สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียน (โรงเรียนวัดปรางแก้ว)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อส่งเสริมผลผลิตสำหรับการประกอบอาหารเช้าและอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของวัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบอาหารเช้าและอาหารกลางวันของนักเรียน
0.00 100.00

1.มีวัตถุดิบที่ปลอดภัยที่ใช้ในการประกอบอาหารเช้าและอาหารกลางวันของนักเรียนครบถ้วน

2.นักเรียนได้กินผักปลอดสารพิษ และเห็ดนางฟ้า เพิ่มมากขึ้นในมื้ออาหารกลางวัน

นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

สมุดบันทึกสุขภาพ

2 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าและอาหารกลางวันที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการและตามหลักของอาหารปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับประทานอาหารเช้าและอาหารกลางวันที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการและอาหารปลอดภัย
0.00 100.00

1.นักเรียนได้กินเมนูอาหารที่มีผักทั้งในมื้อเช้าและมื้อกลางวัน

2.อาหารที่นักเรียนได้รับประทานมีคุณค่าทางโภชนาการ

1.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย

2.นักเรียนมาโรงเรียนเร็วมากขึ้น

3.นักเรียนมีผลการเรียนดีขึ้น

สมาธิในการเรียนและผลการเรียน

3 เพื่อส่งเสริมการมีรายได้ระหว่างเรียนของนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีรายได้ระหว่างเรียน
0.00 100.00

1.นักเรียนมีรายได้จากการปลูกผัก ,เพาะเห็ด ที่จำหน่ายให้กับชุมชนนอกเหนือจากส่่งให้กับโครงการอาหารกลางวัน

2.ผู้ปกครองสามารถนำผลผลิตจากโรงเรียน ไปประกอบอาหารให้กับสมาชิกในครัวเรือน

โรงเรียนมีแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย เช่น เห็ดนางฟ้าปลอดสาร และผักปลอดสารพิษ

 

4 เพื่อพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการการเรียนรู้
0.00 100.00

นักเรียนใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนรู้ เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ครอบครัวของนักเรียนมีการปลูกผักกินเอง

ครัวเรือนต้นแบบ