1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาช่วยกันเก็บผักที่ปลูกจากแปลง รวบรวมส่งโครงการอาหารกลางวัน
2.แม่ครัวนำผักที่นักเรียนช่วยกันเก็บ จัดทำเป็นเมนูอาหารกลางวันให้นักเรียนได้รับประทาน
ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากแปลง โดยมีชนิดผักดังนี้
ได้ผักบุ้ง จำนวน 30-40 กิโลกรัม/สัปดาห์
ได้กวางตุ้ง จำนวน 50 กิโลกรัม/สัปดาห์
ได้ถั่วฝักยาว เฉลี่ยวันละ 10 กิโลกรัม/สัปดาห์
ได้ข้าวโพด จำนวน 20 กิโลกรัม/สัปดาห์
1.จัดเตรียมสถานที่สำหรับเลี้ยงปลาดุกทั้งแบบบ่อดินเป็นบ่อซีเมนต์
2.จัดแบ่งบทบาทนักเรียน ตารางผู้รับผิดชอบในการดูแลเลี้ยงปลาดุก เช่น การให้อาหาร การถ่ายน้ำเสียจากบ่อปลา
ปฏิบัติตามแผนจากบ่อดินเป็นท่อซีเมนต์เนื่องจากสภาพปัจจุบันมีสระน้ำสำหรับเลี้ยงปลาดุก ได้จัดหาปลามาเลี้ยงแต่ประสบปัญหาในการดูแลและการจัดการ ระบบน้ำในบ่อและในบ่อปลายังมีปลาชนิดอื่นที่เป็นศัตรูปลาดุกที่มาปล่อยจึงได้เปลี่ยนมาเลี้ยงในบ่อซีเมนต์แทน
1.ปรับปรุงโรงเรือน
2.เตรียมวัสดุอุปกรณ์ระบบน้ำและระบบอาหาร
3.จัดซื้อพันธุ์ไก่ไข่และอาหาร
4.จัดไก่เข้ากรงตับ
5.จัดตารางผู้รับผิดชอบในการดูแลรักษาให้อาหารและจัดเก็บไข่ไก่
6.นำผลผลิตในการประกอบอาหารกลางวัน
1.ได้ผลผลิตจากการเลียงไก่ไข่เฉลี่ยวันละ 30 ฟอง 2.ได้ปุ๋ยจากมูลไก่ไข่นำไปใส่ผักที่ปลูก