สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนบ้านทัพหลวง)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (โรงเรียนบ้านทัพหลวง)
ภายใต้โครงการ แผนงานการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2562
แหล่งทุน
ไม่ระบุ
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านทัพหลวง ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายพงศ์เทพ นิลสุพรรณ (0931105918)
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ วรรณา สุวรรณชาตรี
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. พื้นที่เป้าหมาย
จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
สงขลา place directions
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2561 31 ก.ค. 2562 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
4. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากปัจุบันนี้ทางบ้านของเด็กนักเรียนค่อยข้างมีความยากจน เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจของประเทศไม่ค่อยดีเท่าที่ควร ทำให้สภาพความเป็นอยู่ของเด็กมีสภาพอดมื้อ กินมื้อ จึงส่งผลให้เด็กได้รับสารอาหารไม่เพียงพอและทางโรงเรียนยังขาดวัตถุดิบในการนำมาปรุงอาหารให้กับนักเรียนทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการเลี้ยงปลาดุกขึ้นเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพระราชดำริ นักเรียนในโรงเรียนบ้านทัพหลวง มีความสัมพันธุ์กับการเกษตรเป็นอย่างยิ่ง อาหารที่รับประทานมาจากผลผลิตทางการเกษตรเป็นหลัก ถ้านักเรียนทุกคนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนสามารถปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ หรือหาผลผลิตทางการเกษตรที่ทำได้ง่าย ลงทุนไม่มาก ใช้เวลาน้อยมาทำการเกษตร เพื่อสนับสนุนโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน จะทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก เป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ดี ฝึกอาชีพ และความรับผิดชอบของนักเรียน

stars
6. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
7. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อนำมาปรุงอาหารให้กับนักเรียน

ร้อยละของผลผลิตจากโครงการที่นำมาใช้ปรุงอาหารกลางวัน เมื่อเทียบกับผลผลิตที่ซื้อมาจากภายนอก

60.00
2 สร้างการมีส่วนร่วมให้นักเรียนทำการเกษตรในโรงเรียน

ร้อยละของนักเรียนที่มีส่วนร่วมในการปลูกผัก เพาะเห็ด และเลี้ยงปลาดุกทุกกระบวนการ จนสามารถนำไปจำหน่ายแก่แม่ครัว และผู้ปกครองได้

80.00
stars
8. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียน 60 -
stars
9. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 17,200.00 3 20,000.00
5 พ.ย. 61 - 29 มี.ค. 62 ปลูกผัก 0 5,400.00 5,400.00
3 ธ.ค. 61 - 1 ก.ย. 62 เลี้ยงปลาดุก 0 9,800.00 9,800.00
31 ก.ค. 62 เพราะเห็ดนางฟ้า 0 2,000.00 4,800.00
  • เสนอโครงการ
  • ประชุมชี้แจงเพื่อวางแผนกิจกรรมและมอบหมายหน้าที่
  • เลี้ยงปลาดุก
  • ปลูกผัก
  • เพราะเห็ดนางฟ้า
  • ประเมินผลและสรุปผลโครงการ

รายละเอียดค่าใช้่าย ดังนี้ 1. เลี้ยงปลาดุก - กระชังบ่อปลา 800 บาท - พันธุ์ปลาดุก 2,000 บาท - อาหารปลาดุก รวม 7,000 รวม 9,800 บาท

  1. ปลูกผัก
    • พันธ์ุผัก 400 บาท
    • ปุ๋ย 3,000
    • อุปกรณ์การเกษตร บัวรถน้ำ จอบ 2,000 รวม 5,400 บาท
  2. เพราะเห็ดนางฟ้า
    • ก้อนเห็ด 4,000
    • ทำโรงเรือน 800 บาท รวม 4,800 บาท
stars
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. โรงเรียนมีผัก เห็ด และปลาดุกร้อยละ 60 ถูกจำหน่ายให้แม่ค้า เพื่อนำไปทำอาหารกลางวันแก่นักเรียน
  2. นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับความรู้ในการปลูกผัก เพาะเห็ด และเลี้ยงปลาดุก โดยการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
stars
11. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 พ.ย. 2561 15:53 น.