียนชั้นประถมปีที่1-6 | 100 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมรับหลักการโครงการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา |
||
วันที่ 26 ตุลาคม 2561กิจกรรมที่ทำผู้บริหารประชุมรับหลักการโครงการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้บริหารรับทราบหลักการโครงการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา
|
1 | 0 |
2. สร้างบ่อซีเมนต์เลี้ยงปลาดุกขนาด 3*3 เมตร จำนวน 2 บ่อ |
||
วันที่ 8 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำสร้างบ่อซีเมนต์เลี้ยงปลาดุกจำนวน 2 บ่อ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้สร้างบ่อซีเมนต์เลี้ยงปลาดุกจำนวน 2 บ่อ
|
3 | 0 |
3. ให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ |
||
วันที่ 25 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำครูให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องการเตรียมบ่อและการดูแลรักษาบ่อปลาดุก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรีบนได้รับความรู้เรื่องการเตรียมบ่อและการดูแลรักษาบ่อปลาดุกและปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง
|
8 | 0 |
4. ซื่อพันธุ์ปลาดุกจำนวน 300 ตัว ตัวละ 2 บาท และอาหารปละดุกเล็กจำนวน 100 บาท |
||
วันที่ 21 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำซื่อพันธุ์ปลาดุกจำนวน 300 ตัว ตัวละ 2 บาท และอาหารปละดุกเล็กจำนวน 100 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
5. ซื้อก้อนเห็ดจำนวน 300 ก้อน ราคาก้อนละ 10 บาท เป็นเงินจำนวน 3,000 บาท |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำซื้อก้อนเห็ดจำนวน 300 ก้อน ราคาก้อนละ 10 บาท เป็นเงินจำนวน 3,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 0 |
6. ซื้ออาหารปลาดุกขนาดกลาง |
||
วันที่ 6 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำซื้ออาหารปลาดุกขนาดกลาง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้อาหารปลาดุกขนาดกลางจำนวน 2 กระสอบ
|
0 | 0 |
7. ซื่อพันธุ์ปลาดุกจำนวน 300 ตัว ตัวละ 2 บาท และอาหารปละดุกเล็กจำนวน 100 บาท |
||
วันที่ 26 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำซื่อพันธุ์ปลาดุกจำนวน 300 ตัว ตัวละ 2 บาท และอาหารปละดุกเล็กจำนวน 100 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้พันธุ์ปลาดุกจำนวน 300 ตัว ตัวละ 2 บาท และอาหารปละดุกเล็กจำนวน 100 บาท
|
0 | 0 |
8. ซื้อพันธุ์ไก่ไข่จำนวน 20 ตัว ราคาตัวละ 180 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท และซื้ออาหารไก่ไข่จำนวน 2 กระสอบ เป็นเงิน 1,000 บาท |
||
วันที่ 30 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำซื้อพันธุ์ไก่ไข่จำนวน 20 ตัว ราคาตัวละ 180 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท และซื้ออาหารไก่ไข่จำนวน 2 กระสอบ เป็นเงิน 1,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้พันธุ์ไก่ไข่จำนวน 20 ตัว ราคาตัวละ 180 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท และซื้ออาหารไก่ไข่จำนวน 2 กระสอบ เป็นเงิน 1,000 บาท
|
14 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดปีการศึกษา โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียน และชุมชนมาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร ตัวชี้วัด : มีผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตในโรงเรียนและชุมชนมาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร ร้อยละ 70 |
0.00 | |||
2 | เพื่อให้นักเรียนมีการเจริญเติบโตสมส่วน สุขภาพดี แข็งแรง ตัวชี้วัด : นักเรียนอ้วนและนักเรียนผอมลดลงร้อยละ 5 |
0.00 | |||
3 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ด้านการเกษตรและใช้พื้นที่ว่างในสถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียนทุกคนมีความรู้ ทักษะ ด้านการเกษตร และสามารถใช้พื้นที่ที่ว่างในสถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชน |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
นักเรียนชั้นประถมปีที่1-6 | 100 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการเกษตรในโรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ (โรงเรียนบ้านวังใหญ่ปลายรำ) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวาณีย์ มาชาตรี (0935836173) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......