สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเสริมศักยภาพกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นด้วยการจัดการความรู้เขต 11สุราษฎร์ธานี (ภาคใต้ตอนบน)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการเสริมศักยภาพกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นด้วยการจัดการความรู้เขต 11สุราษฎร์ธานี (ภาคใต้ตอนบน) ”

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

หัวหน้าโครงการ
นายทวีวัตร เครือสาย

ชื่อโครงการ โครงการเสริมศักยภาพกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นด้วยการจัดการความรู้เขต 11สุราษฎร์ธานี (ภาคใต้ตอนบน)

ที่อยู่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ 59-00-02 เลขที่ข้อตกลง 59-ข-037

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2559


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมศักยภาพกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นด้วยการจัดการความรู้เขต 11สุราษฎร์ธานี (ภาคใต้ตอนบน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมศักยภาพกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นด้วยการจัดการความรู้เขต 11สุราษฎร์ธานี (ภาคใต้ตอนบน)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมศักยภาพกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นด้วยการจัดการความรู้เขต 11สุราษฎร์ธานี (ภาคใต้ตอนบน) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี รหัสโครงการ 59-00-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2559 - 30 กันยายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 450,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกและการปฏิบัติการสร้างสุขภาวะของคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัดในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน
  2. เพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้ที่เน้นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้แก่ของคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การถอดบทเรียนการดำเนินงานกองทุนฯ 8 กองทุนฯ

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กระบวนการถอดบทเรียน

    จังหวัดภูเก็ต
    ผู้ประสานงานหลัก 1. นางภัทราวดี  คำภีระ                       2. นางอุษา        สุขประเสริฐ นัก KM  นายมนตรี  สุขสม
    นักเขียน  นางภัทราวดี  คำภีระ
    กองทุนฯ ทน.ภูเก็ต

    จังหวัดระนอง
    ผู้ประสานงานหลัก  นายชุมพล      จินตรักษ์ นัก KM  นางขนิษฐา  นาคแก้ว
    นักเขียน นางรังสินี  บริสุทธิ์+ทีม กองทุนฯ อบต.กะเปอร์

    จังหวัดพังงา
    ผู้ประสานงานหลัก 1. นายวิเชียร    จิตต์พิศาล                                 2. นายบุญศักดิ์    รมยพร นัก KM  นายวิเชียร    จิตต์พิศาล
    นักเขียน  นางเสาวดี  สังข์ทอง กองทุนฯ อบต.นาเตย

    จังหวัดกระบี่
    ผู้ประสานงานหลัก  1. นายสรจักร    ปรีชา                           2. นายอนันต์    เขียวสด
    นัก KM  นายประพันธ์    ช่างเรือ
    นักเขียน นายอนันต์  เขียวสด
    กองทุนฯ ทต.คลองพนพัฒนา

    งหวัดจันครศรีธรรมราช
    ผู้ประสานงานหลัก  1. นายสุรศักดิ์  วงษ์อำไพวรรณ                           2. นายวิรัลวิชญ์    รู้ยิ่ง
    นัก KM  1. นายสุรศักดิ์  วงษ์อำไพวรรณ             2. นายวิรัลวิชญ์  รู้ยิ่ง
    นักเขียน 1. อ.กำไล             2. อ.นัยนา
    กองทุนฯ อบต.นาไม้ไผ่

    จังหวัดสุราษฏร์ธานี ผู้ประสานงานหลัก  1. นายธีรนันต์    ปราบราย                           2. นายพงค์กิจ    ศิริยงค์                           3. น.ส.สิรินนา    เพชรรัตน์
    นัก KM      1. นายธีรนันต์  ปราบราย                 2. นายพงค์กิจ  ศิริยงค์ นักเขียน    1.น.ส.สิรินนา  เพชรรัตน์               2. น.ส.รัตนา  ชูแสง กองทุนฯ ทน.เกาะสมุยและทต.ช้างซ้าย

    จังหวัดชุมพร ผู้ประสานงานหลัก นายไพศาล  ทีสมบัติ นัก KM  1.นายวิษณุ    ทองแก้ว             2.นายยุทธนา  สรวิเชียร           3.นายไพศาล  มีสมบัติ
    นักเขียน 1.น.ส.นิฮาฟีซา  นิมะมิง             2.นางพัลลภา  ระสุโส๊ะ
    กองทุนฯ  ทม.หลังสวน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    20 0

    2. ประชุมเสริมศักยภาพและพัฒนาขอเสนอโครงการสรางเสริมสุขภาพเชิงรุกพื้นที่ภาคใตตอนบน

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    200 200

    3. ประชุมคณะทำงานพัฒนากองทุนฯระดับเขต

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามเอกสารแนบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    40 0

    4. ประชุมถอดบทเรียนกองทุนฯในระดับพื้นที่ (อบต.วังไผ่)

    วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการ

    เวทีแลกเปลี่ยนบทเรียนการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ (อบต.วังไผ่)

    ณห้องประชุม อบต.วังไผ่ อ.เมือง จ.ชุมพร

    วันที่9 สิงหาคมพศ.2559

    เวลากิจกรรมผู้รับผิดชอบ

    09.00-09.30 น. ลงทะเบียน ฝ่ายจัดการ

    09.30-10.00 น.ประชุมทีมคณะทำงานจังหวัด

    10.00-11.00น.กล่าวต้อนรับผู้บริหาร อบต.วังไผ่ - ชี้แจงวัตถุประสงค์และแนะนำตัว -ทีมพัฒนากองทุนฯ - บรรยายสรุปการดำเนินงานกองทุนฯอบต.วังไผ่

    11.00-12.00 น.แบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนการดำเนินงานกองทุน วิทยากรกลุ่ม หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ อบต.วังไผ่

    12.00-13.00 น.รับประทานอาหารกลางวัน วิทยากรกลุ่มย่อย

    13.00-14.30 น.ลงศึกษาเรียนรู้บทเรียนจากพื้นที่กรณีศึกษา ทีมพื้นที่/ทีมพัฒนากองทุนฯ นำเสนออภิปราย ซักถาม แลกเปลี่ยน เติมเต็ม

    14.00-15.30 น. สรุปประเด็นจากการประชุม/ข้อหารือ/ปิดการประชุม ทีมพัฒนากองทุนฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -แลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุดประสบการณ์จริงภายใต้บริบทพื้นที่ของการดำเนินงานกองทุนฯ

    -สรุปผลและกระบวนการเรียนรู้ร่วมของทีมเหย้าและทีมเยือน

    -สรุปสถานการณ์สุขภาพและบทเรียน ข้อเสนอของพื้นที่

     

    72 80

    5. เวทีถอดบทเรียนกองทุนฯอบต.บ้านควน

    วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 08.30-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการ

    ประชุมถอดบทเรียนกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ (อบต.บ้านควน)

    วันที่ 25 สิงหาคม พศ. 2559

    ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควน อ.หลังสวน จ.ชุมพร

    เวลา กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ

    08.30-09.00 น. ลงทะเบียนฝ่ายจัดการ

    09.00-10.30น.กล่าวต้อนรับ ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุมถอดบทเรียน ผู้บริหาร อบต.บ้านควน
    -แนะนำตัว -ทีมพัฒนากองทุนฯ

    10.30-10.45 น.รับประทานอาหารว่างฝ่ายจัดการ

    10.45-12.00 น.แบ่งกลุ่มถอดบทเรียนการดำเนินงานวิทยากรกลุ่ม กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
    อบต.บ้านควน

    12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวันวิทยากรกลุ่มย่อย

    13.00-14.00 น.นำเสนอผลการถอดบทเรียน อภิปรายซักถามแลกเปลี่ยนทีมพื้นที่/ทีมพัฒนากองทุนฯ

    14.00-15.00 น. สรุปประเด็นจากการประชุม/ข้อหารือ/ปิดการประชุม ทีมพัฒนากองทุนฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มผู้ที่ได้รับผลประโยชน์

    ด้านการบริหารจัดการ

    • มีการกระจายงบประมาณกองทุนฯครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ทั้ง 18 หมู่บ้าน และ รพ.สต

    สภาพปัญหา

    • ประชาชนยังไม่สามารถเขียนเสนอโครงการได้

    • ผู้นำชุมชน/แกนนำชุมชน/คนภายในชุมชน ยังไม่เข้าใจในเรื่องระเบียบกองทุนฯ


      ปัจจัยความสำเร็จ

    • ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมการ

    • การประชาสัมพันธ์ทั่วถึงโดยการผ่านเวทีประชุมหมู่บ้านทุกเดือน

    • เสนอการเสนอตามสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่

     

    63 70

    6. ประชุมคณะทำงานพัฒนากองทุนฯระดับเขต 11 สุราษฏร์ธานี อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฏร์ธานี

    วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามเอกสารแนบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    47 47

    7. คณะทำงานสังเคราะห์บทเรียนและข้อเสนอเขต 11 สุราษฏร์ธานี

    วันที่ 10 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แผนปฏิบัติการคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น  เขต 11  ปีงบประมาณ  60

     

    8 8

    8. เวทีจัดการความรู้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่จังหวัดสุราษฏร์ธานี

    วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 08:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการ

    โครงการ เวทีจัดการความรู้ นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

    วันที่ 13 – 14ตุลาคม2559

    ณ โรงแรมนิภาการ์เด้นอำเภอเมืองจังหวัดสุราษฎร์ธานี

    วันที่ 13 ตุลาคม 2559

    08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียน

    09.00 – 09.30 น.พิธีเปิดการอบรม โดย นายทวีสาเครือแพ ผอ.สปสช.เขต11 จังหวัดสุราษฎร์ธานี

    09.30 – 10.00 น.ทิศทางนโยบายทางด้านสุขภาพของจังหวัดสุราษฎร์ธานีโดย ผู้แทนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี

    10.00 – 10.30 น. สรุปภาพรวมการทำงานกองทุนฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดย นายเชาวลิต ลิบน้อยสปสช.ขต11 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
    10.30 – 10.45 น. รับประทานอาหารว่าง

    10.45 –12.00 น.นำเสนอ/เสวนา “ธรรมนูญสุขภาพ” เทศบาลตำบลช้างซ้าย โดย นายกเทศมนตรีตำบลช้างซ้ายและคณะดำเนินการเสวนาโดยนายชญานินเอกสุวรรณ สปสช.เขต11

    12.00 –13.00 น.รับประทานอาหารเที่ยง

    13.00 – 15.30 น.นำเสนอ/เสวนา การดำเนินงานกองทุนฯตามกลุ่มวัยต่างๆ 1.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรคโดยเทศบาลตำบลพะงัน 2.หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพบ้านวังศิลา โดย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเพิ่มพูนทรัพย์ 3.การดูแลผู้สูงอายุในภาวะพึ่งพิง (LTC) อำเภอคีรีรัฐนิคม โดย โรงพยาบาลคีรีรัฐนิคม 4.โรงเรียนผู้สูงอายุ โดยเทศบาลตำบลท่าชนะ ดำเนินการเสวนาโดยนางนัทธมนวัชรานาถสปสช.เขต11

    15.30 – 15.45 น.รับประทานอาหารว่าง

    15.45 – 17.30 น. การจัดการกองทุนฯ อบต.บ้านทำเนียบ แบบมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่าย โดย นายธีรนันต์ปราบรายปลัดอบต.บ้านทำเนียบ

    17.30 – 18.30 น.รับประทานอาหารเย็น

    วันที่ 14 ตุลาคม 2559

    08.00 – 09.00 น. ลงทะเบียน

    09.00 – 09.30 น.ทบทวนการจัดเวทีและการขับเคลื่อนทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯที่ผ่านมาโดยนายพงค์กิจศิริยงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี นายธีรนันต์ปราบรายปลัดอบต.บ้านทำเนียบ

    09.30 – 10.30 น.จังหวะก้าวทีมพัฒนากองทุนฯจังหวัดสุราษฎร์ธานี

    10.30 – 10.45 น. รับประทานอาหารว่าง

    10.45 –12.00 น. ออกแบบการขับเคลื่อนกองทุนฯพร้อมระบบประเมินและติดตามผลกองทุนฯ ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดย ประธานและคณะทำงาน โซน เหนือใต้ตะวันออก และตะวันตก

    12.00 –13.00 น.รับประทานอาหารเที่ยง

    13.00 – 15.00 น. ต่อ ออกแบบการขับเคลื่อนกองทุนฯพร้อมระบบประเมินและติดตามผลกองทุนฯ ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดย ประธานและคณะทำงาน โซน เหนือใต้ตะวันออก และตะวันตก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    82 50

    9. เวทีจัดการความรู้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่จังหวัดกระบี่

    วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วันที่ 13 ตุลาคม 2559 แนะนำทักทาย โดย นายทวีชัย  อ่อนนวน ในนามของตัวแทนภาคประชาสังคมจังหวัดกระบี่ ขอตอนรับตัวแทนคณะกรรมการกองทุนท้องถิ่นทุกๆพื้นที่  เวทีวันนี้จัดขึ้นเพื่อทบทวนการปฏิบัติงานของศูนย์ประสานงานสำนักงานหลักประกันสุขภาพ(สปสช.)จังหวัดกระบี่ และเพื่อร่วมกันกำหนดทิศทางจังหวะก้าวต่อไปในอนาคตและให้ในที่ประชุมแนะนำตัวและพื้นที่ปฏิบัติการ ทั้ง 8 อำเภอ

    ชี้แจงแนวทางและที่มาของของกองทุน นายสรณ์จักร์  ปรีชา สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทำการสร้างเสริมสุขภาพ  โดยการใช้งบจากภาษีเหล้าบุหรี่ ซึ่งสนับสนุนในเรื่องของงบประมาณในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อการทำงานส่งเสริมสุขภาพที่อยู่ภายใต้งานกองทุน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้เรื่องการส่งเสริมป้องกันโรคในระดับพื้นที่ (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น) สท. ทำในเรื่องของตำบลสุขภาพ เพื่อให้ทุกคนได้ประโยชน์อย่างทั่วถึง ซึ่งคนดูแลหลักคือท้องถิ่น อบต. อบจ. และท้องถิ่นปกครองพิเศษ คือ กรุงเทพ และพัทยา จากการทำงานร่วมกัน จะทำให้ทุกคนเกิดประโยชน์ร่วมกันในการขับเคลื่อนงานต่อไปในอนาคต เช่น การเกิดธรรมนูญสุขภาพในชุมชน เกิดการทำงานส่งเสริมป้องกันโรคในพื้นที่ เกิดการเสริมสุขภาพในพื้นที่  ซึ่งการทำงานเรื่องสุขภาพจะสำเร็จหรือไม่อยู่ที่การร่วมมือกันของหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ และภาคประชาชนเพื่อหนุนงานของท้องถิ่น  ซึ่งเรื่องสุขภาพเป็นเรื่องของทุกคนโดยเฉพาะประชาชน ดังนั้น ทุกคนต้องช่วยกัน ในส่วนของประกันสังคมนั้น  ดูแลโดยสำนักงานประกันสังคม  งบประมาณได้เงินจาก 3 ส่วน  คือ ผู้ประกันตน  นายจ้าง และรัฐสมทบ ในการทำงานของประกันสังคมนั้น แบ่งเป็น  2 ส่วน คือ สวัสดิการ และรักษาพยาบาล  แต่มีการประชุมได้มีการเสนอให้ประกันสังคมดูแลเรื่องสวัสดิการ ส่วนการรักษาพยาบาลให้เป็นหน่วยงานอื่นเป็นคนดูแลเรื่องการรักษาพยาบาล แนวทางการสนับสนุนการดำเนินงาน


    นายประพันธ์  ช่างเรือ ชี้แจงโครงการศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน
    ความเป็นมา สำนักสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคี สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้ดำเนินการสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน เพื่อเป็นการสนับสนุนการจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในระบบหลักประกันสุขภาพ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจและสร้างกิจกรรมการมีส่วนร่วมภาคประชาชน ซึ่งในช่วงที่ผ่านมาได้ดำเนินการในรูปแบบต่างๆ เช่น จัดเวทีสร้างความรู้ความเข้าใจกับเครือข่ายต่างๆ อบรมวิทยากรแกนนำ โครงการขยายผลการสร้างรู้ความเข้าใจในระบบหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน มีภารกิจคือการสร้างความรู้ความเข้าใจในระบบหลักประกันสุขภาพ รับเรื่องราวร้องทุกข์ ร่วมพัฒนาระบบบริการ ตลอดจนผลักดันเชิงนโยบาย โดยในปี 2547 ดำเนินการ 29 ศูนย์ 21 จังหวัด ปี 2549 จำนวน 72 ศูนย์ ในพื้นที่ 43 จังหวัด ปี 2550 จำนวน 85 ศูนย์ ในพื้นที่ 61 จังหวัด สำหรับปี 2551 มีแนวทางการสนับสนุนโดยพิจารณาตามศักยภาพและความพร้อมของศูนย์ โดยมีศูนย์ประสานงานฯ ครอบคลุมทุกพื้นที่ จากปี 2550 จำนวน 85 ศูนย์ในพื้นที่ 61 จังหวัด เพิ่ม 15 จังหวัดที่ยังไม่มีศูนย์ ส่วน กทม.สนับสนุนเป็นโซน 6 โซน 4 ประเด็นและเพิ่มพื้นที่โซนเจ้าพระยาอีก 1 โซน รวมจำนวน 101 ศูนย์ การดำเนินงานศูนย์ประสานงานฯ เน้นการพัฒนาศักยภาพยกระดับการดำเนินกิจกรรมจากประสบการณ์ที่ผ่านมา การเชื่อมโยงเครือข่ายในระดับพื้นที่ สสจ. อปท. โดยเฉพาะกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (กองทุน อบต.) บางแห่งเริ่มดำเนินกิจกรรมแล้ว เป็นต้น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ความรู้ความเข้าใจระบบหลักประกันสุขภาพ รวมถึงนำข้อมูลความคืบหน้าที่เกี่ยวข้องกับระบบหลักประกันสุขภาพไปถ่ายทอดต่อในระดับพื้นที่ ตามแผนกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการที่เสนอ 2. เพื่อประสานความร่วมมือกับ เครือข่ายองค์กร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคีอื่นในระดับพื้นที่ และ สปสช.ส่วนกลาง/สาขาเขตพื้นที่/สาขาจังหวัด 3. เพื่อดำเนินการรับเรื่องราวร้องทุกข์ ประสานงานเพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้น และกรณีส่งต่อ 4. เพื่อติดตามและพัฒนาคุณภาพระบบบริการหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ 5. เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชน องค์กรประชาชนในระบบหลักประกันสุขภาพและผลักดันเชิงนโยบาย เป้าหมาย ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน ที่เคยได้รับงบสนับสนุนในปี 2547-2550 หรือองค์กรเครือข่ายต่างๆ ที่ดำเนินการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ บทบาทภารกิจของทีมกลไกภาค 1. การบริหารจัดการให้เป็นไปตามแผนงาน 2. การพัฒนาศักยภาพแกนนำในจังหวัดที่เป็นศูนย์ใหม่ทั้งสองระดับ 3. หนุนเสริมกระบวนการทำงานตามบทบาทภารกิจของศูนย์ประสานงานฯ 4. ประสานให้เกิดกลไกการทำงานการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชน เครือข่ายผู้ให้บริการและ อปท. 5. เชื่อมประสานกับ สปสช.ส่วนกลาง/สาขาเขตพื้นที่/สาขาจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6. ติดตามประเมินผล และสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์ประสานงานฯ ร่วมกับ สปสช.สาขาเขตพื้นที่ ขอบเขตการดำเนินงานทีมกลไกภาค ประกอบด้วย กิจกรรมหลัก ดังนี้ 1. สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการเชื่อมร้อยเครือข่ายในระดับพื้นที่ภาค/เขต/โซน/จังหวัด 2. ประสานความร่วมมือสนับสนุนและหนุนเสริมกระบวนการดำเนินงานตามบทบาทภารกิจของ ศูนย์ประสานงานในพื้นที่ 3. ประสานงานให้เกิดกลไกการดำเนินงานการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชนและเครือข่ายผู้ให้บริการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. เชื่อมประสานข้อมูลการดำเนินงานร่วมกับ สปสช.ส่วนกลาง/สาขาเขตพื้นที่/สาขาจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในระดับพื้นที่ 5. ติดตามประเมินผล และสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน หลังจากเริ่มดำเนินงานร่วมกับ สปสช.สาขาเขตพื้นที่ บทบาทภารกิจ ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน 1. เผยแพร่ข้อมูล ความรู้ สร้างความเข้าใจ เรื่องหลักประกันสุขภาพ 2. รับเรื่องร้องทุกข์ ให้คำแนะนำปรึกษา ประสานงานแก้ไขปัญหา 3. ติดตามและพัฒนาคุณภาพบริการในระดับพื้นที่ 4. สนับสนุนการมีส่วนร่วมองค์กรชุมชน/องค์กรประชาชน ในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 5. จัดทำข้อเสนอและความคิดเห็นต่อการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพ 6. รายงาน ผลการทำกิจกรรมตามกรอบ ระยะเวลา และเงื่อนไข ตามที่สัญญษกำหนด ขอบเขตการดำเนินงานศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก ดังนี้ 1. เผยแพร่ข้อมูล ความรู้ สร้างความเข้าใจ ระบบหลักประกันสุขภาพ รวมถึงนำข้อมูลความคืบหน้าที่เกี่ยวข้องกับระบบหลักประกันสุขภาพไปถ่ายทอดต่อไปในระดับพื้นที่ด้วยการจัดกิจกรรมตามโครงการที่เสนอ 2. รับเรื่องร้องทุกข์ ให้คำแนะนำปรึกษา ประสานงานแก้ไขปัญหาจากการใช้บริการและติดตามและพัฒนาคุณภาพบริการในระดับพื้นที่ 3. สนับสนุนการมีส่วนร่วมองค์กรชุมชน/องค์กรประชาชน ในการเชื่อมร้อยเครือข่ายในระดับพื้นที่ที่เกี่ยวข้องในระบบหลักประกันสุขภาพ 7. พัฒนาศักยภาพยกระดับการดำเนินกิจกรรมจากประสบการณ์ที่ผ่านมา 8. จัดทำข้อเสนอและความคิดเห็นต่อการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพ ลักษณะโครงสร้างของศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชนเป็นศูนย์ที่ดำเนินการโดยภาคประชาชน ไม่อยู่ในหน่วยบริการ โรงพยาบาล สถานีอนามัย หรือหน่วยงานของภาครัฐทุกประเภท และอาจเป็นศูนย์ที่ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องจากกิจกรรมที่ดำเนินอยู่เดิม หรือเป็นศูนย์ที่ก่อตั้งใหม่ โดยมีลักษณะดังนี้ 1. มีสถานที่หรือที่ตั้งชัดเจน 2. มีบุคคลากรหรือองค์กรที่มีผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน 3. บุคลากรที่ดำเนินงานมีความรู้ในเรื่องหลักประกันสุขภาพ 4. มีระบบบริหารการจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ เกณฑ์การคัดเลือกศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน
    1. มีสถานที่หรือที่ตั้งชัดเจน ที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าไปใช้บริการได้โดยสะดวก 2. มีโครงสร้างของการดำเนินงาน ในรูปของคณะกรรมการ มิใช่การดำเนินการโดยคนใดคน หนึ่งเพียงคนเดียว 3. มีประสบการณ์ หรือเคยจัดกิจกรรมในเรื่องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ หรือกิจกรรมอื่น ๆ ที่มีลักษณะเอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมศูนย์ฯ 4. ผู้รับผิดชอบดำเนินการศูนย์เป็นที่ยอมรับของหน่วยบริการและประชาชนผู้รับบริการใน พื้นที่ 5. ดำเนินการโดยประชาชนในชุมชน หรือ ผู้ที่พักอาศัยอยู่ในชุมชนและมีความผูกพันกับชุมชนหรือ องค์กรเอกชน (NGO) เป็นต้น

    นายรวี  บ่อหนา ประธานเครือข่ายภาคประชาสังคมจังหวัดกระบี่ ชวนทบทวนการปฏิบัติงานของศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน จากการปฏิบัติงานที่ผ่านมาการปฏิบัติงาน มีกลไกและแผนการพัฒนา และผลการปฏิบัติงานเป็นเช่นไรบ้าง ขออภิปรายจากในที่ประชุมครับ

    นายทวีชัย  อ่อนนวน  จากที่รู้มาในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิของศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชนจังหวัดกระบี่ มีกลไกการทำงาน โดยมีนายสหัส ทุมรัตน์  เป็นประธาน และตั้งอยู่ที่ 161/48  ซ.กระบี่ 27 ถ. กระบี่ ต.ปากน้ า  อ.เมือง กระบี่ จ.กระบี่ 81000

    นายสรณ์จักร์  ปรีชา  บทบาทภารกิจงานที่ดำเนินการมาไม่สอดคล้องกับภารกิจที่เป็นกรอบภารกิจของศูนย์เท่าที่ควร จึงเกิดปัญหาต่างๆที่เชื่อมโยงกันทั้งภายในและภายนอก อาทิเช่น 1. การประชาสัมพันธ์ สิทธิต่างๆที่ประชาชนควรจะได้รับรู้ ในกรอบ สปสช.ยังไม่ดีเท่าที่ควร 2. ขาดการประสานจัดเวทีระดับในระดับต่าง 3. ช่วงหลังบทบาทน้อยไป 4. ส่งผลให้กองทุนท้องถิ่น  ทั้งหมด 61 กองทุน  100 เปอร์เซ็น  มีกองทุนค้างท่อ ร้อยละ 70
    5. ระชาชนยังขาดความรู้ ความเข้าใจวัตถุประสงค์ที่เปลี่ยนไป จากเดิม 4 ประเภท  เพิ่มเป็น 5 ในปัจจุบัน 6. จึงทำให้ประชาชนยังมีบทบาทน้อยในการขอโครงการ ซึ่งมี จำนวน ร้อยล่ะ 20

    การแนะนำเพื่อการปฏิบัติงานได้ดี ควรดำเนินการดังนี้ 1. ทบทวน ปรับปรุงให้เกิดโครงสร้างใหม่เพื่อการขยายผลต่อในพื้นที่ 2. มีทีมติดตามงาน ให้ความรู้ ในระดับพื้นที่ เป็นคณะกรรมการระดับอำเภอ และพัฒนาทีมให้มีความรู้ ความเข้าใจแผนงานสุขภาพ มีการทบทวนทุกปีของแต่ละตำบลของคณะกรรมการกองทุน ศูนย์ประสานงานระดับอำเภอโดยให้นายอำเภอเป็นผู้เซ็นคำสั่ง เพื่อการปฏิบัติงานที่ตรงกัน เป็นต้น

    อนุคณะกรรมการภาค (นายฉิม ทับทอง) 1. มีโครงสร้างแต่ไม่มีตัวตนในระดับอำเภอ 2. คณะกรรมการขาดความตระหนักและขาดการเรียนรู้ 3. การมีกติกาขับเคลื่อนงานที่ชัดเจนของคณะทำงาน 4. ปัญหาความไม่เข้าใจตรงกันของ สตง.กับกองทุน 5. ผู้รับผิดชอบในระดับ อบต. ไม่รับผิดชอบงาน 6. ระเบียบต่างๆควรลงพื้นที่สร้างความรู้ความเข้าใจในพื้นที่ให้ชัดเจน ท้องถิ่นต้องให้ความตระหนักมากขึ้น

     

    30 0

    10. เวทีจัดการความรู้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่จังหวัดระนอง

    วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการ

    โครงการ เวทีจัดการความรู้ นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จังหวัดระนอง

    วันที่ 14  ตุลาคม  2559

    ห้องประชุมโรงแรมระนองการ์เด้นท์ อำเภอเมือง  จังหวัดระนอง

    08.00 – 09.00 น.  ลงทะเบียน

    09.00 – 10.00 น.  ชี้แจงวัตถุประสงค์และทิศทางนโยบายทางด้านสุขภาพของจังหวัดระนอง

    09.30 – 10.30 น.  สรุปสถานการณ์และภาพรวมการทำงานกองทุนฯ จังหวัดระนอง

    10.30 – 10.45 น.  รับประทานอาหารว่าง

    10.45 –12.00 น.  ทบทวนการจัดเวทีและการขับเคลื่อนทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ ที่ผ่านมา

    12.00 –13.00 น.  รับประทานอาหารเที่ยง

    13.00 – 14.00 น.  ออกแบบการขับเคลื่อนกองทุนฯพร้อมระบบประเมินและติดตามผลกองทุนฯ ในจังหวัดระนอง

                            ปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. อำเภอกระบุรีและอำเภอละอุ่น

    เป้าหมาย / สิ่งที่อยากเห็นในการทำงานกองทุนฯ - อบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนเพื่อยกระดับกองทุนฯให้เป็นไปตามระเบียบของกองทุนฯ - การสื่อสารหลายๆช่องทางให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่/สามารถเข้าถึงกองทุนฯได้

    แผนการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย - พัฒนาแกนนำหรือทีมพี่เลี้ยง - พัฒนาให้กลุ่มเป้าหมายสมามารถเขียนโครงการเองได้ - คณะกรรมการกองทุนฯมีความรู้ / สามารถกระจายงบประมาณออกจากกองทุนฯได้ - จัดตั้งทีมประเมิน/และประมาณการงบประมาณในหารพัฒนาทีม - กองทุนได้รับการประเมิน

    แกนนำและทีมในการทำงาน - ปลัด , สสอ , เลขานุการกองทุนฯ , แกนนำกลุ่มต่างๆ
    - ปลัดคะเณ ทองพรุสยาม ผู้ประสานงานอำเภอกระบุรีและอำเภอละอุ่น

    1. อำเภอเมือง

    เป้าหมาย/สิ่งที่อยากเห็นในการทำงานกองทุน ตำบล

    • ผู้นำชุมชน/ประชาชน มีส่วนร่วมในการดำเนินงานใช้ประโยชน์จากกองทุนฯ
    • เสริมสร้างความรู้/ความเข้าใจการดำเนินงานกองทุนฯในทุกระดับ เช่น ประชาชน ผู้นำ คณะกรรมการ เครือข่ายภายในชุมชน
    • มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานกองทุนฯอย่างต่อเนื่อง
    • มีการเชื่อมประสานระหว่างกองทุนฯในพื้นที่

    แผนการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

    • ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รู้จักกองทุนฯ (3 ระดับ)
    • พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯระดับจังหวัด (ระเบียบการดำเนินกองทุนฯ/บทบาทหน้าที่คณะกรรมการ/วัตถุประสงค์กองทุนฯ)
    • จัดทีมประเมินผลการดำเนินงานกองทุนฯระดับจังหวัด/อำเภอและติดตามประเมินผลปีละ 2 ครั้ง
    • พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการและติดตามประเมินผล

    แกนนำในการประสานงานอำเภอเมืองระนอง

    ผู้ประสานงานหลักระดับอำเภอ : สาธารณสุขอำเภอ (รพ.สต.) 1. นวพรเนียมอยู่ 081-3706552สสอ.เมือง 2. มาลี ยกย่อง 086-6873356ทม.ระนอง 3. สารีย์ครุอำโพธิ์081-5379599อบต.หาดส้มแป้น 4. กมลวรรณ บุญญวงศ์ 095-0371361 ประธานกองทุนฯสวัสดิการชุมชน ทต.บางบอน

    1. อำเภอสุขสำราญและอำเภอกะเปอร์

    เป้าหมาย/สิ่งที่อยากเห็นในการทำงานกองทุน ตำบล

    • ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทำกิจกรรม/โครงการมากยิ่งขึ้น มีความรู้สึกเป็นเข้าของ
    • มีระเบียบกองทุนฯ/สปสชที่เอื้อในการทำงาน/เบิกจ่ายงบประมาณ ที่สามารถจัดกิจกรรมได้ตามความต้องการของประชาชน

    แผนการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

    1. แกนนำขับเคลื่อนงานประกอบด้วย 1.ประชาชน 2. ภาครัฐ/ท้องถิ่น พร้อมใจที่จะทำ 3. ผู้นำชุมชนเห็นความสำคัญ
      ต้องมีการกระตุ้นการทำงานทั้ง 3 ฝ่าย เพื่อให้กองทุนฯบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ ประชาชนสามารถเข้าถึงกองทุนฯได้ ภาครัฐหนุนเสริมด้านวิชาการและงบประมาณ และที่สำคัญผู้นำหรือผู้บริหารเห็นความสำคัญของกองทุนฯอย่างแท้จริง
    2. การประชาสัมพันธ์ air war คือ เสียงตามสายในภายชุมชน paper war คือ ป้าย / ไวนิล ประชาสัมพันธ์ทุกกองทุนฯ ground war คือ เข้าสู่วาระในที่ประชุมหมู่บ้าน
    3. ต้องมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง

    แกนนำและทีมงานในการทำงาน (ระดับอำเภอ) - อำเภอกะเปอร์
    - นางขนิษฐา นาคแก้วอบต.กะเปอร์ - นางนาตยา มัชฌิม
    - นายสาโรจน์ วิทยวิฑูร -อำเภอสุขสำราญ - นางสาวนัสรียา สือมะ - นางเนาวรัตน์ กัยรวิวัฒนวงศ์ - นายอนุวิทย์ ชำนาญกิจ - นายพิทักษ์ บุญส่ง - นางระพี น้ำจันทร์

     

    39 39

    11. เวทีประชุมทบทวนคณะกรรมการและร่วมถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นต้นแบบ เพื่อพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นจังหวัดกระบี่

    วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    09.00 - 09.30  ลงทะเบียน

    09.30 - 10.00  ชี้แจงวัตถุประสงค์ พร้อมทั้งทำความรู้จักแนะนำตัวผู้เข้าร่วมประชุม

    10.00 - 10.30  ทบทวนและชี้แจงแนวทางและที่มาของของกองทุน

    10.30 - 11.00  แลกเปลี่ยนระหว่างพื้นที่

    11.00 - 12.00  แบ่งกลุ่มตามพื้นที่

    12.00 - 13.00  รับประทานอาหารเที่ยง

    13.00 - 15.30  แบ่งกลุ่มตามพื้นที่ (ต่อ)

    15.30 - 16.00 นำเสนอ                     ปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แนะนำทักทาย โดย นายประพันธ์  ช่างเรือ
    ในนามของตัวแทน คณะกรรมการศูนย์ สปสช.จังหวัดกระบี่ ขอตอนรับตัวแทนคณะกรรมการกองทุนท้องถิ่นทุกๆพื้นที่  เวทีวันนี้จัดขึ้นเพื่อทบทวนการปฏิบัติงานของงานหลักประกันสุขภาพ(สปสช.)ของแต่ละพื้นที่ และเพื่อร่วมกันกำหนดทิศทางจังหวะก้าวต่อไปในอนาคตและให้ในที่ประชุมแนะนำตัวและพื้นที่ปฏิบัติการ

    ทบทวนและชี้แจงแนวทางและที่มาของของกองทุน นายอนันต์  เขียวสด สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทำการสร้างเสริมสุขภาพ  โดยการใช้งบจากภาษีเหล้าบุหรี่ ซึ่งสนับสนุนในเรื่องของงบประมาณในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อการทำงานส่งเสริมสุขภาพที่อยู่ภายใต้งานกองทุน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้เรื่องการส่งเสริมป้องกันโรคในระดับพื้นที่ (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น) สท. ทำในเรื่องของตำบลสุขภาพ เพื่อให้ทุกคนได้ประโยชน์อย่างทั่วถึง ซึ่งคนดูแลหลักคือท้องถิ่น อบต. อบจ. และท้องถิ่นปกครองพิเศษ คือ กรุงเทพ และพัทยา จากการทำงานร่วมกัน จะทำให้ทุกคนเกิดประโยชน์ร่วมกันในการขับเคลื่อนงานต่อไปในอนาคต เช่น การเกิดธรรมนูญสุขภาพในชุมชน เกิดการทำงานส่งเสริมป้องกันโรคในพื้นที่ เกิดการเสริมสุขภาพในพื้นที่  ซึ่งการทำงานเรื่องสุขภาพจะสำเร็จหรือไม่อยู่ที่การร่วมมือกันของหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ และภาคประชาชนเพื่อหนุนงานของท้องถิ่น  ซึ่งเรื่องสุขภาพเป็นเรื่องของทุกคนโดยเฉพาะประชาชน ดังนั้น ทุกคนต้องช่วยกัน ในส่วนของประกันสังคมนั้น  ดูแลโดยสำนักงานประกันสังคม  งบประมาณได้เงินจาก 3 ส่วน  คือ ผู้ประกันตน  นายจ้าง และรัฐสมทบ ในการทำงานของประกันสังคมนั้น แบ่งเป็น  2 ส่วน คือ สวัสดิการ และรักษาพยาบาล  แต่มีการประชุมได้มีการเสนอให้ประกันสังคมดูแลเรื่องสวัสดิการ ส่วนการรักษาพยาบาลให้เป็นหน่วยงานอื่นเป็นคนดูแลเรื่องการรักษาพยาบาล แนวทางการสนับสนุนการดำเนินงาน


    นายรวี  บ่อหนา นำเสนอกระบวนการคิดแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยื่นในการบริหารจัดการกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่ โดยเปิดประเด็น ดังนี้
    ความเป็นมา สำนักสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคี สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้ดำเนินการสนับสนุนการดำเนินงานศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน เพื่อเป็นการสนับสนุนการจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในระบบหลักประกันสุขภาพ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจและสร้างกิจกรรมการมีส่วนร่วมภาคประชาชน ซึ่งในช่วงที่ผ่านมาได้ดำเนินการในรูปแบบต่างๆ เช่น จัดเวทีสร้างความรู้ความเข้าใจกับเครือข่ายต่างๆ อบรมวิทยากรแกนนำ โครงการขยายผลการสร้างรู้ความเข้าใจในระบบหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน มีภารกิจคือการสร้างความรู้ความเข้าใจในระบบหลักประกันสุขภาพ รับเรื่องราวร้องทุกข์ ร่วมพัฒนาระบบบริการ ตลอดจนผลักดันเชิงนโยบาย โดยในปี 2547 ดำเนินการ 29 ศูนย์ 21 จังหวัด ปี 2549 จำนวน 72 ศูนย์ ในพื้นที่ 43 จังหวัด ปี 2550 จำนวน 85 ศูนย์ ในพื้นที่ 61 จังหวัด สำหรับปี 2551 มีแนวทางการสนับสนุนโดยพิจารณาตามศักยภาพและความพร้อมของศูนย์ โดยมีศูนย์ประสานงานฯ ครอบคลุมทุกพื้นที่ จากปี 2550 จำนวน 85 ศูนย์ในพื้นที่ 61 จังหวัด เพิ่ม 15 จังหวัดที่ยังไม่มีศูนย์ ส่วน กทม.สนับสนุนเป็นโซน 6 โซน 4 ประเด็นและเพิ่มพื้นที่โซนเจ้าพระยาอีก 1 โซน รวมจำนวน 101 ศูนย์ การดำเนินงานศูนย์ประสานงานฯ เน้นการพัฒนาศักยภาพยกระดับการดำเนินกิจกรรมจากประสบการณ์ที่ผ่านมา การเชื่อมโยงเครือข่ายในระดับพื้นที่ สสจ. อปท. โดยเฉพาะกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (กองทุน อบต.) บางแห่งเริ่มดำเนินกิจกรรมแล้ว เป็นต้น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ความรู้ความเข้าใจระบบหลักประกันสุขภาพ รวมถึงนำข้อมูลความคืบหน้าที่เกี่ยวข้องกับระบบหลักประกันสุขภาพไปถ่ายทอดต่อในระดับพื้นที่ ตามแผนกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการที่เสนอ 2. เพื่อประสานความร่วมมือกับ เครือข่ายองค์กร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคีอื่นในระดับพื้นที่ และ สปสช.ส่วนกลาง/สาขาเขตพื้นที่/สาขาจังหวัด 3. เพื่อดำเนินการรับเรื่องราวร้องทุกข์ ประสานงานเพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้น และกรณีส่งต่อ 4. เพื่อติดตามและพัฒนาคุณภาพระบบบริการหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ 5. เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชน องค์กรประชาชนในระบบหลักประกันสุขภาพและผลักดันเชิงนโยบาย เป้าหมาย ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน ที่เคยได้รับงบสนับสนุนในปี 2547-2550 หรือองค์กรเครือข่ายต่างๆ ที่ดำเนินการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ บทบาทภารกิจของทีมกลไกภาค 1. การบริหารจัดการให้เป็นไปตามแผนงาน 2. การพัฒนาศักยภาพแกนนำในจังหวัดที่เป็นศูนย์ใหม่ทั้งสองระดับ 3. หนุนเสริมกระบวนการทำงานตามบทบาทภารกิจของศูนย์ประสานงานฯ 4. ประสานให้เกิดกลไกการทำงานการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชน เครือข่ายผู้ให้บริการและ อปท. 5. เชื่อมประสานกับ สปสช.ส่วนกลาง/สาขาเขตพื้นที่/สาขาจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6. ติดตามประเมินผล และสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์ประสานงานฯ ร่วมกับ สปสช.สาขาเขตพื้นที่ ขอบเขตการดำเนินงานทีมกลไกภาค ประกอบด้วย กิจกรรมหลัก ดังนี้ 1. สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการเชื่อมร้อยเครือข่ายในระดับพื้นที่ภาค/เขต/โซน/จังหวัด 2. ประสานความร่วมมือสนับสนุนและหนุนเสริมกระบวนการดำเนินงานตามบทบาทภารกิจของ ศูนย์ประสานงานในพื้นที่ 3. ประสานงานให้เกิดกลไกการดำเนินงานการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชนและเครือข่ายผู้ให้บริการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. เชื่อมประสานข้อมูลการดำเนินงานร่วมกับ สปสช.ส่วนกลาง/สาขาเขตพื้นที่/สาขาจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในระดับพื้นที่ 5. ติดตามประเมินผล และสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน หลังจากเริ่มดำเนินงานร่วมกับ สปสช.สาขาเขตพื้นที่ บทบาทภารกิจ ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน 1. เผยแพร่ข้อมูล ความรู้ สร้างความเข้าใจ เรื่องหลักประกันสุขภาพ 2. รับเรื่องร้องทุกข์ ให้คำแนะนำปรึกษา ประสานงานแก้ไขปัญหา 3. ติดตามและพัฒนาคุณภาพบริการในระดับพื้นที่ 4. สนับสนุนการมีส่วนร่วมองค์กรชุมชน/องค์กรประชาชน ในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 5. จัดทำข้อเสนอและความคิดเห็นต่อการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพ 6. รายงาน ผลการทำกิจกรรมตามกรอบ ระยะเวลา และเงื่อนไข ตามที่สัญญษกำหนด ขอบเขตการดำเนินงานศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก ดังนี้ 1. เผยแพร่ข้อมูล ความรู้ สร้างความเข้าใจ ระบบหลักประกันสุขภาพ รวมถึงนำข้อมูลความคืบหน้าที่เกี่ยวข้องกับระบบหลักประกันสุขภาพไปถ่ายทอดต่อไปในระดับพื้นที่ด้วยการจัดกิจกรรมตามโครงการที่เสนอ 2. รับเรื่องร้องทุกข์ ให้คำแนะนำปรึกษา ประสานงานแก้ไขปัญหาจากการใช้บริการและติดตามและพัฒนาคุณภาพบริการในระดับพื้นที่ 3. สนับสนุนการมีส่วนร่วมองค์กรชุมชน/องค์กรประชาชน ในการเชื่อมร้อยเครือข่ายในระดับพื้นที่ที่เกี่ยวข้องในระบบหลักประกันสุขภาพ 7. พัฒนาศักยภาพยกระดับการดำเนินกิจกรรมจากประสบการณ์ที่ผ่านมา 8. จัดทำข้อเสนอและความคิดเห็นต่อการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพ ลักษณะโครงสร้างของศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชนเป็นศูนย์ที่ดำเนินการโดยภาคประชาชน ไม่อยู่ในหน่วยบริการ โรงพยาบาล สถานีอนามัย หรือหน่วยงานของภาครัฐทุกประเภท และอาจเป็นศูนย์ที่ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องจากกิจกรรมที่ดำเนินอยู่เดิม หรือเป็นศูนย์ที่ก่อตั้งใหม่ โดยมีลักษณะดังนี้ 1. มีสถานที่หรือที่ตั้งชัดเจน 2. มีบุคคลากรหรือองค์กรที่มีผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน 3. บุคลากรที่ดำเนินงานมีความรู้ในเรื่องหลักประกันสุขภาพ 4. มีระบบบริหารการจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ เกณฑ์การคัดเลือกศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน
    1. มีสถานที่หรือที่ตั้งชัดเจน ที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าไปใช้บริการได้โดยสะดวก 2. มีโครงสร้างของการดำเนินงาน ในรูปของคณะกรรมการ มิใช่การดำเนินการโดยคนใดคน หนึ่งเพียงคนเดียว 3. มีประสบการณ์ หรือเคยจัดกิจกรรมในเรื่องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ หรือกิจกรรมอื่น ๆ ที่มีลักษณะเอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมศูนย์ฯ 4. ผู้รับผิดชอบดำเนินการศูนย์เป็นที่ยอมรับของหน่วยบริการและประชาชนผู้รับบริการใน พื้นที่ 5. ดำเนินการโดยประชาชนในชุมชน หรือ ผู้ที่พักอาศัยอยู่ในชุมชนและมีความผูกพันกับชุมชนหรือ องค์กรเอกชน (NGO) เป็นต้น

    นำเสนอกระบวนการกลุ่ม วิทยากรโดย นายอนันต์ เขียวสด คณะทำงาน ศูนย์ สป.สช.จังหวัดกระบี่ สรุปผลการแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานกองทุนท้องถิ่นอย่างรู้เท่าทัน ซึ่งแบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยๆได้ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ทิศทางเป้าหมายพัฒนายกระดับกองทุนท้องถิ่น คนคลองพนสร้างสุข วัตถุประสงค์  เพื่อให้ประชาชนรู้ถึงความเป็นเจ้าของ ของกองทุนท้องถิ่น สรุปได้ดังนี้ 1. ปรับและพัฒนากลไกการขับเคลื่อนงานของทีมคณะกรรมการพัฒนากองทุน ขับเคลื่อนงานอย่างมีพลัง สร้างการมีส่วนร่วมของทุกระดับทุกหน่วยงานภาคีในพื้นที่ 2. มีการวางยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และแผน กำหนดทิศทางการปฏิบัติงานที่เป็นระบบ 3. มีการสื่อสาร ขยายผล เจตนารมณ์ แนวคิด เป้าหมาย ความตั้งใจรวมถึงพื้นที่รูปธรรม ให้เป็นพื้นที่จัดการองค์ความรู้สู่ต้นแบบของการดำเนินงาน 4. ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าใจ เข้าถึง ว่ากองทุนท้องถิ่นเป็นเครื่องมือพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน

    กลุ่มที่ 2  แผนปฏิบัติงานกองทุนสุขภาพ เทศบาลคลองพน สู่ วิธีคิดใหม่ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีทิศทางการดำเนินงาน สรุปได้ดังนี้

    กิจกรรม รายละเอียดงาน
    ห้วงเวลา / สถานที่ ผลผลิต/ผลลัพท์ 1. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/จัดการความรู้ระดับตำบล สนับสนุนเวทีโดย ศูนย์ประสานงาน สป.สช.จังหวัดกระบี่   ม.ค 60 รายงานสรุปเวที/ข้อเสนอต่อการจัดการสุขภาพท้องถิ่น 2.ติดตามหนุนเสริม :
    ถอดบทเรียนกองทุนเด่น -ค่าสังเคราะห์บทเรียน/นวัตกรรม
    ส.ค 60 ชุดบทเรียนกรณีศึกษา และนวัตกรรม ในกลุ่มวัยหรือโครงการ

    1. เวทีพัฒนาโครงการเชิงรุก (กลุ่มเด็ก/ผู้สูงอายุหรือพิการ) ส่งผู้แทนกองทุนหรือตำบล ละๆ 5 คน รอกำหนดการ จาก สป.สช 11 ชุดโครงการเชิงรุกการเสริมสร้างสุขภาพในกลุ่มวัย......
    2. เวที ลปรร.นโยบายสาธารณะ ; ธรรมนูญสุขภาพ (สช.) รอกำหนดการ จาก สป.สช 11 จะต้องเป็นพื้นที่นำร่อง
      ผู้แทนพื้นที่กองทุนละ 5 คน 5.เวทีสร้างความเข้าใจร่วมกับ สตง : ประเมินผลกองทุนฯ รอกำหนดการ จาก สป.สช 11 สตง./ จนท.กองทุน  เข้าใจร่วมกันในระเบียบปฏิบัติทางการเงิน


      กลุ่มที่ 3 แนวทางการบริหารจัดการกองทุนฯ

    3. การจัดตั้งกลุ่ม Line ชื่อว่า อสม.เฉลิมพระเกียรติ เพื่อความรวดเร็วและความคล่องตัวใน การติดต่อสื่อสาร แจ้งข้อมูลข่าวสารแก่คณะกรรมการ อนุกรรมการ

    4. ยึดหลักการบริหารกองทุนฯ ด้วย POSDCROB PDCA และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน คณะกรรมการกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการพิจารณาด้านแผนงานและกลั่นกรองโครงการจะอนุมัติโครงการตาม Mini SLM และกระตุ้นให้ชุมชนเสนอโครงการให้สอดคล้องกับ Mini SLM มีการวิเคราะห์โครงการจำแนกตามกลุ่มอายุ สำหรับการควบคุม กำกับและติดตามการดำเนินโครงการต่างๆ กองทุนฯ
    5. มีการจัดตั้งทีมเลขานุการของกองทุนฯ ทำหน้าที่ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานเป็นทีม เรียกว่า “5 ตัวจี๊ด” ประกอบด้วย 1.นักยุทธศาสตร์ ทำหน้าที่ในวางแผนการบริหารงานของกองทุนฯ จัดทำและทบทวนยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์ของกองทุน รวมทำแผนโครงการกองทุนประจำปีให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ 2.นักวิชาการ ทำหน้าที่ในการจัดหา สนับสนุนข้อมูลเชิงวิชาการ ข้อกฎหมาย ในการบริหารและดำเนินงานกองทุนฯ
            3.นักจัดการ ทำหน้าที่ในการจัดการงานต่างๆ ของกองทุนให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามแผนงานที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในส่วนของการจัดประชุมคณะกรรมการ เป็นต้น
      4.นักสื่อสาร ทำหน้าที่ประชาสัมพันธ์งานต่างๆ ของกองทุนฯ ให้ประชาชนหรือกลุ่มเป้าหมายได้รับข่าวสาร ผลการดำเนินงาน อย่างทั่วถึง 5.นักประสานงาน ทำหน้าที่ในการประสานงานกับกลุ่มบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของกองทุน ทั้งในส่วนของการจัดการประชุม การดำเนินงานภาคสนาม และรวมถึงการลงประเมินการดำเนินโครงการของหน่วยงาน ชุมชน ชมรม ที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน

    ปิดประชุม เวลา 16.00 น.

     

    61 60

    12. เวทีประชุมเวทีสรุปการพัฒนาระบบและกลไกพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นเทศบาลตำบลทรายขาว ส่งเสริมการพัฒนาธรรมนูญสุขภาพตำบลจังหวัดกระบี่

    วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายงานบันทึกการประชุม เวทีประชุมเวทีสรุปการพัฒนาระบบและกลไกพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นเทศบาลตำบลทรายขาว ส่งเสริมการพัฒนาธรรมนูญสุขภาพตำบล วันที่ 18 ธันวาคม 2559 ณ โรงพยาบาลสุขภาพบ้านทรายขาว ตำบลทรายขาว  อ.คลองท่อม  จ.กระบี่

    09.00 - 09.30    ลงทะเบียน

    09.30 - 10.00    กล่าวเปิดเวทีประชุม โดย นายอรรถพร พิรุณรัตน์

    10.00 - 10.30    ทบทวนและชี้แจงแนวทางและที่มาของของกองทุนฯ  โดย นายอนันต์  เขียวสด

    10.30 - 12.00    แลกเปลี่ยนการทำงานในแต่ละพื้นที่

    12.00 - 13.00    รับประทานอาหารเที่ยง

    13.00 - 14.00  นำเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาวะชุมชน

    14.00 - 15.30  จัดทำแผนเสนอโครงการเข้ากองทุนฯ

    15.30 - 16.00  นำเสนอ

                          ปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานบันทึกการประชุม เวทีประชุมเวทีสรุปการพัฒนาระบบและกลไกพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นเทศบาลตำบลทรายขาว ส่งเสริมการพัฒนาธรรมนูญสุขภาพตำบล วันที่ 18 ธันวาคม 2559 ณ โรงพยาบาลสุขภาพบ้านทรายขาว ตำบลทรายขาว  อ.คลองท่อม  จ.กระบี่

    สรุปจำนวน ผู้เข้าร่วม 30 คน จากกลุ่มเป้าหมาย 30 คน ดังนี้ ที่ หน่วยงาน/ภาคี จำนวน หมายเหตุ 1. คณะทำงานจากศูนย์ สป.สช จังหวัดกระบี่ 3  คน
    2. คณะกรรมการ/คณะทำงาน กองทุนท้องถิ่น 7 คน
    3. ท้องที่และท้องถิ่น 10 คน
    4. เจ้าหน้าที่ รพ.สต ทั้ง 2 แห่ง 2 คน
    5. เจ้าหน้าที่ อสม. ชมรมผู้สูงอายุ และประชาชนทั่วไป 8 คน


    แนะนำทักทาย โดย นายอรรถพร พิรุณรัตน์
    กล่าวตอนรับตัวแทนคณะกรรมการกองทุนท้องถิ่นทุกๆพื้นที่  เวทีวันนี้จัดขึ้นเพื่อทบทวนการปฏิบัติงานของงานหลักประกันสุขภาพ(สปสช.)ของแต่ละพื้นที่ และเพื่อร่วมกันกำหนดทิศทางจังหวะก้าวต่อไปในอนาคตและให้ในที่ประชุมแนะนำตัวและพื้นที่ปฏิบัติการในหมู่บ้านของตน

    ทบทวนและชี้แจงแนวทางและที่มาของของกองทุน นายอนันต์  เขียวสด สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทำการสร้างเสริมสุขภาพ  โดยการใช้งบจากภาษีเหล้าบุหรี่ ซึ่งสนับสนุนในเรื่องของงบประมาณในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อการทำงานส่งเสริมสุขภาพที่อยู่ภายใต้งานกองทุน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้เรื่องการส่งเสริมป้องกันโรคในระดับพื้นที่ (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น) สท. ทำในเรื่องของตำบลสุขภาพ เพื่อให้ทุกคนได้ประโยชน์อย่างทั่วถึง ซึ่งคนดูแลหลักคือท้องถิ่น อบต. อบจ. และท้องถิ่นปกครองพิเศษ คือ กรุงเทพ และพัทยา จากการทำงานร่วมกัน จะทำให้ทุกคนเกิดประโยชน์ร่วมกันในการขับเคลื่อนงานต่อไปในอนาคต เช่น การเกิดธรรมนูญสุขภาพในชุมชน เกิดการทำงานส่งเสริมป้องกันโรคในพื้นที่ เกิดการเสริมสุขภาพในพื้นที่  ซึ่งการทำงานเรื่องสุขภาพจะสำเร็จหรือไม่อยู่ที่การร่วมมือกันของหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ และภาคประชาชนเพื่อหนุนงานของท้องถิ่น  ซึ่งเรื่องสุขภาพเป็นเรื่องของทุกคนโดยเฉพาะประชาชน ดังนั้น ทุกคนต้องช่วยกัน ในส่วนของประกันสังคมนั้น  ดูแลโดยสำนักงานประกันสังคม  งบประมาณได้เงินจาก 3 ส่วน  คือ ผู้ประกันตน  นายจ้าง และรัฐสมทบ ในการทำงานของประกันสังคมนั้น แบ่งเป็น  2 ส่วน คือ สวัสดิการ และรักษาพยาบาล  แต่มีการประชุมได้มีการเสนอให้ประกันสังคมดูแลเรื่องสวัสดิการ ส่วนการรักษาพยาบาลให้เป็นหน่วยงานอื่นเป็นคนดูแลเรื่องการรักษาพยาบาล แนวทางการสนับสนุนการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ความรู้ความเข้าใจระบบหลักประกันสุขภาพ รวมถึงนำข้อมูลความคืบหน้าที่เกี่ยวข้องกับระบบหลักประกันสุขภาพไปถ่ายทอดต่อในระดับพื้นที่ ตามแผนกิจกรรมการดำเนินงานของโครงการที่เสนอ 2. เพื่อประสานความร่วมมือกับ เครือข่ายองค์กร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคีอื่นในระดับพื้นที่ และ สปสช.ส่วนกลาง/สาขาเขตพื้นที่/สาขาจังหวัด 3. เพื่อดำเนินการรับเรื่องราวร้องทุกข์ ประสานงานเพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้น และกรณีส่งต่อ 4. เพื่อติดตามและพัฒนาคุณภาพระบบบริการหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ 5. เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชน องค์กรประชาชนในระบบหลักประกันสุขภาพและผลักดันเชิงนโยบาย เป้าหมาย ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน ที่เคยได้รับงบสนับสนุนในปี 2547-2550 หรือองค์กรเครือข่ายต่างๆ ที่ดำเนินการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ บทบาทภารกิจของทีมกลไกภาค 1. การบริหารจัดการให้เป็นไปตามแผนงาน 2. การพัฒนาศักยภาพแกนนำในจังหวัดที่เป็นศูนย์ใหม่ทั้งสองระดับ 3. หนุนเสริมกระบวนการทำงานตามบทบาทภารกิจของศูนย์ประสานงานฯ 4. ประสานให้เกิดกลไกการทำงานการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชน เครือข่ายผู้ให้บริการและ อปท. 5. เชื่อมประสานกับ สปสช.ส่วนกลาง/สาขาเขตพื้นที่/สาขาจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6. ติดตามประเมินผล และสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์ประสานงานฯ ร่วมกับ สปสช.สาขาเขตพื้นที่ ขอบเขตการดำเนินงานทีมกลไกภาค ประกอบด้วย กิจกรรมหลัก ดังนี้ 1. สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการเชื่อมร้อยเครือข่ายในระดับพื้นที่ภาค/เขต/โซน/จังหวัด 2. ประสานความร่วมมือสนับสนุนและหนุนเสริมกระบวนการดำเนินงานตามบทบาทภารกิจของ ศูนย์ประสานงานในพื้นที่ 3. ประสานงานให้เกิดกลไกการดำเนินงานการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชนและเครือข่ายผู้ให้บริการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. เชื่อมประสานข้อมูลการดำเนินงานร่วมกับ สปสช.ส่วนกลาง/สาขาเขตพื้นที่/สาขาจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในระดับพื้นที่ 5. ติดตามประเมินผล และสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน หลังจากเริ่มดำเนินงานร่วมกับ สปสช.สาขาเขตพื้นที่ บทบาทภารกิจ ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน 1. เผยแพร่ข้อมูล ความรู้ สร้างความเข้าใจ เรื่องหลักประกันสุขภาพ 2. รับเรื่องร้องทุกข์ ให้คำแนะนำปรึกษา ประสานงานแก้ไขปัญหา 3. ติดตามและพัฒนาคุณภาพบริการในระดับพื้นที่ 4. สนับสนุนการมีส่วนร่วมองค์กรชุมชน/องค์กรประชาชน ในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 5. จัดทำข้อเสนอและความคิดเห็นต่อการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพ 6. รายงาน ผลการทำกิจกรรมตามกรอบ ระยะเวลา และเงื่อนไข ตามที่สัญญษกำหนด ขอบเขตการดำเนินงานศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก ดังนี้ 1. เผยแพร่ข้อมูล ความรู้ สร้างความเข้าใจ ระบบหลักประกันสุขภาพ รวมถึงนำข้อมูลความคืบหน้าที่เกี่ยวข้องกับระบบหลักประกันสุขภาพไปถ่ายทอดต่อไปในระดับพื้นที่ด้วยการจัดกิจกรรมตามโครงการที่เสนอ 2. รับเรื่องร้องทุกข์ ให้คำแนะนำปรึกษา ประสานงานแก้ไขปัญหาจากการใช้บริการและติดตามและพัฒนาคุณภาพบริการในระดับพื้นที่ 3. สนับสนุนการมีส่วนร่วมองค์กรชุมชน/องค์กรประชาชน ในการเชื่อมร้อยเครือข่ายในระดับพื้นที่ที่เกี่ยวข้องในระบบหลักประกันสุขภาพ 7. พัฒนาศักยภาพยกระดับการดำเนินกิจกรรมจากประสบการณ์ที่ผ่านมา 8. จัดทำข้อเสนอและความคิดเห็นต่อการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพ ลักษณะโครงสร้างของศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชนเป็นศูนย์ที่ดำเนินการโดยภาคประชาชน ไม่อยู่ในหน่วยบริการ โรงพยาบาล สถานีอนามัย หรือหน่วยงานของภาครัฐทุกประเภท และอาจเป็นศูนย์ที่ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องจากกิจกรรมที่ดำเนินอยู่เดิม หรือเป็นศูนย์ที่ก่อตั้งใหม่ โดยมีลักษณะดังนี้ 1. มีสถานที่หรือที่ตั้งชัดเจน 2. มีบุคคลากรหรือองค์กรที่มีผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน 3. บุคลากรที่ดำเนินงานมีความรู้ในเรื่องหลักประกันสุขภาพ 4. มีระบบบริหารการจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ เกณฑ์การคัดเลือกศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน
    1. มีสถานที่หรือที่ตั้งชัดเจน ที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าไปใช้บริการได้โดยสะดวก 2. มีโครงสร้างของการดำเนินงาน ในรูปของคณะกรรมการ มิใช่การดำเนินการโดยคนใดคน หนึ่งเพียงคนเดียว 3. มีประสบการณ์ หรือเคยจัดกิจกรรมในเรื่องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ หรือกิจกรรมอื่น ๆ ที่มีลักษณะเอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมศูนย์ฯ 4. ผู้รับผิดชอบดำเนินการศูนย์เป็นที่ยอมรับของหน่วยบริการและประชาชนผู้รับบริการใน พื้นที่ 5. ดำเนินการโดยประชาชนในชุมชน หรือ ผู้ที่พักอาศัยอยู่ในชุมชนและมีความผูกพันกับชุมชนหรือ องค์กรเอกชน (NGO) เป็นต้น

    นำเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาวะชุมชน เพื่อการเสริมสร้างสุขภาพป้องกันโรคแบบมีส่วนร่วมของพื้นที่เทศบาลตำบลทรายขาว. วิทยากรและนำเสนอ วิเคราะหโครงการโดย นายอนันต์ เขียวสด คณะทำงาน ศูนย์ สป.สช.จังหวัดกระบี่ ได้นำเสนอปัจจัยการกำหนดสุขภาพ ดังนี้ -สุขภาพคือ ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา
    และทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล


    หลังจากการนำเสนอองค์ความรู้ในการดำเนินการเสร็จ จึงได้นำเสนอโครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาวะชุมชน เพื่อการเสริมสร้างสุขภาพป้องกันโรคแบบมีส่วนร่วมของพื้นที่เทศบาลตำบลทรายขาว  ดังนี้ 1.หลักการและเหตุผล การการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรคและภัยคุกคามสุขภาพในทศวรรษหน้า  มุ่งเน้นให้ประชาชน ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในพัฒนาและจัดการสุขภาพ  ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี  ประกอบกับเป้าหมายและยุทธศาสตร์ ระยะ 20 ปี ของของประเทศ ที่นำแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกฎบัตรออตตาวา (Ottawa Charter) รวมถึงกฎบัตรกรุงเทพ (Bangkok Charter) ที่หน่วยงานและองค์กรต่างๆ  นำมาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการสนับสนุนโครงการที่สอดคล้องกับการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ

    อนึ่งสืบเนื่องจากองค์การอนามัยโลก  ได้เป็นแกนนำระดับนานาชาติในการประชุมสมัชชาอนามัยโลก เมื่อ ค.ศ. 1977 โดยประเทศที่เข้าร่วมได้กำหนดเป้าหมายหลักการของสาธารณสุข คือให้ประชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหน้า ปี 2543  หรือ “Health for All by the Year 2000”    และจากการประชุมใหญ่ที่เมือง  อัลมา อตา  ประเทศรัสเซีย ใน ค.ศ.1978  ได้ข้อตกลงร่วมกันในการใช้กลวิธีหลัก คือ การ        สาธารณสุขมูลฐาน (Primary health care)  เพื่อให้บรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้า  ต่อมา ปี ค.ศ.1986  (พศ.2529) องค์การอนามัยโลกได้จัดประชุมหาแนวทางในการแก้ปัญหาสุขภาพอีกครั้ง  โดยจัดประชุมที่เมืองออตตาวา ประเทศคานาดา  ได้มีข้อตกลงใช้นโยบายหลักของการพัฒนาสาธารณสุขแนวใหม่ คือ เน้นการ ส่งเสริมสุขภาพ  ซึ่งมีการเรียกนโยบายนี้ว่า กฎบัตรออตตาวา (Ottawa charter) ประเทศ    ต่าง ๆ ระดับนานาชาติได้นำไปประยุกต์ใช้แตกต่างกันไป เป็นกระบวนการของการเพิ่มสมรรถนะ ให้คนสามารถควบคุมปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดสุขภาพ และเป็นผลให้บุคคลมีสุขภาพดี สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเอง ให้เหมาะสม รวมไปถึงการปรับสิ่งแวดล้อม ให้เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี" ซึ่งมีสาระสำคัญ 5 องค์ประกอบ คือ    1) การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Healthy public policy) 2) การสร้างสิ่งแวดล้อม/สภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (Create healthy environment)  3.การสร้างเสริมความเข้มแข็งชุมชน/กระบวนการชุมชน (Community strengthening)  4)การพัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้ สามารถปรับพฤติกรรมเพื่อการสร้างสุขภาพ (Personal skill development)  5)การปรับเปลี่ยนระบบบริการการแพทย์ และสาธารณสุข ให้เป็นไปในลักษณะผสมผสาน และองค์รวม (Health care service system re-orientation) ตาม พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พศ. 2550 นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Healthy Public Policy) :  นโยบายสาธารณะที่แสดงความห่วงใยอย่างชัดเจนเรื่องสุขภาพ และพร้อมที่จะรับผิดชอบต่อผลกระทบทางด้านสุขภาพที่อาจจะเกิดจากนโยบายนั้น ขณะเดียวกันก็เป็นนโยบายที่มุ่งสร้างสิ่งแวดล้อมทั้งทางสังคมและทางกายภาพที่เอื้อต่อการมีชีวิตที่มีสุขภาพดี และมุ่งให้พลเมืองมีทางเลือกและสามารถเข้าถึงทางเลือกที่ก่อให้เกิดสุขภาพที่ดีได้ อนึ่งจากเวทีสร้างความร่วมมือพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ เขต ๑๑ โรงแรมบรรจงบุรี  อำเภอเมือง  จังหวัดสุราษฏร์ธานี    เมื่อวันที่  ๒๕  เดือน พฤศจิกายน  พ.ศ. ๒๕๕๙  ที่มีบันทึกข้อตกลง (MOU)    ว่าด้วยความร่วมมือดำเนินงานพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ในการจัดทำธรรมนูญสุขภาพระดับพื้นที่และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (ปี ๕๘-๖๐) ระหว่าง  สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี (สปสช.) , สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) , กระทรวงสาธารณสุข พื้นที่ เขต ๑๑ , ศูนย์ประสานงานวิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต./สสส.) สถาบันการจัดการระบบสุขภาพมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น .เทศบาลตำบลทรายขาว.. ได้ประชุมผู้นำและแกนนำชุมชนท้องถิ่น ต่างมีฉันทามติร่วมกันที่จะดำเนินการจัดทำธรรมนูญสุขภาวะชุมชน เพื่อการเสริมสร้างสุขภาพป้องกันโรคแบบมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่..เทศบาลตำบลทรายขาว.

    มติที่ประชุม  รับทราบเห็นด้วยกับหลักการและเหตุผลดังกล่าว

    2.วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ในการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค โดยเครื่องมือธรรมนูญสุขภาวะชุมชน 2.2 เพื่อให้เกิดเป้าหมาย กติกา  และแนวทางปฏิบัติในการจัดการระบบสุขภาพร่วมกันชุมชนท้องถิ่น  และหน่วยงานองค์กรต่างๆ ในพื้นที่

    มติในที่ประชุม  เสนอให้เพิ่มเติมวัตถุประสงค์อีกหนึ่งข้อ ดังนี้ 2.3 เพื่อให้ประชาชนสามารถนำธรรมนูญสุขภาวะชุมชนสู่การจัดการตำบลสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมโดยชุมชน เพื่อชุมชนได้อย่างแท้จริง

    และได้ร่วมกันประชุมจัดทำแผนการปฏิบัติงาน  เพื่อให้กระบวนการจัดทำธรรมนูญสุขภาพเทศบาลตำบลทรายขาวเกิดการเรียนรู้และมีส่วนร่วมของทุกหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่หน่วยงานราชการในพื้นที่ จึงมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้

    ที่ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย ห้วงเวลา ผู้รับผิดชอบ 1 จัดทำโครงการฯ เพื่อใช้งบประมาณจากกองทุน ธ.ค 59
    2 ประชุมสร้างความเข้าใจผู้นำ/แกนนำ ในกระบวนพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ สร้างความร่วมมือ/จัดตั้งคณะทำงาน ผู้นำท้องถิ่น/ท้องที่/  แกนนำชุมชน / จนท.ทีเกี่ยวข้อง ม.ค. 60 คณะทำงาน 3 ดำเนินงานตามแผนงาน/กิจกรรม
    3.1 คณะทำงานทบทวน/รวบรวม  วิเคราะห์  สังเคราะห์ ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะ  เส้นทางการพัฒนา เป็นฐานในการกำหนดเป้าหมาย/แนวทางพัฒนาสุขภาวะชุมชนท้องถิ่น คณะทำงานฯ ม.ค. 60 คณะทำงาน 3.2 จัดเวทีเรียนรู้ นำเสนอข้อมูลฯ / แลกเปลี่ยนเติมเต็ม / เป้าหมาย-ทิศทาง มาตรการฯ ประชาชนในชุมชนท้องถิ่น ก.พ 60 คณะทำงาน 3.3 จัดเวทีเรียนรู้ (สมัชชาสุขภาพ) ยกร่างเป้าหมาย-ทิศทาง มาตรการฯ ผู้นำ/ประชาชน/จนท.ในพื้นที่ ก.พ 60 คณะทำงาน 3.4 คณะทำงานฯ จัดทำร่างธรรมนูญสุขภาวะชุมชน ผู้นำ/ประชาชน/จนท.ในพื้นที่ มี.ค 60 คณะทำงาน 3.5 จัดเวทีประชาคม(ประชาพิจารณ์) ประกาศใช้ธรรมนูญ ผู้นำ/ประชาชน/จนท.ในพื้นที่ มี.ค. - เม.ย 60 คณะทำงาน 4 การนำใช้ธรรมนูญสุขภาวะชุมชน
    -จัดตั้งคณะทำงานธรรมนูญ/ศูนย์ประสานงาน -จัดทำแผนยุทธศาสตร์หรือแผนสุขภาพชุมชน -จัดทำโครงการเสริมสร้างสุขภาพฯ คณะทำงาน / กรรมการกองทุนฯ /สภาท้องถิ่น เม.ย – ส.ค 60 คณะทำงาน / กรรมการกองทุนฯ 5 การติดตามประเมินผล ระยะที่ 1 คณะทำงาน สค.-กย. 60
    6 การขยายผล และพัฒนาระบบการดำเนินงาน อปท. ก.ย- ธ.ค 60

    6.งบประมาณ จำนวน .........80,000.......บาท -จากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น.เทศบาลตำบลทรายขาว......50,000 บาท -จาก .....ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน..... 30,000 บาท หลังจากนั้นได้สรุปร่วมกันในการดำเนินงานภายใต้ จุดอ่อนการดำเนินนโยบายสาธารณะของคนในสังคมเพื่อสร้างจิตสำนึก มีส่วนร่วม ดังนี้



    ปิดการประชุม เวลา 16.00 น.

     

    30 30

    13. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดทำแผนดำเนินงานคณะทำงานพัฒนากองทุนฯจังหวัดนครศรีธรรมราช

    วันที่ 24 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แผนดำเนินงานคณะทำงานพัฒนากองทุนฯจังหวัดนครศรีธรรมราช

     

    42 42

    14. ประชุมคณะทำงานพัฒนากองทุนฯระดับเขต

    วันที่ 28 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามรายงานสรุปการประชุมจากเอกสารแนบ

     

    48 48

    15. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดทำแผนดำเนินงานคณะทำงานพัฒนากองทุนฯจังหวัดชุมพร

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวทีประชุมคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ในจังหวัดชุมพร

    วันที่ 3 พฤศจิกายน พศ. 2559

    ณ ห้องประชุม อบต.วังไผ่ อ.เมือง จ.ชุมพร

    09.00-09.30 น. ลงทะเบียน ฝ่ายจัดการ

    09.30-10.00 น. กล่าวต้อนรับ - ชี้แจงวัตถุประสงค์และแนะนำตัว นายกฯอบต.วังไผ่ ทีมพัฒนากองทุนฯ

    10.00-11.00น. -ทบทวนการประชุมคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จังหวัดชุมพร ครั้งที่ 2 ณ . สสอ.สวี

    11.00-12.00 น. -ทิศทางการพัฒนาและหนุนเสริมงานกองทุนฯจังหวัดชุมพร ประจำปี 60 นายทวีวัตร เครือสาย รองประธานคณะทำงานพัฒนากองทุนฯระดับเขต 11

    12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

    13.00-14.30 น. กำหนดยุทธศาตร์แนวทาง รูปแบบ การดำเนินงานพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่จังหวัดชุมพร ทีมพัฒนากองทุนฯ

    14.00-15.30 น. แผนการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่จังหวัดชุมพร/ข้อหารือ/ปิดการประชุม ทีมพัฒนากองทุนฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปการประชุมคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ในจังหวัดชุมพร 3 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องประชุม องค์การบริหารส่วนตำบลวังไผ่ อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร รายชื่อคณะติดตามกองทุนฯระดับอำเภอ

    พื้นที่ ชื่อ สกุล ตำแหน่ง เบอร์โทร บทบาทหน้าที่ อ.ท่าแซะ
    นาง สมใจ  ด้วงพิบูลย์ ประชาสังคม
    นาย พิสูตร  ภิโสรมย์ สสจ.
    นส. สุรีรัตน์ จามิกรณ์ อผท. ผู้ประสานงาน นาย อนุกูล  พลวัชรินทร์ รพ สต.หงษ์เจริญ
    นาย ชัยยุทธ  ไชโย รพ สต. สลุย

    อ.ปะทิว
    นาย ประจักษ์  กมลวิริยกุล สสอ. (คอยป้าใจประสาน) นาง ชิดสุภางค์  ชำนาญ ประชาสังคม
    นส. สุดจิต แพรกทอง อปท.  ดอนแตง
    นาย สยาม อปท.  ชุมโค
    นายกเทศมนตรีมาบอำมฤต

    อ.เมือง
    นส. จิราพร  วุฒิโภค  (พี่กบ) ผอ.รพ สต. วังไผ่
    นาง ธมลวรรณ  นันทเสน ผอ.กองฯ วังไผ่
    (นส.ต้อม ) วิสัยเหนือ
    (พี่ป๋วย) ประชาสังคม
    นายธรรมนูญ  ศรีนวล นายกอบต.บ้านนา

    อ.หลังสวน
    นาย สุภาส  กุศลชู ท้องถิ่น
    นาย ยอดชาย  จิ้วบุญสร้าง ทบ.หลังสวน
    นาย ไพศาล  มีสมบัติ อปท.บ้านควน ผู้ประสานงาน นาย สัน  ฉิมหาด นายกอบต.บางมะพร้าว
    นาง จิรเดช  กองจันทร์
    นาง พัลลภา ระสุโส๊ะ ประชาสังคม

    อ.ละแม
    นาย แสงทอง  ชนกเศณี นายก อบต.สวนแตง
    นาง นฤมล  สรวิเชียร สสอ. ผู้ประสานงาน นาย ยุทธนา สรวิเชียร รพ สต.ทับใหม่
    นส. ราณี  รักดี ปลัด อบต.ละแม
    นาย สุเทพ  นุมาศ ท้องถิ่น
    นาย นรินทร์  พันเจริญ
    นาย สายใจ ดีอ่อน ผอ.รพ.สต.คลองสง

    อ.สวี
    นาง เดือนเพ็ญ  เคี้ยนบุ้น สสอ. ผู้ประสานงาน นาย วิษณุ  ทองแก้ว ผอ.รพ.สต.บ้านคลองน้อย ผู้ประสานงาน จอ.สัญญา  เวียงนนท์ อปท.เขาทะลุ
    นาย เทิดศักดิ์  ขนอม นายก อบต.เขาค่าย
    นาง อรวรรณ เอมะพัฒน์ ประชาสังคม
    นาย สานนท์  บุญพัฒน์ รองนายกฯ ท่าหิน
    นาง จิราภรณ์  เจริญศรี รพ.สต.เขาค่าย
    นาย วสันต์ สมตน รพ.สต.บ้านดอนทราย

    อ.ตะโก
    นาย วัชรินทร์  แจ้งใจเย็น ผู้ประสานงาน นายสัมฤทธิ์  รุ่งช่วง นายกฯ ตะโก
    นาย กฤษณา  รอดบุญคง รองปลัดฯช่องไม้แก้ว

    อ.พะโต๊ะ
    นาย สุทธิพงษ์  เหล่าศิริยุทธ์ สสอ.
    นาย นคร สุขเจริญ เทศบาลต.พะโต๊ะ
    นาง จรัสศรี  อินทรสุวรรณ

    จังหวะก้าวต่อไป

    พัฒนากลไก 1. สถานการณ์กองทุนฯ 2. ทุนและศักยภาพในพื้นที่ 3. บทเรียนและเปรียบกับ “ปณิธานในหลวง” 4. พัฒนากลไก - ทิศทางการขับเคลื่อน            - วางแผนยุทธศาสตร์
    - ข้อเสนอต่อผู้ว่าราชการจังหวัด

    การขับเคลื่อน / กิจกรรม 1. จัดทำเอกสารนำเข้าเวทีสมัชชาจังหวัดชุมพร  โดยทีมจังหวัด / ติดตามประเมิน / พี่เลี้ยง (เดือนพฤศจิกายน) 2. ประชุมทีมคณะทำงาน 6 ครั้ง 3. พัฒนากรรมการกองทุนฯ “หลักสูตร”
    - เวที KM 6 พื้นที่/อปท - ติดตาม ช่วง เดือน ก.ค. – ส.ค. 60

    ห้วงเวลาดำเนินการ 1. เข้าพบผู้ว่าฯ 9 พ.ย.59
    2. ส่งรายชื่อกองทุนฯที่เข้าร่วมสมัชชา 20 พ.ย. 59 3. ประชุมเตรียมงานสมัชชาจังหวัดชุมพร 21 พ.ย. 59 4. ธ.ค. 59 – ม.ค. 60

    1. เดือนสิงหาคม 60


      สานพลังภาคีเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ 5 + 1

    - สาธารณสุข (สธ) - สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช) - สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช) - สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) - สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส) - สมาคมประชาสังคมชุมพร

    การขับเคลื่อน / กิจกรรม - ศูนย์พัฒนาคุณภาพ LTC และ ผู้สูงอายุ - นโยบาย
              ธรรมนูญสุขภาพ           CHIA - สร้างนวัตกรรม  12 ชุมชนนำร่อง (63,000 บาท) =      - 15 อปท - ชุมชนน่าอยู่ 10 จังหวัด                        = เชื่อมต่อระดับอำเภอ

    การสื่อสารสารสนเทศ - เอกสารต่างๆ
    - รายงานการประชุม

    การขับเคลื่อน / กิจกรรม - ส่งเสริมพัฒนาการศูนย์เด็กเล็ก (ศพด) - ตำบลจัดการสุขภาพ

    ห้วงเวลาดำเนินการ 11 พฤศจิกายน 2559


     

    28 28

    16. ประชุมเตรียมเวทีเครือข่ายกองทุนท้องถิ่นภาคใต้

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 เวลา 13.00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามเอกสารแนบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    16 16

    17. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรุูคณะทำงานพัมนากองทุนฯจังหวัดพังงา

    วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามเอกสารแนบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    11 11

    18. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดทำแผนดำเนินงานกองทุนฯระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่จังหวัดภูเก็ต

    วันที่ 18 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามเอกสารแนบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    51 51

    19. เวทีจัดการความรู้การสร้างเสริมสุขภาพภายใต้กองทุนฯจังหวัดพังงา

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามเอกสารแนบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    45 45

    20. เวทีจัดการความรู้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช

    วันที่ 15 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวทีประชุมการจัดการความรู้ นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพภายใค้กองทุนฯในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช

    08.30 - 09.00 ลงทะเบียน

    09.00 - 10.00 พิธีเปิดและบรรยายพิเศษ "แนวคิดหลักการสำคัญของกองทุนฯในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่"

    10.00 - 12.00 ชวนคิดชวนคุย เรื่อง "สร้างการเรียนรู้และเข้าใจประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การดำเนินงานกองทุนฯ / "กฏระเบียบ ในการบริหารจัดการกองทุนฯพร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    12.00 - 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน

    13.00 - 14.00 การวิเคราะห์สถานการณ์ / ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง / การกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานกองทุนฯจังหวัดนครศรีธรรมราช

    14.00 - 15.45 การจัดทำแผนปฏิบัติสร้างและพัฒนากลไกการบริหารจัดการกองทุนฯ

    15.45 - 16.30 สรุปผลการประชุมและปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมขับเคลื่อนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น จ.นครศรีธรรมราช วันที่ 15 ธันวาคม 2559 ณ โรงแรมแกรนด์ปาร์ค จ.นครศรีธรรมราช ผู้เข้าร่วมประชุม ๑. นางจรรยาภรณ์  จันทรมาศ สสอ.เมืองนครศรีธรรมราช ๒. นางสุรพร  นนทแก้ว สสอ.หัวไทร ๓. นางบุญเรือน  ชูแสง รพ.สต.เขาพังไกร ๔. นางสาธิตา นวลพลับ ทต.เกาะทวด ๕. น.ส.จิตติมา สินมา ศูนย์ฟื้นฟูคุณภาพชีวิต ๖. น.ส.วชิรา ไวฤทธิ์ ศุนย์ฟื้นฟูคุณภาพชีวิต ๗. นายยงยุทธิ์ นาทะชัย อบต.ไชยมนตรี ๘. นายมนตรี เพชรศรี ๙. นายวิชาญ กาญจนนุกูล
    ๑๐. นายกำแหง กรงกรด
    ๑๑. ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ๑๒. นางเยวดี  พรหมภร สสจ.นครศรีธรรมราช ๑๓. นายอะสาน  ทรงเลิศ ผู้ใหญ่บ้าน ๑๔. น.ส. กัลยา รอดแก้ว ทต.กะปาง ๑๕. นายอมร เรืองรอด ๑๖. นายนภดล ไชยศร อบต.นาไม้ไผ่ ๑๗. นายทวีสา เครือแพ สปสช.เขต๑๑ ๑๘. น.ส.พีรญา สุขบำเพ็ญ
    ๑๙. น.ส.วิลาวัณย์ ดำจันทร์ เครือข่ายยุวทัศน์ ๒๐. นายณัฐพัน คงศักดิ์ เยาวชนนกนางนวล ๒๑. น.ส.นิชาพิซา นิมะนัง สมาคมประชาสังคมชุมพร ๒๒. นายสุรศักดิ์ วงษ์อำไพวง ทต.นาเหรง ๒๓. น.ส.วณิชญา ฉันสำราญ เครือข่ายยุวทัศน์ ๒๔. นายอภิวัฒฯ  ไชยเดช สสอ.พระพรหม ๒๕. นายสมพร กาฬ อบต.เขาพังไกร ๒๖. นายเชาวลิตร ลิบน้อย สปสช. ๑๑ ๒๗. นางสุมิตรา รักบำรุง อบต.ฉลอง ๒๘. นายสุเทพ หนูรอด อบต.นาเคียน ๒๙. นางพัลลภา ระสุโส๊ะ ศูนย์ประสานงานฯ จ.ชุมพร

    เริ่มประชุม ๐๙.๐๐ น. เมื่อสมาชิกเข้าร่วมประชุมมาครบองค์ประชุมได้เริ่มประชุมตามวาระ ช่วงชวนคิดชวนคุย คุณเชาวลิต  การทำงานของ สปสช.ในส่วนของจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มีความร่วมมือกันทั้งภาค อปท. ภาคประชาชน ภาคราชการ ในส่วนสาธารณสุข ต้องมองว่าประชาชนได้อะไรจากการทำงานนี้ นายสุรศักดิ์  วงค์อำไพวรรณ  ปลัดเทศบาลตำบลนาเหรง  วันนี้ได้มีการจัดตั้งทีมขับเคลื่อนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น จ.นครศรีธรรมราช บทบาทหน้าที่เดิมเป็นการขับเคลื่อนของ สสจ. เป็นหลัก ภาคประชาชนมีน้อย เมื่อมีปัญหาในระดับนโยบายของ สธ. กับ สปสช. ทำให้การขับเคลื่อนงานเคว้งคว้าง หลังจากได้ขับเคลื่อนร่วมกับองค์กรภาคประชาชน ทำให้การประสานงานมีอุปสรรคพอสมควร สำหรับปัญหาของ จ.นครฯ มีการเข้าร่วมงานของภาคประชาชนน้อยมาก จากปัญหาทั้งหลาย ข้อเสนอ ๑. ทำอย่างไรเพื่อให้ภาคประชาชนเข้าร่วมในกองทุนฯ เพื่อเป็นกรรมการในกองทุนต่อไป ๒. การเปลี่ยนแปลงในระดับเขต องค์กรภาคประชาชนเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนระดับเขต สำหรับเขต ๑๑  เอาองค์กรภาคประชาชนเป็นตัวตั้งแล้วนำข้อเสนอแนะไปเสนอ สำหรับ จังหวัดอื่นๆ และเขต ๑๒  เตรียมขับเคลื่อนโดยภาคประชาชนเป็นแกนนำในการพัฒนาต่อไป
    ๓. วันนี้ตั้งทีมขับเคลื่อนระดับจังหวัดฯ  งานที่จะทำ ๑. จัดทำแผนงานในปี ๒๕๖๐
    ๒. เรื่องโครงสร้างการทำงานในระดับจังหวัด หน้าที่ในการทำงานของอนุกรรมการฯ ๓. จะทำอย่างไรให้กองทุนฯ สามารถนำงบประมาณที่ค้างอยู่มาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔. ต้องการเสนอคณะกรรมการระดับจังหวัด มีใครบ้าง  ในระดับอำเภอมีใครบ้าง ให้มอบหมายความรับผิดชอบในโซนอำเภอ
    ๕. หลังจากได้ทีมงานขับเคลื่อนในระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ต้องมีการพัฒนาศักยภาพของทีมขับเคลื่อนต่อไป ๖. ภารกิจ ลองเทอมแคร์
    ๗. ต้องมีการประเมินงานกองทุน กำหนดแนวทางการประเมินการทำงานของทีมขับเคลื่อน และกองทุนฯ ต่อไป


    อ.นัยนา  หนูนิล เสนอแนะ การทำงานของสาธารณสุขชุมชน มีทั้งในระดับจังหวัด อำเภอ สำหรับต่อไปนี้ ต้องมีการขับเคลื่อนต่อไป ต้องมีการขับเคลื่อนร่วมกับภาคประชาชน สำหรับ สช. มีสภาองค์กรชุมชน ในการขับเคลื่อน ได้เข้าพบ ผวจ.คนใหม่ ซึ่งท่านผู้ว่าฯ ได้มีความต้องการทำร่วมกับภาคประชาชน ถ้าทาง สปสช. ได้ร่วมกับ สช. น่าจะขับเคลื่อนได้อย่างดี  น่าจะมีคีย์หลักในการระดับอำเภอ ตั้งต่อในระดับโซน สำหรับการปฏิบัติการ ถ้านักพัฒนาชุมชน ร่วมมือในการทำงานจะสามารถทำให้การขับเคลื่อนงานเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีการตั้งในระดับจังหวัด ระดับโซน  ระดับอำเภอ ต่อไป
    สำหรับการทำแผนพัฒนาจังหวัด ต้องมาดูว่าเป็นเรื่องอะไร เช่น เรืองของเด็กเยาวชน ผู้สูงอายุ อาจจะทำเป็นเพจเก็ต ทุกโครงการต้องเห็นผลลัพธ์เชิงประจักษ์ ต้องเห็นตัวชี้วัดที่ชัดเจน ต้องมีการทำเนินงานก่อนโครงการ และหลังเสร็จโครงการฯ เพื่อเห็นตัวเปลี่ยนแปลง อาจจะเริ่มจากหมู่บ้านที่นำร่อง คุณพัลลภา
    การทำงานของภาคประชาชนจะทำตามที่บทบาทของตัวเองได้ สำหรับ จ.ชุมชน แต่งตั้งคณะทำงานแล้วให้ทางผู้ว่าฯ แต่งตั้งทีมทำงาน  ได้ให้ท้องถิ่นจังหวัด เป็นตัวเคลื่อน แต่งตั้งต่อในระดับอำเภอ ต่อไป สำหรับ นครฯ น่าจะวางทีมแล้วกำหนดเป้าหมายที่จะเคลื่อนต่อไป


    ทิศทางการขับเคลื่อนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่  โดยคุณเชาวลิต... Power point.

    อ.เบิร์ด การดูภาคีสานพลัง ช่วงปลายปีได้ประสานใน ๗ จังหวัดภาคใต้ ให้บูรณาการกับโครงการชุมชนน่าอยู่  ใน คนใต้สร้างสุข นำไปเพิ่มในจังหวัดอื่นๆ ด้วย คุณเชาวลิต จะนำไปพูดคุยกันในเวที คนใต้สร้างสุข ที่ จ.ตรัง ต่อไป

    สำหรับการประเมิน สำหรับการประเมินกองทุน เป็นการประเมินเพื่อการพัฒนา ปีละ ๒ ครั้ง เดือน มี.ค ตรวจสอบขั้นต้น  สำหรับเดือน ส.ค. จะประเมินอีกครั้ง มีการประเมินแบบ ประเมินตนเอง และโดยทีมประเมินระดับอำเภอ  ประกอบด้วย ตัวแทนจากอำเภอ ท้องถิ่นอำเภอ หน่วยให้บริการ และตัวแทนจากประชาชน ผลของการวัดศักยภาพของกองทุนฯ มีกรอบที่วัดอย่างชัดเจน ( เพาเวอร์พ้อย) ดูผลการประเมินจากเวปไซด์ ดูได้โดยไม่ต้องใช้พาสเวิร์ด เกณฑ์ประเมินจะอยู่ในคู่มือฯ

    การดูแลผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ (ลองเทอมแคร์)
    Power point

    การขับเคลื่อนงาน
    โซน ๑  ประกอบด้วย ขนอม สิชล ท่าศาลา นบพิตำ 
    โซน ๒ ประกอบด้วย เมือง พระพรหม ลานสกา พรหมคีรี พี่เยาว์  หมอเบิร์ด  เจี๊ยบ
    โซน ๓  ประกอบด้วย ปากพนัง เชียรใหญ่ เฉลิมพระเกียรติ ชะอวด ร่อนพิบูลย์ หัวไทร  สุรพร  บุญเรือน  สมวงศ์
    โซน ๔  ประกอบด้วย ทุ่งสง บางขัน ทุ่งใหญ่ ถ้ำพรรณรา พิปูน นาบอน ฉวาง ช้างกลาง ทีมขับเคลื่อน ๑. ภาคี อปท.  (๑๖ อปท.) ๑. ป.อ้วน โซน ๑ ๒. ป.เทพ โซน ๒ ๓. ป.ติ๋ม โซน ๓ ๔. ป.แมว โซน ๑ ๕. ป.ยุทธ์ โซน ๒
    ๖. ป.ดล โซน ๔ ๗. ป.นา โซน ๓ ๘. รองฯยา โซน ๔ ๙. ป.ทอม โซน ๓ ๑๐. โอ๋ (นักพัฒน์)โซน ๓ ๑๑. ป.สุวิทย์ โซน ๓
    ๑๒. หยา โซน ๒ ๑๓. รองฯหนู โซน ๔ ๑๔. ป.นก โซน ๑
    ๑๕. นายสันติ โซน ๒ ๑๖. นายสมยศ

    ๒. สาธารสุข (๑๐) ประกอบด้วย ๑. นายวิรัญวิทย์ รู้ยิ่ง โซน ๒ ๒. นายอภิวัฒน์ โซน ๒ ๓. นายสุรพร โซน ๓ ๔. คุณเจี๊ยบ โซน ๒ ๕. คุณอุมาพร โซน ๔ ๖. คุณชัยณรงค์ โซน ๔ ๗. คุณอารมณ์ โซน ๑ ๘. คุณสมวงษ์ โซน ๓ ๙. คุณธรรมนูญ โซน ๑ ๑๐. คุณกฤษฏา โซน

    ๓. ภาคประชาชน ๑. นายสมาน แสงวิมาน โซน ๒ ๒. นางสาววณิชญา ฉันสำราญ โซน ๑ ๓. นางสาวพีรญา สุขบำเพ็ญ โซน ๒ ๔. นางอันธิกา เสมสรร โซน ๑ ๕. ประธาน อสม. จังหวัด ทั้ง ๔ โซน

    ๔. นักวิชาการ ๑. ผศ.ดร.นัยนา  หนูนิล
    ๒. คุณเยาวดี ๓. คุณวีณาพร ๔. คุณธีระวัฒน์ แดงกะเปา ๕. นายสุขาติพงศ์ ทรงทอง

    โครงสร้างทีมขับเคลื่อน ๑. ที่ปรึกษา นายแพทย์สาธารณสุข (สสจ.) / นายก อบจ. / นายกเทศมนตรีนครศรีฯ ๒. ประธาน ท้องถิ่นจังหวัด ๓. รองโซนทั้ง ๔ โซน รองประธาน นายสันติ ศรีเมือง อบต.ทอนหงส์ (โซน ๒) รองประธาน นายสุรศักดิ์ วงค์อำไพวรรณ อบต.นาเหรง (โซน๑) รองประธาน นายประยงค์ หนุนบุญคง อบต.ขอนหาด (โซน ๓) รองประธาน นายสมยศ รักษาวงศ์ อบต.ดุสิต (โซน ๔)

    ๔. ทีมเลขานุการ : วณิชญา ฉันสำราญ - ธุรการ : นายสมาน แสงวิมาน , นางสาววิลาวัลย์  ดำจันทร์ - การเงิน : รองกัลญา - ประชาสัมพันธ์ : อันธิกา เสมสรร , พีรญา สุขบำเพ็ญ - ประสานงาน : ปลัดสุเทพ หนูรอด ๕. วิชาการ - ผศ.ดร.นัยนา  หนูนิล ประธานวิชาการ - คุณวิรัลวิชญ์   รู้ยิ่ง
    - นายธีรวัฒน์  แดงกะเปา - นายจำนง หนูนิล ๖. กรรมการ

    อ.นัยนา ๑.  เสนอถอดบทเรียนสำหรับพื้นที่ ที่ใช้งบฯ และไม่ใช้งบฯ ๒.  เสนอเพื่อจัดการประชุม

    นัดประชุมครั้งต่อไป วันที่ ๑  กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐

     

    30 40

    21. เวทีจัดการความรู้นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพภายใต้กองทุนฯจังหวัดชุมพร

    วันที่ 27 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    63 63

    22. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะทำงานกองทุนฯระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่จังหวัดภูเก็ต

    วันที่ 11 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามเอกสารแนบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    18 18

    23. เวทีประชุมคณะทำงานฯระดับเขตและภาคีสุขภาพภาคใต้ตอนบน

    วันที่ 18 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานฯระดับเขตและภาคีสุขภาพภาคใต้ตอนบน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    30 61

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกและการปฏิบัติการสร้างสุขภาวะของคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัดในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้ที่เน้นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้แก่ของคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพพื้นที่ภาคใต้ตอนบน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกและการปฏิบัติการสร้างสุขภาวะของคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัดในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน (2) เพื่อพัฒนาระบบการเรียนรู้ที่เน้นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้แก่ของคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการเสริมศักยภาพกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นด้วยการจัดการความรู้เขต 11สุราษฎร์ธานี (ภาคใต้ตอนบน)

    รหัสโครงการ 59-00-02 รหัสสัญญา 59-ข-037 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2559 - 30 กันยายน 2559

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การพัฒนาทีมพี่เลี้ยงกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและหลักสูตรการเรียนรู้
    1.ผู้จัดการสุขภาพชุมชน
    2.นักจัดการสุขภาพ 3.นักสื่อสารสุขภาพชุมชน

     

    การเติมศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนท้องถิ่นใน 3 หลักสูตร 1.ผู้จัดการสุขภาพชุมชน
    2.นักจัดการสุขภาพ 3 นักสื่อสารสุขภาพชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างภาคีสุขภาพในพื้นที่ ประกอบด้วย ผู้แทนด้านวิชาการสาธารณสุขผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และผู้แทนภาคประชาชนในระดับจังหวัดและระดับเขต

    คำสั่งคณะทำงาน ติดตาม หนุนเสริม การบริหารจัดการกองทุนท้องถิ่น ระดับจังหวัดและเขต

    การขยายผลลงสู้คณะทำงานร่วมระดับอำเภอผ่าน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(DHB)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    การจัดสมดุลในการประสานความร่วมมือแนวราบ(เครือข่าย) และแนวดิ่ง (สั่งการ) ของกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนฯ ระดับเขต และระดับจังหวัด

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    ชุมชน/ตำบล มีแนวทางการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนที่มาจากทุกภาคส่วนส่งผลต่อการลดผลกระทบที่ส่งผลต่อสุขภาพระดับบุคคล ชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

    มีพื้นที่ที่สามารถจัดทำร่างประกาศเป็นกติกาชุมชน(ธรรมนูญสุขภาพระดับตำบล)

    พื้นที่ที่มีการยกร่างกติกาชุมชนขณะนี้ได้แก่
    1.ต.นาไม้ไผ่ อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช 2.ต.น้ำพุ อ.นาสาร จ.สุราษฎร์ธานี 3.ต.ทำเนียบ อ.คีรีรัฐนิคม จ.สุราษฎร์ธานี 4.ต.ช่องไม้แก้ว อ.ทุ่งตะโก จ.ชุมพร 5.ต.ทุ่งระยะ อ.ทุ่งตะโก จ.ชุมพร 6.ต.อ่าวนาง อ.เมือง จ.กระบี่ 7.ต.ทรายขาว อ.คลองท่อม จ.กระบี่

    ถอดบทเรียนเพื่อ ยกระดับขยายผลการดำเนินสู่พื้นที่ใหม่

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เกิดการเชื่อมโยงการทำงานร่วมกันของ อปท./ สธ. (สสจ.-สสอ.-รพสต.) ในพื้นที่เขต 11 ในการพัฒนาระบบสุขภาพชมชน

    บัญชีรายชื่อผู้เข้าร่วมเวที/สรุปการประชุม

    การดำเนินการต่อเนื่อง และยกระดับการดำเนินงานในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนและระบบสุขภาพอำเภอ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    มีการพัฒนาทักษะบุคลากรท้องถิ่น/แกนนำชุมชน ประมาณ 300 พื้นที่ ในการจัดทำแผนสุขภาพ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกการจัดทำธรรมนูญสุขภาพการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ฯ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการบูรณาการทุนและทรัพยากรโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน ของ สสส. (โครงการขนาดเล็ก,ครอบครัวอบอุ่น,ชุมชนน่าอยู่)-สช. (ธรรมนูญสุขภาพ)-สปสช. (กองทุนท้องถิ่น) ในการหนุนเสริมพื้นที่ ในพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชุมพร,ระนอง,สุราษฎร์ฯ อย่างชัดเจน

    ตารางพื้นที่ดำเนินงานโครงการ

    -การเชื่อมโยงองค์กร/หน่วยงาน สร้างเสริมสุขภาพโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน และพัฒนาสู่ระบบสุขภาพชุมชนท้องถิ่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    -คณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ 7 จังหวัดยังตงดำเนินการต่อเนื่องในระหว่างนี้อยู่ในระหว่างการติดตามประเมินเพื่อการพัฒนากองทุนฯ

    -กองทุนท้องถิ่น ที่เข้าร่วมพัฒนาทักษะความสามารถในการจัดการกองทุนฯ จัดทำแผนสุขภาพ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกการจัดทำธรรมนูญสุขภาพการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ฯ ยังคงดำเนินกิจกรรมต่อเนื่อง

     

    การเพิ่มทักษะ/แลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนและระบบสุขภาพอำเภอ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    มีการสรุปบทเรียนความรู้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น และการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพระดับพื้นที่ จำนวน 13 พื้นที่

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    คณะกรรมการกองทุนมีกระบวนการในการจัดทำแผนการจัดการสุขภาพระดับชุมชนทีมีมุมมองกว้างขึ้นใน 4 มิติ โดยอาศัยทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ

    บัญชีผู้เข้าร่วมพัฒนาทักษะเช่น การจัดทำแผนสุขภาพชุมชนของ อบต.บ้านทำเนียบ อ.คีรีรัฐนิคม โดยบูรณาการจากทุกภาคส่วน ทั้งกิจกรรมกองทุนท้องถิ่นและโครงการขนาดเล็ก สสส.การยกระดับเป็นกติกาชุมชน

    การต่อยอดเชื่อมโยงสู้การจัดทำแผนสุขภาพระดับอำเภอภายใต้คณะกรรมการคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(DHB)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ผู้นำ/แกนนำในระดับท้องถิ่น ที่เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปบทเรียน มีความภาคภูมิใจในการขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นตนเอง

    บัญชีรายชื่อผู้นำ/แกนนำท้องถิ่น

    การเชื่อมร้อย ถักทอผู้นำแกนำจิตสาธารณะและยกระดับความสามารถของพลเมือง การจัดการตนเองจัดการชุมชนท้องถิ่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    ผู้นำ/แกนนำในระดับท้องถิ่น ที่เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นผู้มีจิตสาธารณะ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    ผู้นำ/แกนนำในระดับท้องถิ่น ที่เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส่วนใหญ่เป็นผู้นำขับเคลื่อนในระดับพื้นที่/ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    ผู้นำ/แกนนำในระดับท้องถิ่น ที่เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ส่วนใหญ่ได้ใช้ข้อมูลและความรู้ในการตัดสินใจ

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการเสริมศักยภาพกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นด้วยการจัดการความรู้เขต 11สุราษฎร์ธานี (ภาคใต้ตอนบน) จังหวัด สุราษฎร์ธานี

    รหัสโครงการ 59-00-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายทวีวัตร เครือสาย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด