สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนบ้านทัพหลวง)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนบ้านทัพหลวง) ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายพงศ์เทพ นิลสุพรรณ (0931105918)

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนบ้านทัพหลวง)

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนบ้านทัพหลวง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนบ้านทัพหลวง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนบ้านทัพหลวง) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัจุบันนี้ทางบ้านของเด็กนักเรียนค่อยข้างมีความยากจน เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจของประเทศไม่ค่อยดีเท่าที่ควร ทำให้สภาพความเป็นอยู่ของเด็กมีสภาพอดมื้อ กินมื้อ จึงส่งผลให้เด็กได้รับสารอาหารไม่เพียงพอและทางโรงเรียนยังขาดวัตถุดิบในการนำมาปรุงอาหารให้กับนักเรียนทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการเลี้ยงปลาดุกขึ้นเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพระราชดำริ นักเรียนในโรงเรียนบ้านทัพหลวง มีความสัมพันธุ์กับการเกษตรเป็นอย่างยิ่ง อาหารที่รับประทานมาจากผลผลิตทางการเกษตรเป็นหลัก ถ้านักเรียนทุกคนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนสามารถปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ หรือหาผลผลิตทางการเกษตรที่ทำได้ง่าย ลงทุนไม่มาก ใช้เวลาน้อยมาทำการเกษตร เพื่อสนับสนุนโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน จะทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก เป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ดี ฝึกอาชีพ และความรับผิดชอบของนักเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อนำมาปรุงอาหารให้กับนักเรียน
  2. สร้างการมีส่วนร่วมให้นักเรียนทำการเกษตรในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปลูกผัก
  2. เลี้ยงปลาดุก
  3. เพราะเห็ดนางฟ้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียน 60

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. โรงเรียนมีผัก เห็ด และปลาดุกร้อยละ 60 ถูกจำหน่ายให้แม่ค้า เพื่อนำไปทำอาหารกลางวันแก่นักเรียน
  2. นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับความรู้ในการปลูกผัก เพาะเห็ด และเลี้ยงปลาดุก โดยการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปลูกผัก

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ปรับปรุงสภาพดิน
  2. ทำแปลงผักพร้อมใส่ปุ๋ย
  3. เพาะเมล็ด
  4. นำกล้าผักลงปลูกในแปลง
  5. ดูแล รดน้ำ ถอนหญ้า อย่างสม่ำเสมอ
  6. เก็บผักมาทำอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน และแจกจ่ายให้ แม่ครัวแะผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิต ปลูกผัก 3 ชนิด ได้แก่ ผักบุ้ง 4 แปลง แตงกวา 1 แปลง กวางตุ้ง 2 แปลง
  • ผลลัพธ์ ได้ ผักบุ้ง กวางตุ้ง ถั่วฝักยาว บวบ มาทำอาหารกลางวันห้เด็กรับประทาน เด็กได้รับสารอาหารที่จำเป็นต่อร่ากายและไฟเบอร์ เพื่อช่วยระบบขับถ่าย

 

60 0

2. เพราะเห็ดนางฟ้า

วันที่ 20 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ทำเรือนเพาะเห็ด
  2. ซื้อก้อนเห็ด 200 ก้อน
  3. นำเห็ดเข้าเรื่อนเพาะ
  4. รักษาระดับความชื้นในโรงเพาะเห็ด โดยการฉีดน้ำรอบๆ เรือนเพาะเห็ด
  5. เก็บเห็ดในช่วงเช้า นำมาบรรจุในถุง
  6. นำเห็ดที่ได้มาทำอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน และแจกจ่ายให้ แม่ครัวแะผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิต มีการเพาะเห็ดจำนวน 200 ก้อน ซึ่งเป็นเห็ดนางฟ้า ซึ่งแต่ละก้อนสามารถเก็บเกี่ยวได้ 7-8 รุ่น ในการนำเห็ดนางฟ้ามาทำอาหารแต่ละมืใช้จำนวน 2-3 กิโลกรัม
  • ผลลัพธ์ ได้เห็ดมาทำอาหารกลางวันให้แก่เด็กนักเรียน ทำให้เด็กได้โปรตีนอย่างเหมาะสมเก็บเห็ดนางฟ้าได้ทุกวัน

 

60 0

3. เลี้ยงปลาดุก

วันที่ 31 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ซื้ออุปกรณ์
  2. ขุดบ่อ ใส่กระชัง
  3. ซื้อพันธ์ุปลา
  4. ซื้ออาหารปลา
  5. ดูแลให้อาหารปลาอย่างสม่ำเสมอ
  6. เมื่อปลาดุกโต จึงจับมาทำอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน และแจกจ่ายให้ แม่ครัวแะผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิต มีการเพาะเลี้ยงปลาดุกจำนวน 1 กระชัง กระชังละ 300 ตัว นำปลาดุกที่ได้มาทำอาหารกลางวัน 10-15 กิโลกรัมต่อสัปดาห์
  • ผลลัพธ์ ได้ปลาดุกที่สามารถนำมาทำอาหารกลางวันให้แก่เด็กนักเรียน ทำให้เด็กได้โปรตีนอย่างเหมาะสม

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อนำมาปรุงอาหารให้กับนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผลผลิตจากโครงการที่นำมาใช้ปรุงอาหารกลางวัน เมื่อเทียบกับผลผลิตที่ซื้อมาจากภายนอก
60.00 65.00

 

2 สร้างการมีส่วนร่วมให้นักเรียนทำการเกษตรในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีส่วนร่วมในการปลูกผัก เพาะเห็ด และเลี้ยงปลาดุกทุกกระบวนการ จนสามารถนำไปจำหน่ายแก่แม่ครัว และผู้ปกครองได้
80.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียน 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อนำมาปรุงอาหารให้กับนักเรียน (2) สร้างการมีส่วนร่วมให้นักเรียนทำการเกษตรในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปลูกผัก (2) เลี้ยงปลาดุก (3) เพราะเห็ดนางฟ้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนบ้านทัพหลวง) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพงศ์เทพ นิลสุพรรณ (0931105918) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด