สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการปลูกผักและประมงในโรงเรียน (โรงเรียนวัดโคกเมือง ธรรมโมลีคณานุสรณ์)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการปลูกผักและประมงในโรงเรียน (โรงเรียนวัดโคกเมือง ธรรมโมลีคณานุสรณ์) ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวชมัยพร ทองรอด (0910489539)

ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักและประมงในโรงเรียน (โรงเรียนวัดโคกเมือง ธรรมโมลีคณานุสรณ์)

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปลูกผักและประมงในโรงเรียน (โรงเรียนวัดโคกเมือง ธรรมโมลีคณานุสรณ์) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกผักและประมงในโรงเรียน (โรงเรียนวัดโคกเมือง ธรรมโมลีคณานุสรณ์)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปลูกผักและประมงในโรงเรียน (โรงเรียนวัดโคกเมือง ธรรมโมลีคณานุสรณ์) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากนักเรียนรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ไม่ชอบรับประทานผัก และวัตถุดิบในการประกอบอาหารไม่สามารถควบคุมคุณภาพของผักและเนื้อสัตว์ได้ เนื่องมาจากซื้อมาจากในตลาด ทำให้ไม่ทราบแหล่งผลิตและวิธีการผลิตโดยใช้สารเคมีหรือไม่ ทำให้การบริโภคผักไม่ปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรไปประกอบอาหารกลางวันอย่างเพียงพอกับความต้องการ และฝึกให้นักเรียนรับประทานผัก
  2. เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ในการปลูกพืชผัก
  3. เพื่อส่งเสริมการรับประทานอาหารให้ได้โปรตีนจากเนื้อปลา และนักเรียนได้ความรู้
  4. เพื่อฝึกความรับผิดชอบให้แก่นักเรียน
  5. เพื่อให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และมีรายได้ระหว่างเรียน
  6. เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับประทาอาหารกลางวันที่มีคุณค่าอย่างเพียงพอเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายและมีสุขภาพอนามัยที่ดี
  7. เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านโภชนาการและด้านเกษตรกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครองร่วมทั้งชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพถูกหลักโภชนาการมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารและมีความรู้ด้านเกษตรกรรม
  8. เพื่อให้นักเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโดยการปฏิบัติจริงให้รู้จักวิธีการผลิตอาหาร และความรู้ด้านเกษตรกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เลี้ยงปลาดุก
  2. เตรียมดิน/ปลูกผักสวนครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียนในโรงเรียน 47

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรไปประกอบอาหารกลางวันให้เด็ก
  • นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ สะอาด ถูกหลักอนามัยมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหาร
  • นักเรียนมีประสบการณ์ในการปลูกผัก
  • โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนโดยมีชุมชนและหน่วยงานของภาครัฐและเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งมีผลโดยตรงให้นักเรียนมีสุขภาพพลานามัยที่ดี รวมทั้งประชาชนในชุมชนที่เข้าร่วมดำเนินงานมีสุขภาพพลานามัยที่ดีด้วย
  • สถานศึกษานำเรื่องเกษตรธรรมชาติ อาหารปลอดสารพิษ การอนุรักษ์ป่าไม้เพื่อเป็นแหล่งอาหารธรรมชาติ และการทำงานเป็นกลุ่มสอดแทรกในสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ ในทุกระดับชั้นตามความเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เตรียมดิน/ปลูกผักสวนครัว

วันที่ 16 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิตที่ได้

  • ปลูกผักบุ้ง 3 แปลง และบริเวณโรงเรียน เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 50 กิโลกรัม

  • ปลูกผัก มะเขือ 1 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 15 กิโลกรัม

  • ปลูกผักกาด 2 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 15 กิโลกรัม

 

15 0

2. เลี้ยงปลาดุก

วันที่ 29 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการทำบ่อปลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บ่อปลาดุกทรงกระบอก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 เมตร สูง 80 เซนติเมตร

  • ผลผลิต ได้ปลาดุกสำหรับส่งเข้าโรงครัวใช้ทำอาหารกลางวันสัปดาห์ละ 15 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการ 150 กิโลกรัม

 

