สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส. ม.อ.)

directions_run

โครงการเศรษฐกิจพอเพียง (ยุวเกษตร) โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์ (โรงเรียนบ้านหน้าวัดโพธิ์)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 นักเรียนมีความรู้ และ ทักษะพื้นฐานในการ ดำรงชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
83.00 90.00

1.นักเรียนมีความรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

2.นักเรียนสามารถพึ่งตนเองได้

ครอบครัวนักเรียนอบอุ่นเพิ่มมากขึ้น

 

2 เพื่อให้นักเรียนได้สืบสานและห่วงแหน วัฒนธรรมการเกษตรที่ กำลังจะสูญหาย
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ ประสบการณ์ในการเลี้ยงไก่ไข
83.00 85.00

นักเรียนมีความเข้าใจในวิถีการทำเกษตร และสามารถนำไปปฎิบัติได้

เกิดการสืนสานวิถีการทำเกษตรในกลุ่มเยาวชน คนรุ่นใหม่เพิ่มมากขึ้น

มีครอบครัวต้นแบบเกษตรกรรมในพื้นที่

3 เพื่อนำหลักการทางการเกษตรตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการ การเรียนการสอนรู้ในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนร้อยละ 80 มีทักษะในการปลูกผัก 2.นักเรียนกินผักปลอดสารพิษอาหารกลางวัน
83.00 90.00

เกิดหลักสูตรการทำเกษตรผสมผสาร เกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดภัย สอนในวิชา8กลุ่มสาระของโรงเรียน

นักเรียนมีความรู้การทำเกษตรอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น

ครัวเรือนต้นแบบในชุมชน

4 เพื่อเกิดแหล่งเรียนรู้ทางวิชาการที่มีศักยภาพในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียน นักศึกษาและประชาชน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีแหล่งเรียนรู้ด้านการเลี้ยงไก่ การปลูกผัก
0.00 85.00

1โรงเรียนสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ให้กับบุคคลที่สนใจเข้ามาเรียนรู้

2.นักเรียนสามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้กับรุ่นน้องได้

เกิดยุวเกษตรกรต้นแบบ