5 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรไปประกอบอาหารกลางวันอย่างเพียงพอกับความต้องการ และฝึกให้นักเรียนรับประทานผัก
ตัวชี้วัด : มีผลผลิตทางการเกษตรไปประกอบอาหาร
60.00 60.00

มีอาหารเพียงพอ

2 เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ในการปลูกพืชผัก
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีประสบการณ์ในการปลูกผัก
85.00 85.00

จากพฤตกรรมเด็กให้ความสนใจในการทกิจกรรม

3 เพื่อส่งเสริมการรับประทานอาหารให้ได้โปรตีนจากเนื้อปลา และนักเรียนได้ความรู้
ตัวชี้วัด : นักเเรียนได้รับความรู้และนำปลามาประกอบอาหารกลางวัน
65.00 65.00

เด็กในรับสารอาหารที่ครบถ้วนโภชนาการสมวัย

4 เพื่อฝึกความรับผิดชอบให้แก่นักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรับผิดชอบ
80.00 80.00

จากการสังเกตุพฤติกรรมจากการสังนักเรียนมีความรับผิดชอบ

5 เพื่อให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และมีรายได้ระหว่างเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าอย่างเพียงพอและต่อเนื่องตลอดปี
50.00 50.00

นักเรียนได้รับประทานอาหารเพียพอและมีโภชนาการสมวัย

6 เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับประทาอาหารกลางวันที่มีคุณค่าอย่างเพียงพอเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายและมีสุขภาพอนามัยที่ดี
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ สะอาด ถูกหลักอนามัยมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหาร
85.00 85.00

จากพฤติกรรมของนักเรียน มีการดูลสุขอนามัยของตัวเองมากขึ้น

7 เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านโภชนาการและด้านเกษตรกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครองร่วมทั้งชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพถูกหลักโภชนาการมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารและมีความรู้ด้านเกษตรกรรม
ตัวชี้วัด : โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนโดยมีชุมชนและหน่วยงานของภาครัฐและเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งมีผลโดยตรงให้นักเรียนมีสุขภาพพลานามัยที่ดี รวมทั้งประชาชนในชุมชนที่เข้าร่วมดำเนินงานมีสุขภาพพลานามัยที่ดีด้วย
75.00 75.00

จากการให้ความร่วมมือของทุกฝ่าย

8 เพื่อให้นักเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโดยการปฏิบัติจริงให้รู้จักวิธีการผลิตอาหาร และความรู้ด้านเกษตรกรรม
ตัวชี้วัด : สถานศึกษานำเรื่องเกษตรธรรมชาติ อาหารปลอดสารพิษ การอนุรักษ์ป่าไม้เพื่อเป็นแหล่งอาหารธรรมชาติ และการทำงานเป็นกลุ่มสอดแทรกในสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ ในทุกระดับชั้นตามความเหมาะสม
75.00 75.00

จากพฤติกรรมของนักเรียนให้ความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 47
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนในโรงเรียน 47

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรไปประกอบอาหารกลางวันอย่างเพียงพอกับความต้องการ และฝึกให้นักเรียนรับประทานผัก (2) เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ในการปลูกพืชผัก (3) เพื่อส่งเสริมการรับประทานอาหารให้ได้โปรตีนจากเนื้อปลา และนักเรียนได้ความรู้ (4) เพื่อฝึกความรับผิดชอบให้แก่นักเรียน (5) เพื่อให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และมีรายได้ระหว่างเรียน (6) เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับประทาอาหารกลางวันที่มีคุณค่าอย่างเพียงพอเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายและมีสุขภาพอนามัยที่ดี (7) เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านโภชนาการและด้านเกษตรกรรมให้นักเรียน ผู้ปกครองร่วมทั้งชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพถูกหลักโภชนาการมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารและมีความรู้ด้านเกษตรกรรม (8) เพื่อให้นักเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพนักเรียนโดยการปฏิบัติจริงให้รู้จักวิธีการผลิตอาหาร และความรู้ด้านเกษตรกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เลี้ยงปลาดุก (2) เตรียมดิน/ปลูกผักสวนครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปลูกผักและประมงในโรงเรียน (โรงเรียนวัดโคกเมือง ธรรมโมลีคณานุสรณ์) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวชมัยพร ทองรอด (0910489539) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด